Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 51

การเก็บรักษาสารเคมีและวัตถุอันตราย

โดย นางสาวนงคราญ สุจริตกิตติกุล


นักวิทยาศาสตร 8ว
คูมือการเก็บรักษาสารเคมีและวัตถุอันตราย
| สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
| การจําแนกประเภทวัตถุอันตรายสําหรับการจัดเก็บ
| การจัดเก็บวัตถุอันตรายและมาตรการการปองกัน
สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
| สถานที่ตั้ง
สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
| ผนังอาคารและกําแพงทนไฟ
สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
| ระบบระบายอากาศ
สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
| ประตูและทางออก
สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
| ทางออกฉุกเฉิน
สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
| ระบบเตือนภัย
สถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
| อุปกรณดับเพลิง
การจําแนกประเภทวัตถุอันตราย
| คุณสมบัติความเปนอันตรายหลักของสารที่ตองพิจารณาเปนอันดับตนๆ

การติดไฟ การระเบิด การออกซิไดซ


การจําแนกประเภทวัตถุอันตราย
| คุณสมบัตริ องของสารที่นํามาพิจารณา

ความเปนพิษ ความกัดกรอน
การจําแนกประเภทวัตถุอันตราย
| คุณสมบัติทไี่ มนํามาพิจารณาในการแยกประเภทวัตถุอนั ตราย
สําหรับการจัดเก็บ

ความเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม
วิธีการจําแนกประเภทวัตถุอันตราย
| ศึกษาขอมูลความปลอดภัย(SDS)
y ขอมูลทั่วไป
y ขอมูลเกี่ยวกับสวนผสม
y มาตรการปฐมพยาบาล
y การจัดการและการจัดเก็บ
y คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
y ขอมูลดานพิษวิทยา
y ขอมูลสําหรับการขนสง
y ขอมูลอื่น ๆ
ประเภทวัตถุอันตรายตามการจัดเก็บ
ประเภท รายละเอียด ประเภท รายละเอียด
1 วัตถุระเบิด 5.1C สารออกซิไดซแอมโมเนียมไนเตรท
2A กาซอัด กาซเหลว หรือกาซที่ละลายภายใต และสารผสม
ความดัน 5.2 สารอินทรียเปอรออกไซด
2B กาซภายใตความดันในภาชนะบรรจุขนาดเล็ก 6.1A สารติดไฟไดที่มีคุณสมบัติเปนพิษ
(กระปองสเปรย) 6.1B สารไมติดไฟที่มีคุณสมบัติเปนพิษ
3A ของเหลวไวไฟ จุดวาบไฟ < 60 °C 6.2 สารติดเชื้อ
3B ของเหลวไวไฟที่มีคุณสมบัติเขากับน้ําไมได 7 สารกัมมันตรังสี
4.1A ของแข็งไวไฟที่มีคุณสมบัติระเบิด 8A สารติดไฟที่มีคุณสมบัติกัดกรอน
4.1B ของแข็งไวไฟ 8B สารไมติดไฟที่มีคุณสมบัติกัดกรอน
4.2 สารที่มีความเสี่ยงตอ การลุกไหมไดเอง 9 ไมนํามาใช
10 ของเหลวติดไฟไดที่ไมจัดอยูในประเภท 3A
4.3 สารที่ใหกาซไวไฟเมื่อสัมผัสน้ํา หรือ 3B
5.1A สารออกซิไดซที่มีความไวในการทําปฏิกริ ยิ ามาก 11 ของแข็งติดไฟได
5.1B สารออกซิไดซที่มีความไวในการทําปฏิกริ ยิ า 12 ของเหลวไมติดไฟ
ปานกลาง 13 ของแข็งไมติดไฟ
วิธีการจําแนกประเภทวัตถุอันตราย
ตารางเปรียบเทียบการจําแนกประเภทวัตถุอันตราย
ADR จําแนกตามการจัดเก็บ
6.2 6.2

7 7
1 1
2 2A , 2B
4.2 4.2
4.3 4.3
5.2 5.2
วิธีการจําแนกประเภทวัตถุอันตราย
ตารางเปรียบเทียบการจําแนกประเภทวัตถุอันตราย
ADR จําแนกตามการจัดเก็บ

5.1 5.1A ,5.1B ,5.1C


4.1 4.1A ,4.1B
3 3A , 3B
สารพิษตามระบบ GHS 6.1A ,6.1B
8 8A ,8B
Liquid 10 ,12
Solid 11 ,13
การจัดเก็บสารเคมีและวัตถุอันตราย
| แบบแยกบริเวณ(Separate Storage)
| แบบแยกหาง(Segregate Storage)
ตัวอยางการจัดประเภทสารเคมีเพือ่ การจัดเก็บ
| ACETONE
| PARAFORMALDEHYDE
| ACETIC ACID GRACIAL
| HYDROCHLORIC ACID
| SODIUM CHLORATE
หลักการเก็บสารเคมีและวัตถุอันตรายในอาคาร
| จัดเก็บตามประเภทโดยพิจารณาจากเอกสารขอมูลความปลอดภัย
| ยึดหลัก เขากอน-ออกกอน (first in- first out) เพื่อลดความเสี่ยง
จากการเสื่อมสภาพ หรือการถูกทําลายของสารเคมี
| ตองตรวจสอบคุณลักษณะทั้งปริมาณและคุณภาพ ภาชนะบรรจุและ
หีบหอตองอยูในสภาพที่ดี
| จัดทําแผนผังกําหนดตําแหนง ประเภทกลุมสารเคมี พรอม
ตําแหนงอุปกรณฉุกเฉิน อุปกรณผจญเพลิง และเสนทางหนีไฟ
| ตองมีพื้นที่วางโดยรอบระหวางผนังอาคารกับกองสารเคมี เพื่อตรวจสอบ
และจัดการกรณีเกิดเพลิงไหมหรือหกรั่วไหล
| การจัดเรียงสารเคมีไมควรสูงเกิน 3 เมตร
ตารางจัดเก็บวัตถุอันตราย

ตารางจัดเก็บวัตถุอันตราย
การเก็บสารเคมีและวัตถุอันตรายนอกอาคาร
การเก็บสารเคมีและวัตถุอันตรายนอกอาคาร

™ บริเวณโดยรอบตองไมมีสาเหตุที่ทําใหเกิดอัคคีภัย ;
ไมมีหญาขึ้นรก / ไมมีวัสดุติดไฟได / ไมมีแหลงประกายความรอน
™ ตองไมเปนที่จอดยานพาหนะหรือเสนทางจราจร
™ พื้นตองแข็งแรงและรับน้ําหนักสารเคมีและวัตถุอันตรายได / ไมลื่น /
ทนตอการกัดกรอน / ทนน้ํา /
™ มีรางระบายลงสูบอกักเก็บหรือเขื่อนไมใหไหลออกสูภายนอก
™ การวางซอนกันของชั้นสารเคมีและ
วัตถุอันตรายตองสูงไมเกิน 3 เมตร

Max 3 ม.
อนุญาตใหเก็บสารเคมีและวัตถุอันตราย

9 กาซอัด กาซเหลว หรือกาซที่ละลายภายใตความดัน (2A)

9 ของเหลวไวไฟ (3A)

9 ของเหลวไวไฟ (3B)
มาตรการการปองกัน
¾ การจัดการดานสุขศาสตร
¾ สุขอนามัยของผูปฏิบัติงาน
¾ การตรวจสุขภาพ

¾ สุขลักษณะสถานที่เก็บรักษา
มาตรการการปองกัน
¾ คําแนะนําวิธีการปฎิบต
ั งิ าน
มาตรการการปองกัน
¾ การฝกอบรม
มาตรการการปองกัน
¾ การจัดการเมื่อเกิดการหกรั่วไหล
การจัดการเมื่อเกิดการหกรั่วไหล
อุปกรณการจัดการเมื่อเกิดเหตุรั่วไหล
มาตรการการปองกัน
¾ จัดทําแผนและรายงานความปลอดภัย
ขอเสนอแนะ และ ถาม-ตอบ

สํานักควบคุมวัตถุอันตราย
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
โทรศัพท 0 2202 4248
E-mail : hazard@diw.go.th
http://www.diw.go.th

You might also like