คณิต 2.1 หน่วย2 - จำนวนจริง

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 53

วิชา คณิตศาสตร (64)

มัธยมศึกษาปที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
หนวยการเรียนรูที่ 2
จํานวนจริง

ตัวชี้วัด
• เขาใจจํานวนจริงและความสัมพันธของจํานวนจริง และใชสมบัติของจํานวนจริงในการแกปญหาคณิตศาสตรและปญหาในชีวิตจริง (ค 1.1 ม.2/2)
ควรรูกอนเรียน
1. 29 จํานวนตรรกยะ 2. -3.52
จํานวนใดบางที่เปน
จํานวนตรรกยะ 3. 0.642642642... 4. 𝛑𝛑
จํานวนตรรกยะ
จํานวนเต็ม
ที่ไมใชจํานวนเต็ม
𝟕𝟕
5. 3.14 6.
𝟐𝟐𝟐𝟐
จํานวนเต็มลบ ศูนย จํานวนเต็มบวก
7. 6.78778777877778...
-1, -2, -3, ... 0 1, 2, 3, ... 8. 𝟐𝟐
ควรรูกอนเรียน
ความสัมพันธของเศษสวนกับทศนิยม
1) การเขียนเศษสวนใหอยูในรูปทศนิยม
เศษสวน หารตัวเศษดวยตัวสวน ผลหารจะอยูในรูปทศนิยม
15
เชน เขียนใหอยูในรูปทศนิยมได โดยนํา 4 ไปหาร 15 ดังนี้
4
3. 7 5
4 1 5. 0 0
12
30
28
20
15
20 ดังนั้น 4
เขียนใหอยูในรูปทศนิยมได 3.75
0
ควรรูกอนเรียน
ความสัมพันธของเศษสวนกับทศนิยม
2) การเขียนทศนิยมใหอยูในรูปเศษสวน
เลขโดดเดิมไมใสจุดทศนิยม
เมื่อ n คือ จํานวนตําแหนงของทศนิยมนั้น
𝟏𝟏𝟏𝟏𝐧𝐧
81 81
เชน 0.81 = 2 =
10 100

81
ดังนั้น 0.81 เขียนใหอยูในรูปเศษสวนได
100
0.7 7 7 ...
7 9 7. 0 0 0 7
ใหนักเรียนเขียน จะได = 0.777...
9 63 9
ใหอยูในรูปทศนิยม เรียก 0.777... วาทศนิยมซํ้า
70
(repeating decimal)
63
70
63
7
การเขียนเศษสวนในรูปทศนิยมซํ้าและการเขียนทศนิยมซํ้าในรูปเศษสวน
1. การเขียนเศษสวนใหอยูในรูปทศนิยมซํ้า
a
เศษสวนที่อยูในรูป ที่ a และ b เปนจํานวนเต็ม โดยที่ b ≠ 0 สามารถเขียนใหอยูในรูป
b
ทศนิยมไดโดย นําตัวสวนไปหารตัวเศษ
1
เชน เขียนใหอยูในรูปทศนิยมไดโดยนํา 2 ไปหาร 1
2
0. 5
2 1. 0 1
10 นั่นคือ = 0.5
2
0
การเขียนเศษสวนในรูปทศนิยมซํ้าและการเขียนทศนิยมซํ้าในรูปเศษสวน
1. การเขียนเศษสวนใหอยูในรูปทศนิยมซํ้า
1
เชน เขียนใหอยูในรูปทศนิยมไดโดยนํา 9 ไปหาร 1
9
0 1 1 1 ...
จะเห็นวา ถาหารตอไปเรื่อย ๆ
9 10
9 จะได 1 โดยไมมีที่สิ้นสุด
10
9
10
9 1
นั่นคือ = 0.111...
1 9
การเขียนเศษสวนในรูปทศนิยมซํ้าและการเขียนทศนิยมซํ้าในรูปเศษสวน
1. การเขียนเศษสวนใหอยูในรูปทศนิยมซํ้า
การเขียนทศนิยมซํ้า สามารถเขียนโดยใชสัญลักษณ . เขียนไวเหนือเลขโดดที่ซํ้า ดังนี้

กรณีที่ 1 ถาเปนทศนิยมซํ้า 1 ตําแหนง ใหเขียน . ไวเหนือเลขโดดที่ซํ้านั้น

เชน 0.777... เขียนแทนดวยสัญลักษณ 0.𝟕𝟕̇ อานวา ศูนยจุดเจ็ด เจ็ดซํ้า


-0.3555... เขียนแทนดวยสัญลักษณ -0.3𝟓𝟓̇ อานวา ลบศูนยจุดสามหา หาซํ้า
12.999... เขียนแทนดวยสัญลักษณ 12.𝟗𝟗̇ อานวา สิบสองจุดเกา เกาซํ้า
7.65444... เขียนแทนดวยสัญลักษณ 7.65𝟒𝟒̇ อานวา เจ็ดจุดหกหาสี่ สี่ซํ้า
การเขียนเศษสวนในรูปทศนิยมซํ้าและการเขียนทศนิยมซํ้าในรูปเศษสวน
1. การเขียนเศษสวนใหอยูในรูปทศนิยมซํ้า
การเขียนทศนิยมซํ้า สามารถเขียนโดยใชสัญลักษณ . เขียนไวเหนือเลขโดดที่ซํ้า ดังนี้
กรณีที่ 2 ถาเปนทศนิยมซํ้าตั้งแต 2 ตําแหนงขึ้นไป ใหเขียน . ไวเหนือเลขโดดที่ซํ้าตัวแรกและตัวสุดทาย

เชน 1.7272... เขียนแทนดวยสัญลักษณ 𝟏𝟏. 𝟕𝟕̇ 𝟐𝟐̇ อานวา หนึ่งจุดเจ็ดสอง เจ็ดสองซํ้า


0.243243... เขียนแทนดวยสัญลักษณ ̇ 𝟑𝟑̇
0.𝟐𝟐𝟒𝟒 อานวา ศูนยจุดสองสี่สาม สองสี่สามซํ้า
-0.42857142857142... เขียนแทนดวยสัญลักษณ ̇
-0. 𝟒𝟒𝟐𝟐𝟐𝟐𝟐𝟐𝟐𝟐 𝟏𝟏̇

อานวา ลบศูนยจุดสี่สองแปดหาเจ็ดหนึ่ง สี่สองแปดหาเจ็ดหนึ่งซํ้า


การเขียนเศษสวนในรูปทศนิยมซํ้าและการเขียนทศนิยมซํ้าในรูปเศษสวน
2. การเขียนทศนิยมซํ้าใหอยูในรูปเศษสวน แบงไดเปน 2 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 1 ทศนิยมซํ้าศูนย
การเขียนทศนิยมในรูปกระจายซึ่งเปนการแสดงคาของเลขโดด โดยใชคาประจําหลัก ซึ่งสามารถแสดงคาประจําหลักของเลขโดดใน
หลักตาง ๆ ไดดังตาราง
คาประจําหลัก
จํานวนเต็ม ทศนิยม
... หลักรอย หลักสิบ หลักหนวย หลักสวนสิบ หลักสวนรอย หลักสวนพัน หลักสวนหมื่น ...
1 1 1 1
... 102 10 1 ...
10 102 103 104

จากตาราง สามารถเขียน 153.125 ใหอยูในรูปกระจายได ดังนี้


1
153.125 = (1 × 102 ) + (5 × 10) + (3 × 1) + (1 ×
10
) + (2 × 1012) + (5 × 1013)
การเขียนเศษสวนในรูปทศนิยมซํ้าและการเขียนทศนิยมซํ้าในรูปเศษสวน
2. การเขียนทศนิยมซํ้าใหอยูในรูปเศษสวน แบงไดเปน 2 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 1 ทศนิยมซํ้าศูนย
ตัวอยางที่ 1 จงเขียนจํานวนในแตละขอตอไปนี้ใหอยูในรูปเศษสวน
1) 0.7 2) 2.75
1 1 1
วิธีทํา 0.7 = 7× วิธีทํา 2.75 = (2 × 1) + (7 × ) + ( 5 × 2 )
10 10 10
7 5
7 = 2+ +
= 10 100
10 200 70 5
= + +
7 100 100 100
ดังนั้น 0.7 = =
275
10 100
11
=
4
11 3
ดังนั้น 2.75 = หรือ 2
4 4
การเขียนเศษสวนในรูปทศนิยมซํ้าและการเขียนทศนิยมซํ้าในรูปเศษสวน
2. การเขียนทศนิยมซํ้าใหอยูในรูปเศษสวน แบงไดเปน 2 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 1 ทศนิยมซํ้าศูนย
การเขียนทศนิยมซํ้าศูนยใหอยูในรูปเศษสวน โดยที่ตัวสวนเปนพหุคูณของ 10 สามารถเขียนไดโดย

ตัวเศษเทากับเลขโดดเดิมเขียนโดยไมใสจุดทศนิยม และตัวสวนเทากับ 𝟏𝟏𝟏𝟏𝐧𝐧


เมื่อ n คือ จํานวนตําแหนงของทศนิยมนั้น

ซึ่งทําใหการเขียนทศนิยมซํ้าศูนยใหอยูในรูปเศษสวนนั้นทําไดงายและรวดเร็วขึ้น ดังนี้

ทศนิยม 0.6 -0.51 1.831 5.7879 9.32546


66 51 1,831 57,879 932,546
เศษสวน −
10 100 1,000 1,000 100,000
2. การเขียนทศนิยมซํ้าใหอยูในรูปเศษสวน
กรณีที่ 2 ทศนิยมซํ้าที่ไมใชทศนิยมซํ้าศูนย
ตัวอยางที่ 2 จงเขียน 0. 5̇ ใหอยูในรูปเศษสวน
วิธีทํา ให N = 0. 5̇
= 0.555... ..... (1)
คูณทั้งสองขางของสมการ (1) ดวย 10
10N = 5.555... ..... (2)
จากสมการ (2) และสมการ (1) จะได
10N – N = (5.555...) – (0.555...)
9N = 5
5
N =
9
แต N = 0. 5̇
5
ดังนั้น 0. 5̇ =
9
ตัวอยางที่ 3 จงเขียน 0. 6̇ 1̇ ใหอยูในรูปเศษสวน
วิธีทํา ให N = 0. 6̇ 1̇
= 0.616161... ..... (1)
คูณทั้งสองขางของสมการ (1) ดวย 100
100N = 61.616161... ..... (2)
จากสมการ (2) และสมการ (1) จะได
100N – N = (61.616161...) – (0.616161...)
99N = 61
61
N =
99
แต N = 0. 6̇ 1̇
61
ดังนั้น 0. 6̇ 1̇ =
99
̇ 8̇ ใหอยูในรูปเศษสวน
ตัวอยางที่ 4 จงเขียน 0. 57
วิธีทํา ให N = 0. 57 ̇ 8̇

= 0.578578... ..... (1)


คูณทั้งสองขางของสมการ (1) ดวย 1,000
1,000N = 578.578578... ..... (2)
จากสมการ (2) และสมการ (1) จะได
1000N – N = (578.578578...) – (0.578578...)
999N = 578
578
N =
999
แต N = ̇ 8̇
0. 57
578
̇ 8̇
ดังนั้น 0. 57 =
999
จากตัวอยางที่ 2 ถึงตัวอยางที่ 4 จะเห็นวา

𝟓𝟓
𝟎𝟎. 𝟓𝟓̇ เขียนในรูปเศษสวนไดเปน
𝟗𝟗
นั่นคือ ทศนิยมซํ้า 1 ตําแหนงและซํ้าในตําแหนงที่ 1 เมื่อเขียนในรูปเศษสวนจะมีตัวสวนเทากับ 9
และตัวเศษเทากับเลขโดดที่เปนตัวซํ้า
𝟔𝟔𝟔𝟔
𝟎𝟎. 𝟔𝟔̇ 𝟏𝟏̇ เขียนในรูปเศษสวนไดเปน
𝟗𝟗𝟗𝟗
นั่นคือ ทศนิยมซํ้า 2 ตําแหนงและซํ้าตั้งแตตําแหนงที่ 1 เมื่อเขียนในรูปเศษสวนจะมีตัวสวนเทากับ 99
และตัวเศษเทากับเลขโดดที่เปนตัวซํ้า
𝟓𝟓𝟓𝟓𝟓𝟓
̇ 𝟖𝟖̇
𝟎𝟎. 𝟓𝟓𝟕𝟕 เขียนในรูปเศษสวนไดเปน
𝟗𝟗𝟗𝟗𝟗𝟗
นั่นคือ ทศนิยมซํ้า 3 ตําแหนงและซํ้าตั้งแตตําแหนงที่ 1 เมื่อเขียนในรูปเศษสวนจะมีตัวสวนเทากับ 999
และมีตัวเศษเทากับเลขโดดที่เปนตัวซํ้า
การเขียนเศษสวนในรูปทศนิยมซํ้าและการเขียนทศนิยมซํ้าในรูปเศษสวน
2. การเขียนทศนิยมซํ้าใหอยูในรูปเศษสวน แบงไดเปน 2 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 2 ทศนิยมซํ้าที่ไมใชทศนิยมซํ้าศูนย การเขียนทศนิยมซํ้าที่ไมไดซํ้าตั้งแตทศนิยมตําแหนงที่ 1
จะมีวิธีการดังตัวอยางตอไปนี้
ตัวอยางที่ 5 จงเขียน 0.31̇ ใหอยูในรูปเศษสวน
วิธีทํา ให N = 0.31̇ = 0.3111... ..... (1)
(1) x 10 ; 10N = 3.111... ..... (2)
(1) x 100 ; 100N = 31.111... ..... (3)
(3) – (2) ; 100N – 10N = (31.111...) – (3.111...)
90N = 28
28 14
N = =
90 45
แต N = 0.31̇
14
ดังนั้น 0.31̇ =
45
การเขียนเศษสวนในรูปทศนิยมซํ้าและการเขียนทศนิยมซํ้าในรูปเศษสวน
2. การเขียนทศนิยมซํ้าใหอยูในรูปเศษสวน แบงไดเปน 2 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 2 ทศนิยมซํ้าที่ไมใชทศนิยมซํ้าศูนย

ขอสังเกตเพิม่ เติม
1. การเขียนทศนิยมซํ้าใหอยูในรูปทศนิยมซํ้าที่ซํ้าตั้งแตตําแหนงที่ 1
ทศนิยมซํ้าที่ซํ้าตั้งแตตําแหนงที่ 2 ×10 จะได ทศนิยมซํ้าที่ซํ้าตั้งแตตําแหนงที่ 1
ทศนิยมซํ้าที่ซํ้าตั้งแตตําแหนงที่ 3 × 100 จะได ทศนิยมซํ้าที่ซํ้าตั้งแตตําแหนงที่ 1
ทศนิยมซํ้าที่ซํ้าตั้งแตตําแหนงที่ 4 × 1,000 จะได ทศนิยมซํ้าที่ซํ้าตั้งแตตําแหนงที่ 1

2. เมื่อตองการหาผลลบ ใหแปลงทศนิยมซํ้าหลังจุดใหเปนทศนิยมซํ้าที่เทากัน เชน 0.31̇


แปลงเพื่อหาผลลบเปน (31.111...) – (3.111...) จะมีผลลบเปนจํานวนเต็ม คือ 28
การเขียนเศษสวนในรูปทศนิยมซํ้าและการเขียนทศนิยมซํ้าในรูปเศษสวน
2. การเขียนทศนิยมซํ้าใหอยูในรูปเศษสวน แบงไดเปน 2 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 2 ทศนิยมซํ้าที่ไมใชทศนิยมซํ้าศูนย
จากตัวอยางที่ 5 สามารถเขียน 0.31̇ ใหอยูในรูปเศษสวนไดอีกหนึ่งวิธี ขอสังเกต
31 − 3 28 จํานวนที่นํามาลบ คือ 3
จะได 0.31̇ = =
90 90 ซึ่งเปนเลขโดดที่ไมซํ้าของ 0.31̇
31 −3
หรือ 0.31̇ =
90 หลังจุดทศนิยม
มีเลขโดดที่ไมซํ้า 1 ตัว
ทศนิยมซํ้า 1 ตําแหนง ใสเลข 0 1 ตัว
ใสเลข 9 1 ตัว
𝟑𝟑
-28
15
𝟓𝟓
มนุจํษานวนทียรูจักจํ่สาามารถเขี
นวนมาตัย้งนในรูแตสมัปยเศษส
โบราณ วนทีจากการขี
่มีตัวเศษและ ดรอย
แตเมืเมื่อ่อมนุ
มนุษษยยรูจรูจักักการบวกและการคู
การลบและการหาร ณ พบวก็พบวาจําาจํนวนเต็
านวนเต็ม ม
ตัซึว่งสบากบนต
จํวานเป
นวนเต็
นจํนามไม นวนเต็
ทุกการนั
จํานวนสามารถเขี
มบโดยที ่ตัวสตววนไม
จํานวนสั ยดนในรู
วเยก
ปนอปศูนหิ
เศษส
นยน เรีซึวย่งนได
กวา
เพียงพอทีบายการลบและการหารบางกรณี
ไมสามารถอธิ ่จะใชในการบวกและการคูณ ได
จํานวนเหล จํานวนตรรกยะ
านี้เรียกวา จํา(rational
นวนนับหรืnumber)อจํานวนเต็มบวก
แผนภาพแสดงความสัมพันธของจํานวนจริง

จํานวนจริง

จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ

จํานวนตรรกยะ
จํานวนเต็ม
ที่ไมใชจํานวนเต็ม

จํานวนเต็มลบ ศูนย จํานวนเต็มบวก


-1, -2, -3, ... 0 1, 2, 3, ...
จํานวนจริง

a
จํานวนตรรกยะ หมายถึง จํานวนที่เขียนไดในรูป โดยที่ a และ b เปนจํานวนเต็ม และ b ≠ 0
b
สามารถเขียนจํานวนตรรกยะในรูปทศนิยมไดและเปนทศนิยมซํ้า

จํานวนอตรรกยะ หมายถึง จํานวนจริงที่ไมใชจํานวนตรรกยะ เขียนในรูปทศนิยมได


แตไมเปนทศนิยมซํ้า
สมบัติของจํานวนจริง สมบัติ
1) สมบัติของหนึ่งและศูนย กําหนดให a แทนจํานวนจริงใด ๆ
สมบัติการบวกดวยศูนย : a + 0 = 0 + a = a
สมบัติการคูณดวยศูนย : a × 0 = 0 × a = 0
สมบัติการหารศูนยดวยจํานวนจริงใด ๆ : 0 ÷ a = 0 เมื่อ a ≠ 0
2) สมบัติการสลับที่ สมบัติการคูณดวยหนึ่ง : a × 1 = 1 × a = a
สมบัติการหารดวยหนึ่ง : a ÷ 1 = a
สมบัติ

กําหนดให a และ b แทนจํานวนจริงใด ๆ


สมบัติการสลับที่สําหรับการบวก : a + b = b + a
สมบัติการสลับที่สําหรับการคูณ : a × b = b × a
สมบัติของจํานวนจริง
3) สมบัติการเปลี่ยนหมู สมบัติ
กําหนดให a, b และ c แทนจํานวนจริงใด ๆ
สมบัติการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวก : (a + b) + c = a + (b + c)
สมบัติการเปลี่ยนหมูสําหรับการคูณ : (a × b) × c = a × (b × c)

4) สมบัติการแจกแจง
สมบัติ
กําหนดให a, b และ c แทนจํานวนจริงใด ๆ
a × (b + c) = (a × b) + (a × c)
และ (b + c) × a = (b × a) + (c × a)
สมบัติของจํานวนจริง
ตัวอยางที่ 6 จงหาผลลัพธในแตละขอตอไปนี้
11 3 2
1) − − 5.3 + 2) × 12.4
25 25 5

2 11 3
1) 5−
2) × 12.4− 5.3 +
25 25
2 11 3 2 11 3
วิวิธธีทีทําํา × 12.4 =
5− 25 − 5.3 + 255
× (10
= + 2.4)− + − 5.3 (สมบัติการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวก)
25 25
2 = 2 8
= × 10 + − × 2.4− 5.3 (สมบัติการแจกแจง)
5 5 25
= =
4 + 0.96 -0.32 − 5.3

= 4.96 = -5.62
รากที่สองและการหารากที่สองของจํานวนจริง
กําหนดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีพื้นที่ 49 ตารางหนวย รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปนี้มีความยาวของแตละดานเทากับกี่หนวย
ให รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีความยาวดานละ a หนวย
จากสูตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยaมจัหนตวุรยัสเทากับ ความยาวดาน × ความยาวดาน
จะได a×a = 49
หรือ a2 = 49
การหาคาของ a จากสมการ a2 = 49 คือ การหาจํานวนซึง่ ยกกําลังสองแล้ วเท่ากับ 49
เรียกจํานวนที่ยกกําลังสองแลวเทากับ 49 วาเปนรากที่สองของ 49
เนื่องจาก 72 = 49 และ (−7)2 = 49
ดังนั้น 7 และ -7 เปนรากที่สองของ 49
แตความยาวดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจะตองไมเปนจํานวนลบ วิธีเขียนรากที่สองที่เปนบวกของ 49 อีกวิธีหนึ่ง สามารถ
นั่นคือ รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปนี้มีความยาวดานละ 7 หนวย เขียนโดยใชเครื่องหมายกรณฑ ( )
เชน รากที่สองที่เปนบวกของ 49 เขียนแทนดวย 49
นั่นคือ 7
รากที่สองและการหารากที่สองของจํานวนจริง
บทนิยาม
ให a แทนจํานวนจริงบวกใด ๆ หรือศูนย รากที่สองของ a คือ จํานวนจริงที่ยกกําลังสองแลว
เทากับ a เขียนแทนดวยสัญลักษณ a , - a
จากบทนิยาม จะไดวา
1. ถา a เปนจํานวนบวกใด ๆ รากที่สองของ a คือ จํานวนจริงที่ยกกําลังสองแลวเทากับ a
ใชสัญลักษณ a แทนรากที่สองที่เปนบวกของ a
ใชสัญลักษณ − a แทนรากที่สองที่เปนลบของ a
จากบทนิยามที่วารากที่สองของ a คือ จํานวนจริงที่ยกกําลังสองแลวเทากับ a
ทําใหสรุปไดวา ( a)2 = a และ (− a)2 = a
2. ถา a = 0 รากที่สองของ a เทากับ 0 ทั้งนี้เพราะ 02 = 0
3. ถา a เปนจํานวนลบใด ๆ จะหารากที่สองของ a ไมได ทั้งนี้เพราะไมมีจํานวนจริงใด ๆ ที่ยกกําลังสองแลวจะไดจํานวนลบ
รากที่สองและการหารากที่สองของจํานวนจริง
ตัวอยางที่ 7 จงหารากที่สองของจํานวนในแตละขอตอไปนี้
1) 4 2) 6

1) 6
2) 4
วิธีทํา รากที่สองของ 64 คือ จํานวนจริงที่ยกกําลังสองแลวเทากับ 64
จะได รากที่สองที่เปนบวกของ 64 คืคืออ 2 6
และ รากที่สองที่เปนลบของ 64 คือ --26
ดังนั้นรากที
รากที่ส่สองของ
องของ46คืคืออ2, 6-2, - 6

รากที่สองของจํานวนบวกใด ๆ จะเปน
จํานวนตรรกยะหรือจํานวนอตรรกยะก็ได
รากที่สองและการหารากที่สองของจํานวนจริง
ตัวอยางที่ 8 จงหาวาจํานวนในแตละขอตอไปนี้เปนรากที่สองของจํานวนใด
1
1) - 2) 0.5 3) - 8.3
2

1 2) 0.5 3) - 8.3
1) -
2 วิธีทํา เนื่องจาก 0.52 = 0.25 วิธีทํา เนื่องจาก − 8.3
2
= 8.3
1 2 1
วิธีทํา เนื่องจาก − = ดังนั้น 0.5 เปนรากที่สองของ 0.25
2 4 ดังนั้น - 8.3 เปนรากที่สองของ 8.3
1 1
ดังนั้น - เปนรากที่สองของ
2 4
รากที่สองและการหารากที่สองของจํานวนจริง
ตัวอยางที่ 9 จงหารากที่สองที่เปนบวกของ 32 และ −3 2
วิธีทํา รากที่สองที่เปนบวกของ 32 เทากับ 3
แตรากที่สองที่เปนบวกของ 32 เขียนแทนดวย 32
ดังนั้น 32 = 3
รากที่สองที่เปนบวกของ (−3)2 เทากับ 3
แตรากที่สองที่เปนบวกของ (−3)2 เขียนแทนดวย (−3)2
ดังนั้น (−3)2 = 3
นั่นคือ รากที่สองที่เปนบวกของ 32 และ −3 2 เทากับ 3
รากที่สองและการหารากที่สองของจํานวนจริง
จากตัวอยางที่ 9 จะเห็นวา
32 = 3 = 3
(−3)2 = 3 = −3
บทนิยาม
ให a แทนจํานวนจริงใด ๆ จะไดวา
a2 = a
เมื่อ a คือ คาสัมบูรณของ a
การหารากที่สอง
1) การหารากทีส่ องโดยการแยกตัวประกอบ

ตัวอยางที่ 10 จงหารากที่สองของ 225


วิธีทํา เนื่องจาก 225 = 3×3×5×5 3 225
= (5 × 3) × (5 × 3)
3 75
= 15 × 15
5 25
= 152
จะได 15 เปนรากที่สองที่เปนบวกของ 225 5 5
แตเนื่องจาก (−15)2 = 225 1
จะได -15 เปนรากที่สองที่เปนลบของ 225
ดังนั้น รากที่สองของ 225 คือ 15, -15
การหารากที่สอง
1) การหารากทีส่ องโดยการแยกตัวประกอบ
ตัวอยางที่ 11 จงหารากที่สองที่เปนบวกของ 36x 4y 8 เมื่อ x และ y แทนจํานวนจริงใด ๆ
วิธีทํา เนื่องจาก 36x 4y 8 = 6 ⋅ 6 x2 ⋅ x2 y4 ⋅ y4

= 6x 2 y 4 2

ดังนั้น 36x 4 y 8 = 6x 2 y 4 2

= 6x 2 y 4

= 6x 2 y 4
การหารากที่สอง
1) การหารากทีส่ องโดยการแยกตัวประกอบ
ตัวอยางที่ 12 จงหาผลลัพธของ - 441 + 961− 12.25
49
วิธีทํา - 441 + 961 − 12.25 = − 212 + 312 −
4

7 2
= −21 + 31 −
2
7
= -21 + 31 −
2
= -21 + 31 − 3.5
= 6.5

ดังนั้น - 441 + 961 − 12.25 = 6.5


การหารากที่สอง
2) การหารากที่สองโดยการประมาณคา

ตัวอยางที่ 13 จงหารากที่สองของ 50 โดยการประมาณคาใหใกลเคียงทศนิยมสามตําแหนง


วิธีทํา ขั้นที่ 1 หาจํานวนเต็มบวกสองจํานวนเรียงกัน ซึ่งกําลังสองของจํานวนทั้งสองตองมีคาใกลเคียง 50
มากที่สุด โดยที่คาหนึ่งนอยกวา 50 และอีกคาหนึ่งมากกวา 50
เนื่องจาก 7 × 7 = 49 และ 8 × 8 = 64
จะได 49 < 50 < 64 นั่นคือ 72 < 50 < 82
จาก 49 = 7 และ 64 = 8
แสดงวา 50 มีคาอยูระหวาง 49 และ 64
นั่นคือ 49 < 50 < 64 หรือ 7 < 50 < 8
ดังนั้น รากที่สองที่เปนบวกของ 50 มีคาระหวางจํานวนเต็ม 7 และ 8

7 8

50 อยูระหวางสองจํานวนนี้
การหารากที่สอง 2) การหารากที่สองโดยการประมาณคา

ตัวอยางที่ 13 จงหารากที่สองของ 50 โดยการประมาณคาใหใกลเคียงทศนิยมสามตําแหนง


วิธีทํา ขั้นที่ 2 หาคาเฉลี่ยของจํานวนที่ไดจากขั้นที่ 1
7+8
คาเฉลี่ยของ 7 กับ 8 เทากับ = 7.5
2
เนื่องจาก 7.52 = 56.25 มากกวา 50
ดังนั้น 7 < 50 < 7.5
ขั้นที่ 3 หาคาเฉลี่ยของจํานวนที่ไดจากขั้นที่ 2
7 + 7.5
คาเฉลี่ยของ 7 กับ 7.5 เทากับ = 7.25
2
เนื่องจาก 7.252 = 52.5625 มากกวา 50
ดังนั้น 7 < 50 < 7.25
ขั้นที่ 4 หาคาเฉลี่ยของจํานวนที่ไดจากขั้นที่ 3
7 + 7.25
คาเฉลี่ยของ 7 กับ 7.25 เทากับ = 7.125
2
เนื่องจาก 7.1252 ≈ 50.7656 มากกวา 50
ดังนั้น 7 < 50 < 7.125
การหารากที่สอง 2) การหารากที่สองโดยการประมาณคา

ตัวอยางที่ 13 จงหารากที่สองของ 50 โดยการประมาณคาใหใกลเคียงทศนิยมสามตําแหนง


วิธีทํา ขั้นที่ 5 หาคาเฉลี่ยของจํานวนที่ไดจากขั้นที่ 4
7 + 7.125
คาเฉลี่ยของ 7 กับ 7.125 เทากับ = 7.0625
2
เนื่องจาก 7.06252 ≈ 49.8789 นอยกวา 50
ดังนั้น 7.0625 < 50 < 7.125
ขั้นที่ 6 หาคาเฉลี่ยของจํานวนที่ไดจากขั้นที่ 5
7.0625 + 7.125
คาเฉลี่ยของ 7.0625 กับ 7.125 เทากับ = 7.09375
2
เนื่องจาก 7.093752 ≈ 50.3213 มากกวา 50
ดังนั้น 7.0625 < 50 < 7.09375
ขั้นที่ 7 หาคาเฉลี่ยของจํานวนที่ไดจากขั้นที่ 6
7.0625 + 7.09375
คาเฉลี่ยของ 7.0625 กับ 7.09375 เทากับ ≈ 7.0781
2
เนื่องจาก 7.07812 ≈ 50.0995 มากกวา 50
ดังนั้น 7.0625 < 50 < 7.0781
การหารากที่สอง 2) การหารากที่สองโดยการประมาณคา

ตัวอยางที่ 13 จงหารากที่สองของ 50 โดยการประมาณคาใหใกลเคียงทศนิยมสามตําแหนง


วิธีทํา ขั้นที่ 8 หาคาเฉลี่ยของจํานวนที่ไดจากขั้นที่ 7
7.0625 + 7.0781
คาเฉลี่ยของ 7.0625 กับ 7.0781 เทากับ = 7.0703
2
เนื่องจาก 7.07032 ≈ 49.9891 นอยกวา 50
ดังนั้น 7.0703 < 50 < 7.0781
ขั้นที่ 9 หาคาเฉลี่ยของจํานวนที่ไดจากขั้นที่ 8
7.0703+7.0781
คาเฉลี่ยของ 7.0703 กับ 7.0781 เทากับ = 7.0742
2
เนื่องจาก 7.07422 ≈ 50.0443
นั่นคือ รากที่สองของ 50 มีคาประมาณ 7.0742 กับ -7.0742
การหารากที่สอง
3) การหารากทีส่ องโดยการเปดตาราง ถา n เปนจํานวนเต็มบวก แลว 𝐧𝐧 คือ
รากที่สองที่เปนบวกของ n
ตัวอยางตารางแสดงคารากที่สอง
n 𝐧𝐧 ถา n ไมเปนจํานวนเต็ม คาในตารางจะ
⋮ ⋮ เปนคาโดยประมาณ
12 3.464
13 3.606
14 3.742 เชน n = 15 จะไดวา n ≈ 3.875
15 3.873 แตรากที่สองของ n คือ n และ - n
16 4.000 นั่นคือ รากที่สองของ 15 มี
⋮ ⋮ คาประมาณ 3.875 และ -3.875
การหารากที่สอง
3) การหารากทีส่ องโดยการเปดตาราง
ตัวอยางที่ 14 จงหารากที่สองของจํานวนตอไปนี้ โดยการเปดตาราง
1) 625 2) 20.25
วิธีทํา จากตาราง
1) รากที่สองของ 625 คือ 25 และ -25
2) เนื่องจาก รากที่สองของ 2,025 คือ 45 และ -45
จะได 4.5 × 4.5 = 20.25 และ (-4.5) × (-4.5) = 20.25
ดังนั้น รากที่สองของ 20.25 คือ 4.5 และ -4.5
รากที่สามและการหารากที่สามของจํานวนจริง

𝟑𝟑
ปริมาตรของลูกบาศก = (ความยาวดาน)

เชน ลูกบาศกมีความยาวดานละ 3 หนวย


จะมีปริมาตรเทากับ 3 × 3 × 3 = 33
= 27 ลูกบาศกหนวย
จะเห็นวา เมื่อนํา 3 มายกกําลัง 3 จะเทากับ 27
และ (-3) × (-3) × (-3) = (−3)3
= -27
เรียก -3 วาเปนรากที่ 3 ของ -27
รากที่สามและการหารากที่สามของจํานวนจริง

จํานวนที่เปนกําลังสามสมบูรณ (perfect cube) คือ จํานวนที่สามารถเขียนใหอยูในรูป


ผลคูณของจํานวนเต็มที่เทากันสามจํานวนได

บทนิยาม
ให a แทนจํานวนจริงใด ๆ รากที่สามของ a คือ จํานวนจริงที่ยกกําลังสามแลวเทากับ a
เขียนแทนดวยสัญลักษณ 𝟑𝟑 𝐚𝐚

สัญลักษณ 𝟑𝟑 𝐚𝐚 อานวา รากที่สามของ a


จากบทนิยาม จะได ( 𝟑𝟑 𝐚𝐚)3 = a
ดังนั้น การหารากที่สามของ a คือ การหาจํานวนซึ่งเมื่อนํามายกกําลังสามแลวตองเทากับ a
การหารากที่สาม
1) การหารากทีส่ ามโดยการแยกตัวประกอบ
ตัวอยางที่ 16 จงหารากที่สามของจํานวนในแตละขอตอไปนี้
343
1) -125 2) 3) -0.216
64
3)
1) 343
-0.216
2) -125
วิธีท64
ํา เนื่องจาก -125
-0.216
343
= (-5) ××
(-0.6) (-5) × (-5)
7(-0.6)
× 7 ××7 (-0.6)
วิธีทํา เนือ่ งจาก =
64 =
= 2 × 23 3× 2 × 2 × 2 × 2
(−5)
(−0.6)
ดังนั้น รากที่สามของ -125 คือ 7-5 7 7 3
=
ดังนั้น รากที่สามของ -0.216 คือ× (−0.6)
4
×
4 4

7 3
= 4

343 7
ดังนั้น รากที่สามของ 64
คือ 4
การหารากที่สาม
1) การหารากทีส่ ามโดยการแยกตัวประกอบ
3
ตัวอยางที่ 17 จงหาคาของ 27a3b3 เมื่อ a และ b แทนจํานวนจริงใด ๆ
วิธีทํา เนื่องจาก 27a3b3 = (3 × 3 × 3) × (a × a × a) × (b × b × b)
= (3ab)(3ab)(3ab)
= (3ab)3
นั่นคือ รากที่สามของ 27a3b3 = 3ab
3
ดังนั้น 27a3 b 3 = 3ab
การหารากที่สาม
2) การหารากทีส่ ามโดยการประมาณคา

ขั้นที่ 1 หาจํานวนเต็มสองจํานวนเรียงกัน ซึ่งจํานวนที่ตองการหารากที่สามตองอยูระหวางกําลังสามของทั้งสอง


จํานวนทั้งสอง
ขั้นที่ 2 นําคาเฉลี่ยของจํานวนเต็ม 2 จํานวนนั้นมายกกําลังสาม เปรียบเทียบกับจํานวน
ที่ตองการหารากที่สาม
ถามากกวา ใหนําคาเฉลี่ยกับจํานวนที่นอยกวามาหาคาเฉลี่ย แลวนําไปหากําลังสาม
ถานอยกวา ใหนําคาเฉลี่ยกับจํานวนที่มากกวามาหาคาเฉลี่ย แลวนําไปยกกําลังสาม
ขั้นที่ 3 ทําขั้นที่ 2 ซํ้าอีกจนไดจํานวนใกลเคียงจํานวนที่ตองการ
การหารากที่สาม
2) การหารากทีส่ ามโดยการประมาณคา
ตัวอยางที่ 18 จงหารากที่สามของ 12 โดยการประมาณคาใหใกลเคียงทศนิยมสามตําแหนง
วิธีทํา ขั้นที่ 1 เนื่องจาก 23 = 8 และ 33 = 27
ดังนั้น 2 < 3 12 < 3
2 3

3
12 อยูระหวางสองจํานวนนี้
2+3
ขั้นที่ 2 คาเฉลี่ยของ 2 กับ 3 = = 2.5
2
เนื่องจาก (2.5)3 = 15.625 ซึ่งมีคามากกวา 12
ดังนั้น 2<
3
12 < 2.5

2 2.5 3

3
12 อยูระหวางสองจํานวนนี้
การหารากที่สาม
2) การหารากทีส่ ามโดยการประมาณคา
ตัวอยางที่ 18 จงหารากที่สามของ 12 โดยการประมาณคาใหใกลเคียงทศนิยมสามตําแหนง
2 + 2.5
วิธีทํา ขั้นที่ 3 คาเฉลี่ยของ 2 กับ 2.5 = = 2.25
2
เนื่องจาก (2.25)3 ≈ 11.39 ซึ่งมีคานอยกวา 12
ดังนั้น 2.25 <
3
12 < 2.5

2 2.25 2.5 3

3
12 อยูระหวางสองจํานวนนี้
2.25 + 2.5
ขั้นที่ 4 คาเฉลี่ยของ 2.25 กับ 2.5 = = 2.375
2
เนื่องจาก (2.375)3 ≈ 13.40 ซึ่งมีคามากกวา 12
ดังนั้น 2.25 <
3
12 < 2.375

2 2.25 2.375 2.5 3


3
12 อยูระหวางสองจํานวนนี้
การหารากที่สาม
2) การหารากทีส่ ามโดยการประมาณคา
ตัวอยางที่ 18 จงหารากที่สามของ 12 โดยการประมาณคาใหใกลเคียงทศนิยมสามตําแหนง
2.5 + 2.375
วิธีทํา ขั้นที่ 5 คาเฉลี่ยของ 2.25 กับ 2.375 = = 2.3125
2
เนื่องจาก (2.3125)3 ≈ 12.366 ซึ่งมีคามากกวา 12
ดังนั้น 2.25 <
3
12 < 2.3125
2.25 + 2.3125
ขั้นที่ 6 คาเฉลี่ยของ 2.25 กับ 2.3125 = = 2.28125
2
เนื่องจาก (2.28125)3 ≈ 11.872 ซึ่งมีคานอยกวา 12
ดังนั้น 2.28125 <
3
12 < 2.3125
2.28125 + 2.3125
ขั้นที่ 7 คาเฉลี่ยของ 2.28125 กับ 2.3125 = ≈ 2.2969
2
เนื่องจาก (2.2969)3 ≈ 12.117
ดังนั้น รากที่สามของ 12 มีคาประมาณ 2.297
การหารากที่สาม
3) การหารากทีส่ ามโดยการเปดตาราง

ตัวอยางตารางแสดงคารากที่สาม เมื่อ 𝟑𝟑 𝐧𝐧 ไมเปนจํานวนเต็ม


n 𝟑𝟑
𝐧𝐧 คาในชอง 𝟑𝟑 𝐧𝐧 จะเปนคาประมาณ
⋮ ⋮
90 4.481
91 4.498
92 4.514
เชน n = 90 จะไดวา 3 n ≈ 4.481
93 4.531

นั่นคือ 3 90 ≈ 4.481

การหารากที่สาม
3) การหารากทีส่ ามโดยการเปดตาราง
ตัวอยางที่ 19 จงหารากที่สามของจํานวนตอไปนี้ โดยการเปดตาราง
1) -55 2) 99
1) -55 2) 99
วิธีทํา จาก n = 55 วิธีทํา จาก n = 99
จะได n ≈ 3.803
3
จะได 3 n ≈ 4.626
ดังนั้น รากที่สามของ -55 ≈ -3.803 ดังนั้น รากที่สามของ 99 ≈ 4.626

ตัวอยางที่ 20 จงตรวจสอบวา -5 เปนรากที่สามของ 125 หรือไม


วิธีทํา เนื่องจาก −5 3 = −5 × −5 × −5
= -125
ดังนั้น5 ไมเปนรากที่สามของ 125
การนําความรูเกี่ยวกับจํานวนจริงไปใชในชีวิตจริง โจทยปญหาบางอยาง จะตองใช
ตัวอยางที่ 21 แกวทรงกระบอกใบหนึ่งมีความจุประมาณ 539 ความรูเกี่ยวกับจํานวนจริงมา
ลูกบาศกเซนติเมตร มีความสูง 14 เซนติเมตร จงหาวาแกวใบนี้มี ประยุกต ดังตัวอยางตอไปนี้
22
รัศมีกี่เซนติเมตร (กําหนด π ≈ )
7
วิธีทํา จากสูตรปริมาตรทรงกระบอกเทากับ πr 2h
จะได 539 = π × r 2 × 14
539
r2 ≈ 22
539 ซม.
3 14 ซม. 14×
7
= 12.25
= 3.5 2
𝑟𝑟 ≈ 3.5 2 , - 3.5 2

= 3.5, -3.5
เนื่องจาก r เปนความยาวรัศมี จึงใชเฉพาะจํานวนบวก
ดังนั้น แกวใบนี้มีรัศมียาวประมาณ 3.5 เซนติเมตร
การนําความรูเกี่ยวกับจํานวนจริงไปใชในชีวิตจริง ความรูเรื่องจํานวนจริง
สามารถนํามาประยุกตใชใน
ตัวอยางที่ 22 กลองทรงลูกบาศกมีความจุ 1,728 ลูกบาศกนิ้ว จะสามารถ
การหาคําตอบโจทยปญหาได
บรรจุลูกบาลที่มีเสนผานศูนยกลาง 15 นิ้ว ไดหรือไม เพราะเหตุใด

1,728 นิ ้ว3

วิธีทํา กลองมีความจุ 1,728 ลูกบาศกนิ้ว


จะไดวา กลองใบนี้ยาวดานละ 3 1,728 = 12 นิ้ว
ดังนั้น จะไมสามารถใชบรรจุลูกบอลที่มเี สนผานศูนยกลาง 15 นิ้วได
เพราะลูกบอลมีขนาดใหญกวากลองใบนี้

You might also like