Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

Outline

Essential score in Stroke  Stroke definition.
 Symptoms and sign of stroke.
 Scale and score in stroke.
นพ.ธน ธีร ะวรวงศ์  Summary.
กลุ่ม งานประสาทวิท ยา สถาบัน ประสาทวิท ยา

Stroke definition. กลุ่ม อาการทีบ่งว่าน่าจะเป็ น stroke


Stroke: acute symptoms lasting > 24 hours or imaging of
an acute clinically relevant brain lesion in patients with  Acute/sudden onset
rapidly vanishing symptoms.
 Focal or localizable neurological 
TIA: Brief episode of neurological dysfunction caused by
a focal disturbance of brain or retinal ischemia, with
deficit
clinical symptoms typically lasting less than 1 hour, and
without evidence of infarction.  Stroke risk factors  

Hemorrhagic stroke Ischemic stoke: focal involvement ตาม


 SAH: Diffuse vascular territory.
 ICH: Focal involvement แต่บอก ◦ Anterior circulation: ICA and its
branches: the anterior choroidal,
ตําแหน่งเลือดออกไม่ได้ชดั เจน เพราะ
anterior cerebral and middle cerebral
ภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ ↑ICP, cerebral a. : Most of cerebral hemisphere
edema, compression of brain ◦ Posterior circulation: the paired
tissue and blood vessel มาบดบัง vertebral a., the basilar a., and their
branches. : Most of brain stem,
cerebellum

1
stroke Ischemic stroke
Hemorrhage Ischemic
Thrombosis Embolism
Previous stroke  Usually none   Previous TIA or 
stroke  Onset   Progressive ;  Sudden ; max. 
Onset  Sudden   Often over min.  max. in Hrs or  def. in Min. often 
or day   day occurs in  occurs during 
Headache  Usually {50%} Unusual    early morning activity  
Seizure  Uncommon   Common 
Mental status Coma, rapid  Usually alert 
deterioration   Hemorrhagic  Uncommon  Common 
infarct 
Stiff neck  Present {SAH}  Usually none  Associated  Atherosclerotic  Heart disease 
condition  Prone  

Symptoms and signs of 
Anterior and posterior circulation ischemia.
incidence {%}
Symptom and sign anterior posterior
Headache 25 3
Altered consciousness       5 16
Aphasia 20 0
Visual field defect 14 22
Diplopia 0 7
Vertigo 0 48
Dysarthria 3 11
Drop attack 0 16
Hemi‐ or monoparesis 38 12
Hemisensory deficit 33 9

การซัก ประวัต ใิ นผู้ป่ วยทีสงสัยโรคหลอดเลือ ดสมอง การตรวจร่างกาย


 Onset: sudden, acute, subacute, chronic.  V/S, sign of chronic HT, PR
 Focal vs. generalized symptom:  Level of consciousness, aphasia.
◦ ปวดศีร ษะ, หมดสติ, ชัก  CN.
◦ อ่อ นแรง, ชา, พูด ไม่ช ัด , ตามองไม่เ ห็น ชัวคราว, เวียนศีร ษะ, เดิน เซ  Motor power.
 Stroke risk factor: DM,HT,  Reflex.
hyperlipidemia, heart disease, smoking.  Cerebellar function.
 Sensory function.
 Cognitive function.
Sign of focal brain dysfunction.

2
การซัก ประวัต ิ และตรวจร่างกายเพือ...
 DDx stroke vs. stroke mimics.
 Ischemic vs. hemorrhagic stroke.
 Candidate for reperfusion therapy: onset,
inclusion & exclusion, comorbid disease.
Scale and score of stroke
 Etiology of stroke e.g. AF, carotid/vertebral
dissection.

Introduction
 Stroke scale and clinical assessment tool.
◦ Prehospital Stroke Assessment Tools.
◦ Acute Assessment Scales.
◦ Functional Assessment. Prehospital stroke assessment
◦ Outcome Assessment.

http://www.strokecenter.org/trials/scales/ 

FAST : Thai version
FAST : Thai version

3
Prehospital assessment
Rating stroke severity in the field:
 NIHSS: ต้อ งฝึ กประเมิ น ก่อ น, ใช้เวลาประมาณ 5-10
นาที, ไม่ค ่อ ยสะดวกเมื่อ นํามาใช้จ ริ ง
 Short NIHSS: motor of both leg, best gaze, VF Predicting stroke risk after TIA
and best language.

ABCD² score
ABCD2 Score: 7‐point
The 2-day risk of stroke (after  TIA)
 Score 6 to 7: High two-day stroke risk (8 percent)
 Score 4 to 5: Moderate two-day stroke risk (4 percent)
 Score 0 to 3: Low two-day stroke risk (1 percent)

Johnston SC et al; Validation and refinement of scores 
to predict very early stroke risk after transient 
ischaemic attack: Lancet. 2007;369(9558):283‐92.

Functional Assessment 
Acute Assessment Scales.
Ischemic stroke
NIH Stroke Scale (NIHSS) • Modified Rankin Scale
Hemorrhagic stroke • Barthel index
Hunt & Hess Scale: แบ่งความรุน แรงของโรค ซึ่งมีผ ลต่อ
outcome
Non-specific
Glasgow Coma Scale (GCS): ทํา นายoutcome ของภาวะ
บางอย่า ง

4
Ischemic stroke วัตถุประสงค ์ 
1. Neurologic deficit stroke scale: 1. เพื่อ ประเมิ น เชิ งปริ ม าณของ neurological
 NIHSS deficit
2. Functional outcome scales: 2. เพื่อ ศึก ษาถึงประสิ ท ธิ ผ ลของยาที่ น ํา มาใช้ใ น
 Global outcome scales: Modified Rankin การรัก ษา stroke
Scale. 3. เพื่อ ประเมิ น level of improvement.
 Activities of daily living scales: Barthel index

Neurologic deficit stroke scale:
Functional outcome scales
1. ช่ว ยบอกเชิ งปริ ม าณเกี่ย วกับ neurological deficit 1. ง่า ยต่อ การประเมิ น ไม่จ าํ เป็ น ต้อ งอบรม
2. ประเมิ น level of improvement 2. เหมาะกับ การดู ประสิ ท ธิ ผ ลของยา
3. บอก drug efficacy เช่น r-TPA 3. อาจประเมิ น ได้โดยการซัก ทางโทรศัพท์ ประวัติ
4. การประเมิ น อาศัย จากที่ ผ ้ป ู ่ วยทํา ได้ ไม่เกี่ย วกับ Hx ข้อ เสีย
ข้อ เสีย /ข้อ ด้อ ย  Score ดีแ ต่ ผป.อาจมีm ultiple deficit ได้เพราะ score
1. การเปลี่ย นแปลงระดับ ของคะแนนอาจมีค วามหมายไม่ หยาบ เช่น เดิ น ได้ แต่ม ีaphasia หรือ มีc ognitive deficit
เท่ากัน เช่น 2 คะแนน ของ aphasia = numbness
2. แม้ค ะแนนจะดีข ึ้น แต่ผ ้ป ู ่ วยอาจยังคงพิ ก ารอยู่
3. คนประเมิ น อาจต้อ งอบรมมาก่อ น

Neurologic deficit stroke scale

NIHSS
ประโยชน์
 เพื่อ ประเมิ น severity หลังstroke และบอก outcome
ของผู้ป่ วยได้ เช่น ถ้า NIHSS < 6; minor stroke
มัก จะมี good recovery ถ้า NIHSS > 16; major
stroke มัก จะมีโอกาสตาย หรือ พิ ก ารสูง

Nilanont Y et al; Establishment of the Thai version of 
National Institute of Health Stroke Scale (NIHSS) and a 
validation study; J Med Assoc Thai. 2010 Jan;93 Suppl
1:S171‐8.

5
NIHSS NIHSS
0 = normal score ข้อ ดี
> 15 : major stroke  High reliability.

6-15 : moderate stroke  ง่า ยต่อ การเรีย นรู้

< 4-6 : minor stroke. ข้อ เสีย


ความน่ า เชื่อ ถือ :  Score ของ dominant brain ม กั จะมากกว่า

 High reliability: ไม่ว ่า จะเป็ น โดย neurologist, stroke nurse nondominant brain
 ไม่ด ีส าํ หรับ posterior circulation เช่น แม้ม ีอ าการมาก
(inter-rater reliability)
 Highly reproducible. แต่ก ็ score น้ อ ย
 การเปลี่ย นแปลงscore อาจไม่ส ะท้อ นต่อ สภาพของ
 Training tape: ↑ reliability  6 cases
ผูป้ ่ วยที่แ ท้จ ริ ง
 Predict stroke lesion size.

การประเมิน (5‐10นาที) Total score___ (0-42)

 ควรรีบประเมิน หล งั เข้า ร.พ. 1. LOC; level, question, command


 แนะนํา ให้ผดู้ แู ล stroke ทุก คน ควรจะได้ร บั การฝึ ก (VDO tape) 2. Best gaze
และใบประกาศนี ย บัต รในการให้ค ะแนน NIHSS 3. Visual field
 ขณะประเมิ น ไม่ค วรกล บ ั ไปประเมิน ซํา้ หรือ แก้ score (accept 4. Facial palsy
patient’s 1st effort) 5. Motor arm
6. Motor leg
 ประเมิ น หมด แม้p revious stroke.
7. Limb ataxia
 ไม่จ าํ เป็ น ต้อ งซัก ประวัติ , อาศัย ผป.ทํา เอง 8. Sensory
 อุป กรณ์ ; ไม้จิ้ม ฟั น และกระดาษเรีย กชื่อ รูป 9. Best language
10. Dysarthria
11. Neglect
เขียว:แขนขาขาดประเมินไม่ได้ คะแนนไม่ครบ

(NIHSS) 11 item
(NIHSS) 11 item
1a. ระด ับความรูส ึ ต ัว
้ ก
1a. ระด ับความรูส ึ ต ัว (level of consciousness)
้ ก

Function Function
score score
 รูต
้ ัวดี ตอบสนองเป็นปกติ 0  หล ับตลอดเวลา ปลุกตืนได้ 2
 ง่วงซม ึ ปลุกตืนได้งา
่ ย แต่ตอ ้ งใชต้ ัวกระตุน้ แรงๆซําๆก ัน
หรืออาจจําเป็นต้องใชส ้ งเร้
ิ าที
เมือตืนถามตอบรูเ้ รืองและ 1
ทําให้เกิดความเจ็ บปวด
สามารถทําตามสงได้ ั
 ไม่ตอบสนองแต่สามารถตรวจพบ 3
ปฏิกริ ย
ิ าอ ัตโนม ัติ(reflex) ได้

6
1b. ระด ับความรูส ึ ต ัว:
้ ก Questions
1c. ระด ับความรูส
้ ก ั
ึ ต ัว: คําสง(command)
(เดือน, อายุ)
Function score
 ตอบได้ถกู ทงั ๒ ข้อ 0
1. ลืมตา และหล ับตา
 ตอบได้ถก ู เพียง ๑ ข้อ 1
 ไม่สามารถตอบคําถามได้ 2 2. กํามือ และแบมือข้างทีไม่ออ
่ นแรง
หรือตอบผิดทงั ๒ ข้อ
Note:
1; ET tube, severe dysarthria,(เว้นaphasia)
2; coma, aphasia, (1a;3) , stuporous (1a;2)

1c.LOC คําสงั (command) 2. การเคลือนไหวของตา (Best gaze)


Function score  ประเมิน การเคลือนไหวของลูก ตาในแนวนอนเท่านัน
 ทําได้ถก
ู ทงั 2 อย่าง 0  ถ้าตาผู้ป่ วยมองไปด้านใดด้านหนึงเพีย งด้านเดีย ว ให้ผู้ป่ วย
 ทําได้ถกู ต้องเพียงอย่างเดียว 1 มองไปด้านตรงข้าม หรือ ทําoculocephalic
 ไม่ทา ั
ํ ตามสงหรื อทําไม่ถก
ู ต้อง 2
maneuver.

2. การเคลือนไหวของตา (Best gaze) 3. ลานสายตา (Visual field)


(horizontal EOM by voluntary, or Doll’s eye) (Field of good eye)
Function score Function score
 มองตามได้เป็นปกติ 0  ลานสายตาปกติ 0
 ตาข้างหนึงหรือทง ั ๒ ข้างเหลือบ 1  Partial hemianopia 1
มองไปด้านข้างได้ แต่ไม่สด ุ  Complete hemianopia 2
 เหลือบตามองไปด้านข้างไม่ได้เลย 2  ตาบอดทง ั ๒ ตา 3
หรือมองไปด้านหนึงด้านใดจนสุดโดยไม่สามารถ
แก้ไขได้ดว้ ยoculocephalic maneuver
Note: ตาบอด 1 ตา ให ้ตรวจลานสายตาข ้างทีปกติ
1; extinction: กระตุ ้นพร ้อมกันบอกได ้แค่อน
ั เดียว
3; แม ้ตาบอด หรือเอาลูกตาออก ก็ตรวจ VF

7
4. การเคลือนไหวของกล้ามเนือใบหน้า(Facial palsy) 4. การเคลือนไหวของกล้ามเนือใบหน้า(Facial palsy)

Function Function score


score  กล้ามเนือใบหน้าอ่อนแรงมาก 2
 ไม่พบมีการอ่อนแรงของ 0 แต่ย ังพอเคลือนไหวได้บา้ ง
 ไม่สามารถเคลือนไหวกล้ามเนือ- 3
กล้ามเนือใบหน้า
ใบหน้าในข้างหนึงข้างใด
 กล้ามเนือใบหน้าอ่อนแรงเล็ กน้อย 1
หรือทงั ๒ ข้างได้เลย

พอสงเกตเห็ นมุมปากตก หรือไม่เท่าก ันเมือ
ยิม

5. กําล ังของกล้ามเนือแขน (Motor arm) 5. กําล ังของกล้ามเนือแขน (Motor arm)

 A ข้างซา้ ย, B ข้างขวา Function score


ท่านงั  ยกแขนสามารถคงไว้ได้นาน ๑๐ วินาที 0
 ให้เหยียดแขนออกไปข้างหน้าจนสุด ค้างไว้ ๑๐  ยกแขนได้ แต่ไม่สามารถคงไว้ได้ 1
วินาทีในท่าควํามือ โดยทํามุม ๙๐ องศาก ับลําต ัว ถึง ๑๐ วินาที
ท่านอน  ยกแขนขึนได้บา ้ ง แต่ไม่ถงึ หรือไม่สามารถ 2
 ให้เหยียดแขนออกไปข้างหน้าจนสุด ค้างไว้ ๑๐ คงไว้ในตําแหน่งทีต้องการได้ จากนนแขนตกลง

วินาทีในท่าควํามือ โดยทํามุม ๔๕ องศาก ับลําต ัว บนเตียง

5. กําล ังของกล้ามเนือแขน (Motor arm) 6. กําล ังของกล้ามเนือขา(Motor leg)


Function score
 ไม่สามารถยกแขนขึนได้ 3  A ข้างซา้ ย, B ข้างขวา
 ไม่มก
ี ารเคลือนไหวของกล้ามเนือแขน 4 ตรวจเฉพาะท่านอนหงาย เท่านน ั
 แขนพิการหรือถูกต ัด หรือพบมีปญ
ั หา X  ให้เหยียดขาออกไปทีละข้างสูงทํามุม ๓๐ องศา
ข้อติดยึดทีไม่สามารถแปลผลการตรวจได้ ค้างไว้ ๕วินาที

(ควรเขียนเหตุผลให้ชดเจน)

8
6. กําล ังของกล้ามเนือขา(Motor leg) 6. กําล ังของกล้ามเนือขา(Motor leg)
Function score Function score
 ยกขาสามารถคงไว้ได้นาน ๕ วินาที 0  ไม่สามารถยกขาขึนได้ 3
 ยกขาได้ แต่ไม่สามารถคงไว้ได้ 1  ไม่มก
ี ารเคลือนไหวของกล้ามเนือขา 4
ถึง ๕ วินาที ก็ตกลง แต่ไม่ถงึ พืน  ขาพิการหรือถูกต ัด หรือพบมีปญ
ั หา X
 ยกขาขึนได้บา ้ ง แต่ไม่ถงึ หรือไม่สามารถ 2 ข้อติดยึดทีไม่สามารถแปลผลการตรวจได้
คงไว้ในตําแหน่งทีต้องการได้ จากนนขาตกลงบน
ั ั
(ควรเขียนเหตุผลให้ชดเจน)
เตียง ก่อน ๕ วินาที

7. การประสานงานของแขนขา 8. การร ับความรูส ึ (Sensory)


้ ก
(Limb ataxia: FTN or heel to shin)

Function score Function score


 No ataxia 0
 การร ับความรูส ึ เป็นปกติ
้ ก 0
 Ataxia in one limb 1
 สูญเสียการร ับความรูส ้ กึ ในระด ับน้อย 1
 Ataxia in two limb 2 ถึงปานกลาง การร ับความรูส ึ ปลายแหลมลดลง
้ ก
 Unable to assess X แต่ย ังสามารถบอกได้ถงึ ความรูส ึ ในบริเวณทีถูก
้ ก
(Amputation) กระตุน ้
 สูญเสียการร ับความรูส ้ กึ ในระด ับรุนแรง 2
ไม่รส
ู้ ก ั ัสในบริเวณใบหน้า แขนและขา
ึ ว่าถูกสมผ
Note: ถ้าอ่อนแรงมากจนขย ับไม่ได้ถอ
ื ว่าไม่ม ี
0  Note:
1a;3 ถ้าไม่มa
ี taxia ก็ 0 - Aphasia, Stuporous  nail bed ; 0 or 1
- Quadriplegia, coma 1a=3; 2

9. ความสามารถด้านภาษา (Best
language)

I. ิ เกิดขึนในภาพ
ดูภาพแล้วบรรยายสงที
ื งของต่
II. บอกชอส ิ าง ๆ ในภาพ
III.อ่านประโยคทีได้แนบมาก ับ
แบบทดสอบนี

9
อ่านประโยค
 คุณสบายดีห รือ
 เท้าติด ดิน
 ฉัน กลับ บ้านทัน ทีห ลังเลิก งาน
 ใกล้โ ต๊ะอาหารในห้อ งครัว
 เมือคืน ฉัน ได้ย น
ิ เขาพูด ทางวิท ยุ

9. ความสามารถด้านภาษา (Best 9. ความสามารถด้านภาษา (Best


language) language)
Function Scores Function Scores
 การสือภาษาเป็นปกติ 0  การสือภาษาสูญเสียอย่างรุนแรง 2
 การสือภาษาสูญเสียไปในระด ับน้อย 1 ผูป
้ ่ วยไม่สามารถสือสารให้เข้าใจได้
ถึงปานกลาง มีการสูญเสียความเข้าใจ และผูท ้ ดสอบไม่สามารถทราบได้วา ่ ผูป
้ ่ วยกําล ังพูด
หรือความสามารถในการใชภ ้ าษา แต่ผปู ้ ่ วยย ังพอ ถึงอะไร (sensory aphasia)
เข้าใจได้วา
่ ผูป
้ ่ วยกําล ังพูดถึงอะไรอยู่  ไม่พด ู หรือไม่เข้าใจภาษาทีผูต ้ รวจ 3
(motor aphasia, dysarthria) พยายามสือสารและไม่สามารถแสดงท่าทาง พูด
หรือเขียนให้ผอ ู ้ นเข้
ื าใจได้ (global aphasia)

9. ความสามารถด้านภาษา (Best
ี ง (Dysarthria)
10. การออกเสย
language)
Function Scores
Function ั
 เปล่งเสียงได้ชดเจนเป ็ นปกติ 0
Scores ั
 พูดไม่ชดเล็ กน้อยถึงปานกลาง 1
Note: ผูป ั ็ นบางคํา แต่ผต
้ ่ วยพูดไม่ชดเป ู ้ รวจพอเข้าใจได้
 ในผูป ่ อ
้ ่ วยใสท ่ ยหายใจ ให้ประเมินโดย
่ ชว
การเขียน
 Coma (1a=3): จะได้ 3 คะแนน

10
ี ง (Dysarthria)
10. การออกเสย ให้อ ่านออกเสีย ง
Function Scores

 พูดไม่ชดอย่ างมากหรือไม่พดู 2
ไม่สามารถเข้าใจคําพูดของผูป ้ ่ วยได้ โดยไม่ม ี แมงมุม ทับ ทิม
ความผิดปกติของความเข้าใจภาษา
 ถ้าใส่ทอ
่ ช่วยหายใจ หรือมีปญ
ั หา UN ฟื นฟู ขอบคุณ
ทางกายอืนๆทีมีผลต่อการเปล่งเสียง
(บอกเหตุผลไปด้วยเสมอ) รืนเริง ใบบัวบก

11. การขาดความสนใจในด้านใดด้านหนึงด้านใดของร่างกาย 11. การขาดความสนใจในด้านใดด้านหนึงด้านใดของร่างกาย


(Extinction/formaerly Neglect) (Extinction/formaerly Neglect)

Function Scores Function Scores


 ไม่พบความผิดปกติ 0  มีความผิดปกติของการร ับรูม ้ ากกว่า 2
 พบความผิดปกติของการร ับรูช ้ นิดใดชนิด 1 1 ชนิด หรือผูป
้ ่ วยไม่ร ับรูว้ า
่ เป็นมือของต ัวเอง
 หนึงด ังต่อไปนีคือ การมองเห็ น การสมผ ั ัส ิ าเพียงด้านเดียว
หรือสนใจต่อสงเร้
หรือการได้ยน ิ เมือมีการกระตุน้ ทงั 2 ข้าง
พร้อมๆก ัน

Total score___ (0-42)


1. LOC; level, question, command
2. Best gaze
3.
4.
Visual field
Facial palsy
Functional outcome 
5. Motor arm scales
6. Motor leg
7. Limb ataxia
8. Sensory
9. Best language
10. Dysarthria
11. Neglect
เขียว:ด้วนประเมินไม่ได้ คะแนนไม่ครบ

11
Functional outcome scales:
 Global outcome scales: Modified
Rankin Scale. Modified Rankin Scale
 Activities of daily living scales:
Barthel index.

mRS Modified Rankin Scale
 เพื่อ ประเมิน ความสามารถในการช่ว ยเหลือ ตัว เองในการใช้ SCORE DESCRIPTION
ชีวิ ต ประจํา วัน
0 ไม่ม ีอ าการ
 Score; 0-6 ขึน ้ กับ ว่า ผป.ต้อ งการความช่ว ยเหลือ มากเท่า ใด
 Favorable outcome ≤1or≤2 , poor >3
1 มีอ าการเพีย งเล็ก น้อ ย ไม่ม ีค วามพิก าร: ผู้ป่ วยสามารถ
ผูป้ ระเมิน ทํางาน หรือ กิจ วัต ร ประจําวัน ได้เ ท่าก่อ นป่ วย
 Neurologist or health care professional 2 มีค วามพิก ารเพีย งเล็ก น้อ ย: ไม่ส ามารถทํางาน หรือ
ความน่ า เชื่อ ถือ : เชื่อ ถือ ได้ปานกลางระหว่า งผูป้ ระเมิน แต่ล ะคน กิจ วัต รประจําวัน ได้ท งหมดเท่
ั าก่อ นป่ วย แต่ผู้ป่ วยสามารถดู
แลตัวเองได้โ ดยไม่ต ้อ งการความช่วยเหลือ
3 มีค วามพิก ารปานกลาง: ต้อ งการการช่วยเหลือ บ้าง
แต่ผู้ป่ วยสามารถเดิน ได้โ ดยไม่ต ้อ งมีบ ุค คลอืนช่วยเหลือ

Modified Rankin Scale
SCORE DESCRIPTION
4 มีค วามพิก ารปานกลางถึงรุ น แรง: ไม่ส ามารถเดิน ได้ด ้ว ยตนเอง
โดยไม่ช ่วยเหลือ และไม่ส ามารถดูแ ลตนเองได้โ ดยไม่ม ีผู้ช ่วยเหลือ
5 มีค วามพิก ารอย่างรุน แรง: bedriddenไม่ส ามารถควบคุม ปั ส สาวะ Barthel Index
อุจ จาระได้(incontinence)
ต้อ งการการพยาบาล(nursing care)
6 ตาย
TOTAL (0–6): ____

12
Barthel index Barthel index
 ใช้ทงั ้ ในstroke และ โรคทางระบบประสาทอื่น ๆ ประโยชน์
 ประกอบด้ว ย 10 item; maximum 100 = normal  สัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ได้
ผูป้ ระเมิน
 เจ้า หน้ า ที่ส าธารณสุข ทุก ๆคน
ข้อ เสีย
 ใช้เวลาประเมิ น 5 นาที  เป็ นการประเมินแค่ basic ADL ดังนัน้ ถ้าผูป
้ ่ วยมี
 การประเมิ น ได้จ ากการซัก ประวัติ ผป.,ครอบครัว หรือ คนดูแ ล cognitive impairment อาจมี score 100
ความน่ า เชื่อ ถือ : เชื่อ ถือ ได้ม าระหว่า งผูป้ ระเมิน
 สัม พัน ธ์ก บ ั ระยะเวลาอยู่ร .พ. และindependent living

Barthel Index Barthel Index


 Feeding (รับ ประทานอาหารเมื่อ เตรีย มสํา รับไว้เรียบร้อ ยต่อ หน้ า )  Dressing(การสวมใส่เสื้อ ผ้า )
0 = ไม่ส ามารถตัก อาหารเข้า ปากได้ ต้อ งมีค นป้ อ นให้ 0 = ต้อ งมีค นสวมใส่ใ ห้ ช่ว ยตัว เองแทบไม่ได้หรือ ได้น้ อ ย
5 = ตัก อาหารเองได้ แต่ต ้อ งมีค นช่ว ย เช่น ช่ว ยใช้ช้อ นตัก เตรีย มไว้ใ ห้หรือ ตัด 5 = ช่ว ยตัว เองได้ร าวร้อ ยละ50 ที่เหลือ ต้อ งมีค นช่ว ย
ให้เป็ น ชิ้ น เล็ก ๆ ไว้ล ่ว งหน้ า 10 = ช่ว ยตัว เองได้ด ี(รวมทัง้ การติ ด กระดุม รูด ซิ บ หรือ ใส่เสื้อ ผ้า ที่ด ดั แปลงให้
เหมาะสมก็ได้)
10 = ตัก อาหารและช่ว ยตัว เองได้เป็ น ปกติ
 Bowels (การกล นั ้ อุจ จาระในระยะ 1 สัป ดาห์ที่ผ า่ นมา)
 Bathing 0 = กล นั ้ ไม่ได้ หรือ ต้อ งการการสวนอุจ จาระอยู่เสมอ
0 = ต้อ งมีค นช่ว ยหรือ ทํา ให้ 5 = กล นั ้ ไม่ได้เป็ น บางครัง้ (น้ อ ยกว่า 1 ครัง้ ต่อ สัป ดาห์)
5 = อาบนํ้า เองได้ 10 = กล นั ้ ได้เป็ น ปกติ
 Grooming (ล้า งหน้ า , หวีผ ม,แปรงฟั น ,โกนหนวด ในระยะ 24-48 ช.ม. ที่ผ า่ นมา)  Bladder(การกล นั ้ ปั ส สาวะในระยะ 1 สัป ดาห์ที่ผ า่ นมา)
0 = ต้อ งการความช่ว ยเหลือ 0 = กล นั ้ ไม่ได้ หรือ ใส่ส ายสวนปัส สาวะแต่ไม่ส ามารถดูแ ลเองได้
5 = กล นั ้ ไม่ได้บ างครัง้ (เป็ น น้ อ ยกว่า วัน ละ 1 ครัง้ )
5 =ทํา ได้เอง(รวมทัง้ ที่ทาํ ได้เองถ้า เตรีย มอุป กรณ์ ไว้ใ ห้) 10 = กล นั ้ ได้เป็ น ปกติ

Barthel Index Barthel Index


 Toilet Use(ใช้ห้อ งสุข า)
0 = ช่ว ยตัว เองไม่ได้  Mobility (การเคลือนทีภายในห้องหรือบ้าน)
5 = ทํา เองได้ (อย่า งน้ อ ยทํา ความสะอาดตัว เองได้หล งั จากเสร็จ ธุร ะ) แต่ต ้อ งกา 0 = เคลือนทีไปไหนไม่ได้
ความช่ว ยเหลือ ในบางสิ่ ง 5 = ต้องใชร้ ถเข็นช่วยต ัวเองเคลือนทีได้เอง(ไม่ตอ
้ งมีคน
10 = ช่ว ยตัว เองได้ด ี (ขึน้ นัง่ และลงจากโถส้ว มได้เอง, ทํา ความสะอาดได้เรียบร้อ เข็นให้)และจะต้องเข้าออกมุมห้องหรือประตูได้
หล งั จากเสร็จ ธุร ะ, ถอด ใส่เสื้อ ผ้า 10 = เดินหรือเคลือนทีโดยมีคนช่วยเช่น พยุง หรือ บอก
ได้เรียบร้อ ย) ให้ทา
ํ ตาม หรือต้องให้ความสนใจดูแลเพือความปลอดภ ัย
 Transfers (ลุก จากที่น อนได้ หรือ จากเตีย งไปยังเก้า อี้) 15 = เดินหรือเคลือนทีได้เอง
0 = ไม่ส ามารถนัง่ ได้(นัง่ แล้ว จะล้ม เสมอ) หรือ ต้อ งใช้ค น  Stairs
สองคนช่ว ยกัน ยกขึน้ 0 = ไม่สามารถทําได้
5 = ต้อ งการความช่ว ยเหลือ อย่า งมากจึงจะนัง่ ได้ เช่น ต้อ งยก ใช้ค นที่แ ข็งแรงห 5 = ต้องการคนช่วยเหลือ
มีทกั ษะ 1 คนหรือ ใช้ค นทัวไป2 ่ 10 = ขึนลงได้เอง(ถ้าต้องใชเ้ ครืองช่วยเดิน เช่นwalker
คนพยุง หรือ ดัน ขึน้ มาจึงจะนัง่ ได้ จะต้องเอาขึนลงได้ดว้ ย)
10 = ต้อ งการความช่ว ยเหลือ บ้า ง เช่น บอกให้ทาํ ตาม  TOTAL (0–100):_____
หรือ ช่ว ยพยุงเล็ก น้ อ ยหรือ ต้อ งมีค นดูแ ล เพื่อ ความปลอดภัย
15 = ทํา ได้เอง

13
Summary
 Neurologic deficit stroke scale (NIHSS); บอกseverity ของ
stroke และสัม พัน ธ์ก บั outcome สามารถวัด ความเปลี่ย นแปลง
ของผูป้ ่ วยเพีย งเล็ก น้ อ ยได้
 The functional outcome scale (MRS, BI); ดู ADL และ
independent
 Scaleที่ใ ช้ม ากคือ NIHSS และ MRS.
 แต่ล ะscore มีข ้อ เสีย ดังนัน ้ ควรcombine กัน

14

You might also like