221634-Article Text-719537-1-10-20191016

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 13

วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2559

Journal of Health and Health Management Vol. 3 No.1 January-April 2016

พลาสติกชีวภาพจากพืชทางการเกษตรต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
Bioplastics from Agricultural Crops to Health and Environment
ศริศักดิ์ สุนทรไชย, วท.ด. (โภชนศาสตร์พิษวิทยา) *
สุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์, วท.ม. (สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความปลอดภัย)*
ภัทรมาส โตสิงห์, วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม)**
Sarisak Soontornchai, D.Sc. (Nutrition Toxicology),
Sudaw Lertwisuttipaiboon, Ms.C. (Industrial Hygiene and Safety),
Pattaramas Tosing, Ms.C. (Industrial Environment Management)

บทคัดย่อ
ขยะพลาสติกปิโตรเลียมทั่วโลกมีผลกระทบต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อม และเกิดภาวะเรือนกระจก ภาครัฐจึงได้
ก�ำหนดแผนทีน่ ำ� ทางแห่งชาติ พ.ศ.2551-2565 ให้ทำ� การศึกษาและพัฒนาพลาสติกชีวภาพจากพืชทางการเกษตรเพือ่
รองรับความต้องการพลาสติกชีวภาพจากพืชทางการเกษตรทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ผลการศึกษาพบว่า ประเทศไทยมีศกั ยภาพการ
ผลิตวัตถุดิบของพลาสติกชีวภาพจากพืชทางการเกษตร 3 อันดับแรก คือ มันส�ำปะหลัง อ้อย และข้าวโพด มีความ
ต้องการชนิดของพลาสติกชีวภาพจากพืชทางการเกษตร 5 ชนิดแรก คือ พอลิแลคติกแอซิด พอลิไฮดรอกซีอลั คาโนเอต
พอลิบิวทิลีนซัคซิเนต แป้งมันส�ำปะหลัง และพอลิบิวทิลีน อะดิเปตโคเทอเรพทาเรต ซึ่งพลาสติกชีวภาพแต่ละชนิดมี
คุณสมบัติแตกต่างกัน เพื่อน�ำไปผลิตผลิตภัณฑ์ให้เหมาะสมต่อการใช้งาน วิธีการย่อยสลายส่วนใหญ่ใช้การฝังกลบ
ต้ อ งอยู ่ ใ นสภาวะที่ เ หมาะสมจึ ง เกิ ด การย่ อ ยสลาย ระยะเวลาการย่ อ ยสลาย 60-180 วั น พลาสติ ก ชี ว ภาพ
ทั้ง 5 ชนิด ไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อม และลดภาวะเรือนกระจก ปัจจุบันมีการศึกษาพลาสติกชีวภาพชนิด
พอลิแลคติกแอซิดมากกว่าชนิดอื่น ควรเพิ่มการศึกษาพลาสติกชีวภาพจากพืชทางการเกษตรอีก 4 ชนิด และให้ความ
ส�ำคัญต่อการศึกษาเรื่องการประเมินผลกระทบทางสุขภาพและสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับขยะของพลาสติกชีวภาพชนิด
พอลิบิวทิลีนซัคซิเนตจากพืชทางการเกษตร

ค�ำส�ำคัญ: พลาสติกชีวภาพ พืชทางการเกษตร ประเภทของพลาสติกชีวภาพ

* รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี


** พนักงานบริษัท เสริมทรัพย์ไพศาล กรุ๊ป 1999 จ�ำกัด แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร

24
26
วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2559
Journal of Health and Health Management Vol. 3 No.1 January-April 2016

Abstract
Petroleum plastic wastes in the world affect health and environment, particularly, greenhouse
effect. Therefore, the Government has been formulating the National Road Map of bioplastics for the
year 2008-2022 in order to study and develop bioplastics from agricultural crops for keeping pace
with increasing demand of them. The research results indicated that Thailand has production
potential of bioplastics from the first top 3 ranking plants including Cassava, sugar cane, and corn.
Thus, demand of the top 5 bioplastics comprising polylactic acid (PLA), polyhydroxyalkanoate (PHA),
polybutylene succinate (PBS), starch, and polybutylene adipate -co- terephthalate (PBAT) are crucial.
Each bioplastics has different properties in making products suitably for utilization. Bioplastics are
mainly biodecomposed by landfill with appropriate conditions with biodecompostable duration of
60-180 days. These 5 bioplastics had no health and environment effects as well as reduction of
greenhouse effect. Nowadays, polylactic acid bioplastics has been studied more than the other 4
Bioplastics. Therefore, the researches of the rest bioplastics are needed with focusing on health
and environmental impact assessment about bioplastic wastes of polybutylene succinate from
agricultural crops.

Keywords: bioplastics, agricultural crops, bioplastics type

บทน�ำ
หลายคนอาจยั ง ไม่ ท ราบถึ ง ความหมายของ กายภาพ (Mechanism degradation) เช่น การบีบอัด
พลาสติกชีวภาพ พิฑูร ตรีวิจิตรเกษม (2553) ให้ความ การบดทับ เป็นต้น 2) การแตกสลายทางเคมี (Chemical
หมายพลาสติกชีวภาพ 2 ความหมาย คือ 1) พลาสติก degradation) เช่น การใช้ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชัน (Oxidative
ชี ว ภาพที่ ย ่ อ ยสลายแบบย่ อ ยสลายทางชี ว ภาพ degradation) การใช้ปฏิกริ ยิ าแสง (Photo degradation)
(Compostable plastics) หมายถึง พลาสติกชีวภาพผลิต และการใช้ปฏิกิริยาน�้ำ (Hydrolytic Degradation)
จากวัตถุดิบปิโตรเลียมหรือพืช ใช้การย่อยสลายทาง เป็นต้น และ 3) การย่อยสลายทางชีวภาพ (Biodegradable)
ชีวภาพ (compostable) โดยใช้จุลินทรีย์ปล่อยเอนไซม์ การใช้จลุ นิ ทรียก์ นิ เศษหรือผงพลาสติก เมือ่ จุลนิ ทรียต์ าย
ออกมาย่อยสลายผนังเซลล์และโมเลกุลพันธะภายในของ หรือถูกย่อยสลาย จะท�ำให้เศษหรือผงพลาสติกหลุดออกมา
พลาสติก ซึง่ ก�ำจัดพลาสติกชีวภาพได้หมด ไม่มผี ลกระทบ กรณีเป็นพลาสติกชีวภาพผลิตจากวัตถุดิบปิโตรเลียม
ต่อสุขภาพและสิง่ แวดล้อม และ 2) พลาสติกชีวภาพทีย่ อ่ ย ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพและสิง่ แวดล้อมได้ เนือ่ งจาก
สลายแบบการแตกสลาย (Degradable plastic) หมายถึง เศษหรือผงพลาสติกถูกก�ำจัดไม่หมด
พลาสติกชีวภาพผลิตจากวัตถุดิบปิโตรเลียมหรือพืช ใช้ ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
การแตกสลาย 3 แบบ ได้แก่ 1) การแตกสลายทาง (2553) และสมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย

25
27
วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2559
Journal of Health and Health Management Vol. 3 No.1 January-April 2016

(2557) ได้กล่าวว่า พลาสติกชีวภาพมี 2 ความหมาย คือ มีปริมาณ 2.7 ล้านตัน หรือเฉลีย่ 7,000 ตัน/วัน (องค์การ
1) พลาสติกชีวภาพทีย่ อ่ ยสลายแบบย่อยสลายทางชีวภาพ บริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน), 2558)
(Compostable plastic) หมายถึง พลาสติกชีวภาพผลิต หรือเฉลีย่ 100 กิโลกรัม/คน/ปี ขยะพลาสติกปิโตรเลียม
จากวัตถุดบิ ปิโตรเลียมหรือพืช เมือ่ ย่อยสลายทางชีวภาพ สามารถแปรรูปน�ำกลับมาหมุนเวียนใช้ใหม่ (recycle)
เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (C2O) และน�้ำ (H2O) ใน 5 ล้านตัน หรือร้อยละสูงสุด 30 ส่วนร้อยละ 70 น�ำไป
ปริมาณทีส่ มดุลต่อบรรยากาศ และมวลชีวภาพสามารถน�ำ ก�ำจัดแบบฝังกลบและเผาท�ำลาย ซึ่งมีการก�ำจัดไม่ถูกวิธี
ไปเพาะปลูกได้ ไม่มีสารพิษ ไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพและ 13.5 ล้านตัน และก�ำจัดถูกวิธี 8 ล้านตัน (ส�ำนักงาน
สิง่ แวดล้อม และ 2) พลาสติกชีวภาพทีย่ อ่ ยสลายแบบย่อย นวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน), 2553; องค์การ
สลายไม่ได้ทางชีวภาพ (Non-compostable plastics) บริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน), 2558)
หมายถึง พลาสติกชีวภาพผลิตจากวัตถุดิบพืชเท่านั้น การก�ำจัดขยะพลาสติกปิโตรเลียมแบบฝังกลบ
ใช้การแตกสลายและการย่อยสลายร่วมกัน พบว่า ย่อยสลายยาก ใช้ระยะเวลาย่อยสลาย 350-450 ปี
จากความหมายของพลาสติกชีวภาพดังกล่าวจะ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (กรม
เห็นได้วา่ พลาสติกชีวภาพผลิตจากวัตถุดบิ 2 ประเภท คือ ควบคุมมลพิษ, 2555) ดินเสื่อมคุณภาพ จึงน�ำมาก�ำจัด
1. วัตถุดิบจากปิโตรเลียม (Petroleum-based) ด้วยการเผา เทคโนโลยีการเผามีการลงทุนสูงและค่า
เช่น น�้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน เป็นต้น ใช้จา่ ยสูง กรณีระบบบ�ำบัดอากาศไม่มปี ระสิทธิภาพ จะก่อ
2. วัตถุดิบจากพืชทางการเกษตร (Bio-based) ให้เกิดมลพิษทางอากาศ เป็นอันตรายต่อสุขภาพ อาจก่อ
2.1 พอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide) ได้แก่ ให้เกิดโรคมะเร็ง (ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
น�ำ้ ตาล และแป้ง มีโมเลกุลเล็ก เปลีย่ นจากมอนอเมอร์เป็น เทคโนโลยีแห่งชาติ, 2557) เกิดก๊าซเรือนกระจก ได้แก่
พอลิเมอร์ได้ง่าย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน ทีก่ อ่ ให้เกิดภาวะเรือน
2.2 ลิกโนเซลลูโลสิก (Lignocellulosic) เช่น กระจกและโลกร้ อ น (ส� ำ นั ก งานนวั ต กรรมแห่ ง ชาติ
กากมันส�ำปะหลัง ชานอ้อย ใยสัปปะรด ฟางข้าว และ (องค์การมหาชน), 2553) ซึ่งประเทศไทยพบว่า มีการ
เปลือกข้าว เป็นต้น มีเส้นใยมาก ขนาดโมเลกุลใหญ่ ปลดปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกเป็ น ล� ำ ดั บ 24 ของโลก
เปลี่ยนมอนอเมอร์เป็นพอลิเมอร์ยาก มีคุณสมบัติเหนียว (องค์ ก ารบริ ห ารจั ด การก๊ า ซเรื อ นกระจก (องค์ ก าร
และทนต่อการขาด มหาชน), 2558)
2.3 ไขมันและโปรตีนจากเมล็ดพืช มีคุณสมบัติ มีการศึกษาพลาสติกชีวภาพจากพืชทางการเกษตร
น�ำ้ ซึมผ่านยาก การย่อยสลายทางชีวภาพยากกว่าพอลิแซ็ก ของต่างประเทศ และประเทศไทยน�ำผลการศึกษาของต่าง
คาไรด์และลิกโนเซลลูโลสิก ประเทศมาศึกษา ผลการศึกษาประเด็นด้านผลกระทบทาง
พลาสติกชีวภาพเกิดจากการผสมระหว่างวัตถุดิบ สุขภาพและสิง่ แวดล้อมไม่แตกต่างกัน พบว่า ใช้ระยะเวลา
ปิโตรเลียมและพืชทางการเกษตร หรือระหว่างวัตถุดิบพืช การย่อยสลาย 2-6 เดือน มีค่าด�ำเนินการและค่าใช้จ่าย
ทางการเกษตรด้วยกัน เพือ่ ให้ผลิตภัณฑ์มคี ณุ สมบัตเิ หมาะ ต�่ำ ลดปัญหาขยะปิโตรเลียม ไม่เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ
สมต่อความต้องการใช้งานและย่อยสลายง่าย ปัจจุบัน และสิ่งแวดล้อม และลดก๊าซเรือนกระจกร้อยละ 20
มีการน�ำพลาสติกชีวภาพทดแทนพลาสติกปิโตรเลียม (ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน), 2553)
เนื่องจากปัญหาขยะพลาสติกและโฟมท�ำจากปิโตรเลียม ในอนาคตคาดการณ์ความต้องการใช้พลาสติกชีวภาพของ

26
28
วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2559
Journal of Health and Health Management Vol. 3 No.1 January-April 2016

ประเทศไทยและทั่วโลกสูงขึ้น 3 เท่า ใน พ.ศ.2563 คาดการณ์แนวโน้มความต้องการพลาสติกชีวภาพของ


(ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, ตลาดโลก ตัง้ แต่ พ.ศ. 2546-2563 (ค.ศ. 2003-2020)
2557) และสมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (ดังภาพที่ 1)

ภาพรวมของพลาสติกชีวภาพในตลาดโลก

Unspecifile
S.America 7%
Asia 1% Europe
Pasific Europe S.America
1% Europe Asia 37% 18% 26%
25% Pasific
USA 29% USA Asia-Pasific USA
74% 33% 19% 30%

2003 2007 2020


0.10 ล้านตัน 0.36 ล้านตัน 3.45 ล้านตัน
(โดยประมาณ)
ภาพที่ 1 แนวโน้มความต้องการพลาสติกชีวภาพของตลาดโลก ตั้งแต่ พ.ศ. 2546-2563
ที่มา: สมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย (2557: 31)

ภาครัฐก�าหนดแผนที่น�าทางแห่งชาติ ตั้งแต่ พ.ศ. อุตสาหกรรม, ม.ป.ป.) โดยพืชทางการเกษตรแต่ละชนิด


2551-2556 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาพลาสติก ผลิตพลาสติกชีวภาพแตกต่างชนิด เนื่องจากโครงสร้าง
ชีวภาพ พัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ เนื่องจาก โมเลกุลทางกายภาพและทางเคมีตา่ งกัน จึงก�าหนดสัดส่วน
ประเทศไทยสามารถผลิตวัตถุดิบของพลาสติกชีวภาพมา ความต้องการพลาสติกชีวภาพจากพืชทางการเกษตร 5
จากพืชทางการเกษตร 3 อันดับแรก ได้แก่ มันส�าปะหลัง ชนิดแรก คือ พอลิแลคติกแอซิด (Polylactic acid, PLA)
29.6 ล้านตันต่อปี เป็นอันดับ 1 ของโลก อ้อย 103.3 ร้อยละ 66.7 พอลิไฮดรอกซีอลั -คาโนเอต (Polyhydroxy-
ล้านตันต่อปี เป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากประเทศบราซิล alkanoate, PHA) ร้อยละ 11.3 พอลิบิวทิลีนซัคซิเนต
(สุรลี กั ษณ์ รอดทอง, จันทิมา ดีประเสริฐกุล, และนพรัตน์ (Polybutylene succinate, PBS) ร้อยละ 10.2 แป้งมัน
พฤกษ์ทวีศักดิ์, 2556; ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ ส� า ปะหลั ง (starch) ร้ อ ยละ 8.7 และพอลิ บิ ว ทิ ลี น
เทคโนโลยีแห่งชาติ, 2557) และข้าวโพด ร้อยละ 80-90 อะดิ เ ปตโคเทอเรพทาเรต (Polybutylene adipate
ส่งออกให้ต่างประเทศผลิตพลาสติกชีวภาพชนิดพอลิแลค -co-terephthalate; PBAT) ร้อยละ 3.1 (ดังภาพที่ 2)
ติกแอซิด ส่วนร้อยละ 10-20 ผลิตพลาสติกชีวภาพชนิด (วันทนีย์ จองค�า, 2556)
พอลิ แ ลคติ ก แอซิ ด ในประเทศไทย (กรมส่ ง เสริ ม

27
29
วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2559
Journal of Health and Health Management Vol. 3 No.1 January-April 2016

Starch
PHA 8.7%
11.3%

PBAT
3.1%

PLA
PBS 66.7%
10.2%

ภาพที่ 2 สัดส่วนความต้องการพลาสติกชีวภาพ 5 อันดับแรกของประเทศไทย


ที่มา: วันทนีย์ จองค�ำ (2556: 8)

จากนโยบายและความต้องการพลาสติกชีวภาพ โนเอต 3) พอลิบวิ ทิลนี ซัคซิเนต 4) แป้งมันส�ำปะหลัง และ


จากพืชทางการเกษตรของประเทศไทยดังข้อมูลข้างต้น 5) พอลิบิวทีลีน อะดิเปตโคเทอเรพทาเรต ซึ่งสามารถ
ผูเ้ ขียนได้ศกึ ษาและรวบรวมผลการศึกษาเกีย่ วกับพลาสติก เปรี ย บเที ย บวั ต ถุ ดิ บ จากพื ช ทางการเกษตรที่ ใ ช้ ผ ลิ ต
ชี ว ภาพที่ ผ ลิ ต จากวั ต ถุ ดิ บ พื ช ทางการเกษตร 5 ชนิ ด พลาสติกชีวภาพ คุณสมบัติ ผลิตภัณฑ์ วิธีการและระยะ
ระหว่าง พ.ศ.2530 – 2558 ทีท่ ำ� การศึกษาในประเทศไทย เวลาการย่อยสลาย ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
ได้แก่ 1) พอลิแลคติกแอซิด 2) พอลิไฮดรอกซี-อัลคา ได้ (ดังตารางที่ 1)

28
30
ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบพลาสติกชีวภาพ 5 ชนิด
ชนิด พอลิแลคติกแอซิด พอลิไฮดรอก พอลิบิวทิลีนซัคซิเนต แป้งมันส�ำปะหลัง พอลิบิวทิลีน อะดิเปต
หัวข้อ ซีอัลคาโนเอต โคเทอเรพทาเรต
1. วัตถุดิบ - ข้าวโพดและมันส�ำปะหลัง - มันส�ำปะหลัง (สุขสมาน - อ้อย (ส�ำนักงานพัฒนา - มันส�ำปะหลัง (ส�ำนักงาน - ปิโตรเลียมผลิตจากบิว
(ส�ำนักงานพัฒนา สังโยคะ และคณะ, 2555; วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทนไดออล (Butanediol)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส�ำนักงานพัฒนา แห่งชาติ, 2553) เทคโนโลยีแห่งชาติ, 2557) (สถาบันพลาสติกชีวภาพ,
แห่งชาติ, 2557) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553) ส่วนชนิดของพืช
แห่งชาติ, 2557) ระบุไม่ชัดเจน

2.คุณสมบัติ 1. ใส แข็ง เปราะ และ - สีขาวขุน่ ไม่ทบึ แสง เหนียว 1. สีขาวขุ่น ทึบแสง ทนต่อ 1. สีขาว ทึบแสง ยืดหยุ่น - สีขาวขุ่น เหนียว และ
ยืดหยุ่นน้อย ไม่ทนต่อแรง ยืดหยุ่น ดัดงอได้ปานกลาง แรงกระแทก และทน ดัดงอได้ดี และดูดซับน�้ำ ยืดหยุ่นสูงมาก (สมาคม
กระแทก (อไพพรรณ รัตนพันธ์, ไม่ทนแรงกระแทก อุณหภูมิ 85-200 0C (สมศักดิ์ วรมงคลชัย, อุตสาหกรรมพลาสติก
2555; ชัยพฤกษ์ อาภาเวท,
ทนความร้อน 100-160 0C (ส�ำนักงานพัฒนา สุภาณี ชนะวงศ์, ภัทรภูมิ ชีวภาพไทย, 2557)
เจษฎา วงษ์ออ่ น, นที ศรสีวสัด,ิ์
แต่ไม่ทนต่อความเย็น ส่วนน�ำ้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สุพรรณสมบูรณ์, และ
และนรินทร กาบบัวทอง, 2556)
2. ทนต่ออุณหภูมิ 55-60 0C และก๊าซแพร่ผ่านได้ยาก แห่งชาติ, 2553; บริษทั พีทที ี กัญญาวีร์ สุวรรณชัย.,
(สมาคมอุตสาหกรรมพลาสติก (ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ เอ็มซีซี ไบโอเคม จ�ำกัด และ 2543; รัตนา ตันฑเทอดธรรม,
ชีวภาพไทย, 2557) (องค์การมหาชน), 2553) บริษทั คอนซัลแทนท์ ออฟ สุนีย์ โชตินีรนาท, และ
3. ทนกรดและด่าง pH 2.05-8.39 เทคโนโลยี จ�ำกัด, 2556) กล้าณรงค์ ศรีรอต., 2552)
(สุภา สกุลศิรริ ตั น์, นิสากร แซ่วนั , 2. เหนียว ยืดหยุ่นสูง และ 2. ทนต่อแรงกระแทก และ
และกฤษฎา กิตติโกวิทธนา, ดัดงอได้ดี (ชัยพฤกษ์ ทนต่อแรงดึง (บรรเลง
2556) อาภาเวท และคณะ, 2556) ศรนิล, ณรงค์ ผังวิวัฒน์,
4. น�้ำและก๊าซแพร่ผ่านได้ดี
3. น�้ำ น�้ำมัน ก๊าซแพร่ผ่าน และนฤมล เครือองอาจนุกลู ,
ส่วนน�้ำมันซึมผ่านได้ยาก
ยาก (สมาคมอุตสาหกรรม 2535)
(ธารา มานะงาน และ
พลาสติกชีวภาพไทย, 2557)
สริญญา ชวพันธ์, 2553)
Journal of Health and Health Management Vol. 3 No.1 January-April 2016
วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2559

29
31
ตารางที่ 1 (ต่อ)

30
32
ชนิด พอลิแลคติกแอซิด พอลิไฮดรอก พอลิบิวทิลีนซัคซิเนต แป้งมันส�ำปะหลัง พอลิบิวทิลีน อะดิเปต
หัวข้อ ซีอัลคาโนเอต โคเทอเรพทาเรต
3. ผลิตภัณฑ์ 1. ด้านการแพทย์ เช่น 1. ประโยชน์เช่นเดียวกับ 1. ประโยชน์เช่นเดียวกับ - ประโยชน์เช่นเดียวกับ - ประโยชน์เช่นเดียวกับ
ไหมเย็บแผล (sutures) ชนิด พอลิแลคติกแอซิด ชนิดพอลิแลคติกแอซิด ชนิด พอลิแลคติกแอซิด ชนิดพอลิแลคติกแอซิด
ตัวเย็บแผล (staples) 2. ด้านอื่นๆ เช่น สารยึดติด มีคุณสมบัติเหมาะผลิตถุง และเหมาะสม เพื่อปรับปรุง มีคณ
ุ สมบัตเิ หมาะแก่การผลิต
วัสดุปิดแผล (wound สารเคลือบผิว สารยึด พลาสติกสีด�ำใส่ขยะอินทรีย์ คุณสมบัติของทั้งพลาสติก ฟิล์มพลาสติกมากกว่าอีก
dressing) อุปกรณ์ฝังใน ประสานส�ำหรับผงโลหะและ เพื่อน�ำไปฝังกลบมากกว่าอีก ชีวภาพจากปิโตรเลียมและ 4 ชนิด (สมาคมอุตสาหกรรม
ร่างกาย (surgical เซรามิก สารตั้งต้นผลิตสาร 4 ชนิด (ส�ำนักงานนวัตกรรม พลาสติกชีวภาพจากพืช พลาสติกชีวภาพไทย, 2557)
implants) อุปกรณ์ใช้ยึด เคมีพิเศษ (specialty แห่งชาติ (องค์การมหาชน), ทางการเกษตร (ส�ำนักงาน
กระดูก (orthopedic chemicals) เป็นต้น 2554) และเหมาะผสม พัฒนาวิทยาศาสตร์และ
fixation devices) และ (ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ ปรับปรุงคุณสมบัติชนิด เทคโนโลยีแห่งชาติ, 2557)
วัสดุน�ำพาหรือปลดปล่อย (องค์การมหาชน), 2553) พอลิแลคติกแอซิด (ชัยพฤกษ์
ตัวยา เป็นต้น อาภาเวท และคณะ, 2556;
วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2559
Journal of Health and Health Management Vol. 3 No.1 January-April 2016

2. ด้านการเกษตร เช่น สมาคมอุตสาหกรรม


ภาชนะต้นไม้ ขวดใส่ยาฆ่า พลาสติกชีวภาพไทย,
วัชพืช และ ถุงใส่ปุ๋ย เป็นต้น 2557)
3. ด้านบรรจุภณ ั ฑ์ เช่น 2. ความต้องการผลิตภัณฑ์
บรรจุภัณฑ์ เครื่องส�ำอาง พอลิแลคติคแอซิดสูงขึ้น
ภาชนะบรรจุอาหาร น�้ำ จึงสร้างอุตสาหกรรมผลิต
ถุงพลาสติก กล่องโฟม พลาสติกชีวภาพชนิด
ฟิล์มห่ออาหาร เม็ดโฟมกัน พอลิบิวทิลีนซัคซิเนตจากพืช
กระแทก และสารเคลือบ ทางการเกษตร
ภาชนะกระดาษ เป็นต้น
ตารางที่ 1 (ต่อ)
ชนิด พอลิแลคติกแอซิด พอลิไฮดรอก พอลิบิวทิลีนซัคซิเนต แป้งมันส�ำปะหลัง พอลิบิวทิลีน อะดิเปต
หัวข้อ ซีอัลคาโนเอต โคเทอเรพทาเร
3. ผลิตภัณฑ์ 4. ด้านเส้นใยและแผ่นผ้า เมื่อ พ.ศ. 2557 และสร้าง
(ต่อ) เช่น ผ้าอนามัย ผ้าอ้อม แล้วเสร็จกลางปี พ.ศ.
ส�ำเร็จรูป เสื้อผ้า และเส้นใย 2558 (บริษัท พีทีที เอ็มซีซี
เครื่องนอน เป็นต้น ไบโอเคม จ�ำกัด และบริษัท
5. ด้านยานยนต์ เช่น คอนซัลแทนท์ ออฟ
อุปกรณ์ลดแรงกระแทก เทคโนโลยี จ�ำกัด, 2556)
(Bumpers) แผ่นรองพืน้
(Floor mats) และอุปกรณ์
ตกแต่งภายใน เป็นต้น
6. ด้านอิเล็กทรอนิกส์
และการสื่อสาร เช่น
ชิ้นส่วนประกอบของ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ ชิ้นส่วน
ประกอบของคอมพิวเตอร์
แผ่นซีดี และสายไฟ เป็นต้น
7. ด้านอืน่ ๆ เช่น อุปกรณ์
เครือ่ งเขียน บัตรพลาสติกใส
สารใช้เคลือบกระดาษ
สารยึดติด และท่อพลาสติก
เป็นต้น (ส�ำนักงานนวัตกรรม
แห่งชาติ (องค์การมหาชน),
Journal of Health and Health Management Vol. 3 No.1 January-April 2016
วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2559

31
33
2553)
ตารางที่ 1 (ต่อ)

34
32
ชนิด พอลิแลคติกแอซิด พอลิไฮดรอก พอลิบิวทิลีนซัคซิเนต แป้งมันส�ำปะหลัง พอลิบิวทิลีน อะดิเปต
หัวข้อ ซีอัลคาโนเอต โคเทอเรพทาเร
4. วิธีการ 1. ปฏิกิริยาน�้ำหรือไฮโดร - ฝังกลบ มีการศึกษา 1. ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส - ฝังกลบ มีการศึกษาร่วม - ฝังกลบ จากการศึกษาไม่
และระยะ ไลซิส (ส�ำนักงานพัฒนา อนุพนั ธ์ของพอลิไฮดรอกซี- (ส�ำนักงานพัฒนา กับพลาสติกชีวภาพชนิดอื่น พบข้อมูลรายละเอียดอื่น
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลาย่อย แห่งชาติ, 2557) อัลคาโนเอต คือ พอลิ- วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ได้ น�ำแป้งมันส�ำปะหลัง
สลาย 2. ฝังกลบ ไฮดรอกซีบิวทิเรต แห่งชาติ, 2557) ผสม เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติ
2.1 ความลึกการฝังดิน (Polyhydroxy butyrate, 2. ฝังกลบ พบว่า เกิดการย่อยสลาย
5-40 ซม. ดินร่วนหรือดิน PHB) จ�ำนวนมาก แต่ไม่พบ 2.1 ดินที่ใช้เพาะปลูกพืช ทางชีวภาพเร็วขึ้น (บรรเลง
ร่วนปนทราย pH ด่าง 6.94
-7.97 (สุรีย์รัตน์ บัวชื่น, ข้อมูลการศึกษาพอลิไฮดรอก ทั่วไป ไม่ระบุชนิดของดิน ศรนิล และคณะ, 2535;
วิภา หอมหวน, และอัญชนา ซีอัลคาโนเอต ไม่ใช้ออกซิเจนที่อุณหภูมิ เก่งพงศ์ กิจเกตุ และ
พัฒนสุพงษ์, 2553) 55-67 0C (วราภรณ์ วรวิทย์ ดาน�้ำค�ำ, 2547;
2.2 อุณหภูมิ 50-60 0C จันทาสี, ชาญวิทย์ โฆษิตานนท์ กนกอร แซ่ลิ้ม และธนิดา
ขึ้นไป (กล้าณรงค์ ศรีรอต,
และธนาวดี ลี้จากภัย, ตระกูลสุจริตโชค, 2552)
วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2559
Journal of Health and Health Management Vol. 3 No.1 January-April 2016

เกื้อกูล ปิยะจอมขวัญ, สุนีย์


โชตินีรนาท, รังสิมา ชลคุป, 2557) และย่อยสลายได้เร็วกว่า
และอ�ำนาจ เจรีรัตน์ะ; 2.2 ชนิดของจุลินทรีย์ พลาสติกชีวภาพที่ไม่ได้ฝัง
สุรีย์รัตน์ บัวชื่น, วิภา เช่น AT-7 (กล้าณรงค์ ศรีรอต กลบ โดยใช้ระยะเวลาย่อย
หอมหวน, และอัญชนา
พัฒนสุพงษ์, 2553) และคณะ, 2542) และ สลาย 3-4 เดือน (บรรเลง
2.3 ไม่เติมยูเรีย มีปริมาณ Saccharothrix sp.APL5 ศรนิล และคณะ, 2535)
ก๊าซ O2 CO2 N2 และความ (JN-387600.1) (ลักษมี
ชืน้ ทีเ่ หมาะสม จากการศึกษา ศุกระกาญจนะ, 2556)
ข้อมูลไม่ได้ระบุตวั เลขที่
เหมาะสม (สาธินี ศิรวิ ฒั น์, เป็นต้น
ชาญวิทย์ โฆษิตตานนท์,
และธนาวดี ลีจ้ ากภัย, 2553)
2.4 ระยะเวลา 60-180
ตารางที่ 1 (ต่อ)
ชนิด พอลิแลคติกแอซิด พอลิไฮดรอก พอลิบิวทิลีนซัคซิเนต แป้งมันส�ำปะหลัง พอลิบิวทิลีน อะดิเปต
หัวข้อ ซีอัลคาโนเอต โคเทอเรพทาเรต
4. วิธีการ วัน (สุรีย์รัตน์ บัวชื่น และ
และระยะ คณะ, 2553; สาธินี
ศิริวัฒน์ และคณะ, 2553)
เวลาย่อย 2.5 ชนิดของจุลนิ ทรีย์
สลาย (ต่อ) เช่น รา แอคติโนไมซีส
(อ�ำนาจ เจรีรตั น์, ม.ป.ป.)
Saccharothrix sp.APL5
(JN-387600.1) (ลักษมี
ศุกระกาญจนะ, 2556)
AT-7 (กล้าณรงค์ ศรีรอต
และคณะ, 2542)
Pseudonocardia-alni AS4.
1531T, Saccharothrix
MY1 และ Streptomyces
KMT1 (เมธิญา กลกิจ,
วสุ ปฐมอารีย,์ และอ�ำนาจ
เจรีรตั น์, 2555) เป็นต้น

5. ผล - ปริมาณการปล่อยก๊าซ - จากการรวบรวมผลการศึกษา พบว่า พลาสติกชีวภาพจากพืชทางการเกษตรไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม


กระทบ เรือนกระจก 1.3 kg CO2/kg ลดภาวะเรือนกระจกร้อยละ 20 แต่ระบุผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมไม่ชัดเจน ได้แก่ พลาสติกชีวภาพชนิดใดที่
ต่อสุขภาพ polymer และพลังงานที่ใช้ ไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ไม่ก่อให้เกิดโรคใดบ้าง ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งเเวดล้อมด้านใด พลาสติกชีวภาพ
และ ปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก แต่ละชนิดมีปริมาณพลังงานการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกและลดภาวะเรือนกระจกได้ร้อยละเท่าใด
สิ่งแวดล้อม 42 MJ/kg polymer
(สมาคมอุตสาหกรรม
Journal of Health and Health Management Vol. 3 No.1 January-April 2016
วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2559

33
35
พลาสติกชีวภาพไทย, 2557)
วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2559
Journal of Health and Health Management Vol. 3 No.1 January-April 2016

จากตารางที่ 1 พบว่า ประเทศไทยมีศักยภาพผลิตวัตถุดิบ บทสรุป


ของพลาสติกชีวภาพจากพืชทางการเกษตร 3 อันดับแรก ปั จ จุ บั น มี ก ารศึ ก ษาพลาสติ ก ชี ว ภาพชนิ ด พอลิ
คือ มันส�ำปะหลัง อ้อย และข้าวโพด มีความต้องการชนิด แลคติกแอซิดมากกว่าชนิดอื่น ในอนาคตควรเพิ่มการ
ของพลาสติกชีวภาพจากพืชทางการเกษตร 5 ชนิดแรก ศึกษาพลาสติกชีวภาพจากพืชทางการเกษตรอีก 4 ชนิด
คื อ พอลิ แ ลคติ ก แอซิ ด พอลิ ไ ฮดรอกซี อั ล คาโนเอต ได้แก่ พอลิไฮดรอกซีอัลคาโนเอต พอลิบิวทิลีนซัคซิเนต
พอลิบวิ ทิลนี ซัคซิเนต แป้งมันส�ำปะหลัง และพอลิบวิ ทีลนี แป้งมันส�ำปะหลัง และพอลิบวิ ทีลนี อะดิเปตโคเทอเรพทาเรต
อะดิเปตโคเทอเรพทาเรต ซึง่ แต่ละชนิดมีคณ ุ สมบัตแิ ตกต่าง เกี่ยวกับเรื่องวัตถุดิบ คุณสมบัติ ผลิตภัณฑ์ วิธีการและ
กัน และน�ำไปผลิตผลิตภัณฑ์ให้เหมาะสมต่อการใช้งาน ระยะเวลาการย่อยสลาย และผลกระทบต่อสุขภาพและ
วิธกี ารย่อยสลายส่วนใหญ่ใช้การฝังกลบ ต้องอยูใ่ นสภาวะ สิ่งแวดล้อม และให้ความส�ำคัญต่อการศึกษาเรื่องการ
ทีเ่ หมาะสมจึงเกิดการย่อยสลาย ได้แก่ ลักษณะดิน ความ ประเมินผลกระทบทางสุขภาพและสิง่ แวดล้อมเกีย่ วกับขยะ
ลึ ก การฝั ง ดิ น อุ ณ หภู มิ ความชื้ น ปริ ม าณออกซิ เ จน ของพลาสติกชีวภาพชนิดพอลิบิวทิลีนซัคซิเนตจากพืช
คาร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน ค่ากรด-ด่าง ชนิดจุลนิ ทรีย์ ทางการเกษตร
จ�ำนวนและชนิดของพลาสติกทีผ่ สม ระยะเวลาการย่อยสลาย
60-180 วัน พลาสติกชีวภาพทั้ง 5 ชนิด ไม่มีผลกระทบ บรรณานุกรม
เรื่องสุขภาพ สิ่งแวดล้อม และลดภาวะเรือนกระจก กนกอร แซ่ลมิ้ , และธนิดา ตระกูลสุจริตโชค. (2552). การ
อย่ า งไรก็ ต าม จากข้ อ มู ล ทางวิ ช าการของ ปรับปรุงพอลิเมอร์ผสมที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ
ประเทศไทยและต่ า งประเทศคาดการณ์ ว ่ า จ� ำ นวน จากพอลิแลคไทด์และแป้งมันส�ำปะหลัง (ปริญญา
อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพที่เพิ่มขึ้น จะส่งผลให้เกิด วิทยาศาสตรบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
ปริมาณขยะพลาสติกชีวภาพเพิ่มขึ้น 3 เท่า ใน พ.ศ.2563 กรมควบคุมมลพิษ. (2555). ปัญหาสิง่ แวดล้อมจากขยะ
(สุรีลักษณ์ รอดทอง และคณะ, 2556; ส�ำนักงานพัฒนา มูลฝอย. สืบค้นจาก http://www.pcd.go.th/info_
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2557) ปัจจุบันมี serv/waste_rubbish.htm
การสร้างอุตสาหกรรมผลิตเม็ดพลาสติกชีวภาพจากพืช กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2551). Process Management.
ทางการเกษตรชนิ ด พอลิ บิ ว ลี น ซั ค ซิ เ นตแห่ ง แรกของ วารสาร Productivity World เพื่อการเพิ่ม
ประเทศไทยและของโลก เมื่อ พ.ศ.2557 และสร้าง ผลผลิต, 13(72), น. 89-93.
แล้วเสร็จเมื่อกลางปี พ.ศ.2558 (บริษัท พีทีที เอ็มซีซี กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (ม.ป.ป.). ข่าวสาร Bioplastic.
ไบโอเคม จ� ำ กั ด และบริ ษั ท คอนซั ล แทนท์ ออฟ สืบค้นจาก http://library.dip.go.th/Industrial%20
เทคโนโลยี จ�ำกัด, 2556) จึงควรให้ความส�ำคัญต่อการ Innovation/www/innonew0-02.html
ศึ ก ษาเรื่ อ งการประเมิ น ผลกระทบทางสุ ข ภาพและ กล้ า ณรงค์ ศรี ร อต, เกื้ อ กู ล ปิ ย ะจอมขวั ญ , สุ นี ย ์
สิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับขยะของพลาสติกชีวภาพชนิดพอลิ โชตินรี นาท, รังสิมา ชลคุป, และอ�ำนาจ เจรีรตั น์.
บิ ว ทิ ลี น ซั ค ซิ เ นตจากพื ช ทางการเกษตร เนื่ อ งจาก (2542). การย่อยสลายทางชีวภาพของพอลิเมอร์
ในอนาคตพลาสติ ก ชี ว ภาพชนิ ด พอลิ บิ ว ทิ ลี น ซั ค ซิ เ นต โดยเชือ้ จุลนิ ทรียท์ ดสอบ ทีแ่ ยกจากตัวอย่างดินใน
จะมีจ�ำนวนมากขึ้น ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

34
36
วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2559
Journal of Health and Health Management Vol. 3 No.1 January-April 2016

เก่งพงศ์ กิจเกตุ และวรวิทย์ ดาน�ำ้ ค�ำ. (2547). พลาสติก วัสดุเชิงประกอบของพอลิโพรพิลีนและพอลิบิวทิ


ย่อยสลายจากแป้งผสมพอลิเอสเทอร์ (ปริญญา ลีนซัคซิเนตกับกากมันส�ำปะหลัง. ในการประชุมทาง
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัย วิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47
รังสิต. ประจ�ำปี 2552. (น. 440-448). กรุงเทพฯ:
ชัยพฤกษ์ อาภาเวท, เจษฎา วงษ์ออ่ น, นที ศรสีวสัด,ิ์ และ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.
นรินทร กาบบัวทอง. (2556). การศึกษาการ ลักษมี ศุกระกาญจนะ. (2556). การคัดแยกและศึกษา
ปรับปรุงสมบัตคิ วามเหนียวของ PLA ด้วยการผสม คุ ณ สมบั ติ เ ชื้ อ แอคติ โ นมั ย สึ ท ที่ ส ามารถผลิ ต
กับ PBS. ใน การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรม เอนไซม์ยอ่ ยสลายพลาสติกชีวภาพ (ปริญญาวิทยา
อุตสาหการประจ�ำปี 2554. (น. 1429-1423). ศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
นครนายก: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ศรีนครินทรวิโรฒ.
ธัญบุรี. วราภรณ์ จันทาสี, ชาญวิทย์ โฆษิตานนท์, และธนาวดี
ธารา มานะงาน, และสริญญา ชวพันธ์. (2553). การเคลือบ ลีจ้ ากภัย. (2557). การย่อยสลายของพลาสติก
กระดาษชานอ้อยด้วย PHB และ PLA ส�ำหรับ ชนิด Polybutylene Succinate (PBS) ในอาหาร
บรรจุ ภั ณ ฑ์ อ าหารที่ ย ่ อ ยสลายได้ . กรุ ง เทพฯ: เหลวด้วยแบคทีเรียที่คัดแยกจากหลุมฝังกลบขยะ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. (รายงานการวิ จั ย ). กรุ ง เทพฯ: จุ ฬ าลงกรณ์
บรรเลง ศรนิล, ณรงค์ ผังวิวฒั น์, และนฤมล เครือองอาจ มหาวิทยาลัย.
นุกูล. (2535). การศึกษาผลของการเติมแป้ง วันทนีย์ จองค�ำ. (2556). โครงการอุตสาหกรรมพลาสติก
ลงในพลาสติ ก เพื่ อ การย่ อ ยสลายทางชี ว ภาพ ชีวภาพ. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ
(รายงานการวิ จั ย ). กรุ ง เทพฯ: มหาวิ ท ยาลั ย (องค์การมหาชน).
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. สุขสมาน สังโยคะ, อลิศรา เรืองแสง, และณัฐพร ภูมิภักดิ์.
บริษัท พีทีที เอ็มซีซี ไบโอเคม จ�ำกัด, และบริษัท คอนซัล (2555). การผลิตพอลิไฮดรอกซีแอลคาโนเอต
แทนท์ ออฟ เทคโนโลยี จ�ำกัด. (2556). รายงาน (PHA) จากน�้ ำ ทิ้ ง โรงงานแป้ ง มั น ส� ำ ปะหลั ง
การวิเคราะห์ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (รายงานวิจัย). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
โครงการผลิตพลาสติกชีวภาพชนิดพอลิบิวทิลีน- พิบูลสงคราม.
ซัคซิเนตหรือพีบเี อส. ระยอง: พีทที ี เอ็มซีซี ไบโอเคม. สถาบันพลาสติกชีวภาพ. (2553). แนวโน้มอุตสาหกรรม
พิฑูร ตรีวิจิตรเกษม. (2553) มารู้จักพลาสติกชีวภาพ พลาสติกชีวภาพในประเทศไทย. วารสาร Plastics
กันเถอะ. วารสาร Plastics Foresight, 2(2), น. 1-6. Foresight, 2(8), น. 12-21.
เมธิญา กลกิจ, วสุ ปฐมอารีย์, และอ�ำนาจ เจรีรัตน์. สมศักดิ์ วรมงคลชัย, สุภาณี ชนะวงศ์, ภัทรภูมิ สุพรรณ
(2555). การแยกและการคัดกรองแอกติโนมัยซีสต์ สมบูรณ์, และกัญญาวีร์ สุวรรณชัย. (2543).
ที่ย่อยสลายพอลิแลกไทด์ (ปริญญาวิทยาศาสตร พอลิเมอร์ผสมระหว่างพอลิโอลิฟินส์ที่ใช้แล้วกับ
มหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. แป้งมันส�ำปะหลัง. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยี
รัตนา ตันฑเทอดธรรม, สุนยี ์ โชตินรี นาท, และกล้าณรงค์ พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
ศรีรอต. (2552). การเตรียมและสมบัตเิ ชิงกลของ สมาคมอุ ต สาหกรรมพลาสติ ก ชี ว ภาพไทย. (2557).

35
37
วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2559
Journal of Health and Health Management Vol. 3 No.1 January-April 2016

Bioplastics: Plastics for a Sustainable Choice ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.


ในเอกสารประกอบค�ำบรรยายการสัมมนาเรื่อง (2557). พลาสติกชีวภาพ...โอกาสการลงทุนของไทย.
พลาสติกชีวภาพ: ทางเลือกที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สืบค้นจาก http://www.nstda.or.th/news/
ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. 17716-plastic
สุภา สกุลศิรริ ตั น์, นิสากร แซ่วนั , และกฤษฎา กิตติโกวิทธนา. ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2553).
(2556). การพั ฒ นาบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ งส� ำอาง แผนที่น�ำทางแห่งชาติ การพัฒนาอุตสาหกรรม
ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจากพอลิแลคติกแอซิด พลาสติกชีวภาพ ระยะที่ 2 (พ.ศ.2554-2558).
(ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). เชียงราย: กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การ
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง. มหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สาธินี ศิริวัฒน์, ชาญวิทย์ โฆษิตตานนท์, และธนาวดี ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวง
ลีจ้ ากภัย. (2553). การย่อยสลายทางชีวภาพของ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.ส�ำนักงานนวัตกรรม
บรรจุภณ ั ฑ์ชนิดพอลิแลคติกแอซิดและเยือ่ ชานอ้อย แห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2554). โครงการ
(ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: น�ำร่องการใช้ถุงขยะพลาสติกชีวภาพ PBS ในการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คัดแยกขยะอินทรีย์เพื่อผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ณ เกาะ
สุรยี ร์ ตั น์ บัวชืน่ , วิภา หอมหวน, และอัญชนา พัฒนสุพงษ์. เสม็ ด . สื บ ค้ น จาก http://www.nia.or.th/
(2553). การย่อยสลายพลาสติกชีวภาพในดิน organic/books/14_1.pdf.
ที่เก็บในแต่ละภูมิภาคของไทย: สมบัติทางเคมีและ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน).
กายภาพของดิ น . ปทุ ม ธานี : สถาบั น วิ จั ย (2558). ประเทศไทยมีปริมาณขยะพลาสติก และ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. โฟมมากถึง 2.7 ล้านตัน ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของ
สุรีลักษณ์ รอดทอง, จันทิมา ดีประเสริฐกุล, และนพรัตน์ ภาวะโลกร้อน. สืบค้นจาก http://ghg. 361tgo.
พฤกษ์ทวีศักดิ์. (2556). รายงานสรุปข้อมูลด้าน or.th
เทคโนโลยีและแนวโน้มการตลาด และวิเคราะห์ อ ไพพรรณ รัตนพันธ์. (2555). สมบัตทิ างกล และสัณฐาน
เทคโนโลยีเพือ่ เชือ่ มโยงกับงานวิจยั . ในงานประชุม วิทยาของพลาสติก PLA ผสมผงอนุภาคนาโนเคลย์.
สัมมนาและแสดงนิทรรศการด้านพลาสติกชีวภาพ กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโลยีพระจอมเกล้า
ระดับนานาชาติ InnoBioPlast 2013. กรุงเทพฯ: พระนครเหนือ.
ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน). อ�ำนาจ เจรีรตั น์. (ม.ป.ป.). การพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ เร่ง
ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. การย่อยสลายของพลาสติกชีวภาพด้วยจุลินทรีย์.
(2553). คู ่ มื อ การเรี ย นรู ้ นิ ท รรศการสั ญ จร กาญจนบุรี: ส�ำนักวิชาสหวิทยาการ มหาวิทยาลัย
ปิโตรเลียมสู่แชมป์ปิโตร. กรุงเทพฯ: บริษัท ปตท. มหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี.
จ�ำกัด (มหาชน).

36
38

You might also like