เมฆ d

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 46

รายงานวิจัย

การเปรียบเทียบปริมาณเมฆ ชนิดของเมฆและอุณหภูมิอากาศ
บริเวณประติมากรรมไม้มะหาด
ตำบลปากน้ำ และหาดนพรัตน์ธารา ตำบลอ่าวนาง จังหวัด
กระบี่

คณะผู้วิจัย

1. เด็กหญิงธนัชพร อภิรติธรรม ม.2/9


เลขที่ 22
2. เด็กหญิงพรชนิตว์ ทองสุข ม.2/9 เลข
ที่ 30
3. เด็กหญิงภูริชญา เสนกุล ม.2/9 เลข
ที่ 33

คุณครูที่ปรึกษา

ครูกมลพรรณ เอ่งล่อง
โรงเรียนอำมาตย์พานิชณุกูล
อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่

รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์โลกทัง้ ระบบ รหัส


วิชา ว 20207
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565
คำนำ

รายงานฉบับนีจ
้ ัดทำขึน
้ เพื่อประกอบการเรียนวิชา
วิทยาศาสตร์โลกทัง้ ระบบ (ว 20207) โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้
จัดทำได้ฝึกการศึกษาค้นคว้า การใช้เครื่องมือตรวจวัดสิง่ แวดล้อม
และนำสิ่งที่ได้ศึกษาค้นคว้ามาสร้างเป็ นชิน
้ งานเก็บไว้เป็ น
ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนของตนเองและครูต่อไป
ทัง้ นี ้ เนื้อหาได้รวบรวมมาจากหนังสือแบบเรียน
วิทยาศาสตร์และจากหนังสือคู่มือการเรียนอีกหลายเล่ม ขอ
ขอบพระคุณครูกมลพรรณ เอ่งล่อง อย่างสูงที่กรุณาตรวจ ให้คำ
แนะนำ
เพื่อแก้ไข ให้ข้อเสนอแนะตลอดการทำงาน ผู้จัดทำหวังว่า
รายงานฉบับนีค
้ งมีประโยชน์ต่อผู้ที่นำไปใช้ให้เกิดผลตามความ
คาดหวัง

คณะผู้จัดทำ

ด.ญ.ภูริชญา เสนกุล
ด.ญ.ธนัชพร อภิรติธรรม

ด.ญ.พรชนิตว์ ทองสุข

บทคัดย่อ

ชื่องานวิจัย : การเปรียบเทียบปริมาณเมฆ ชนิดของเมฆและ


อุณหภูมิบริเวณประติมากรรมไม้มะหาด
ตำบลปากน้ำและหาดนพรัตน์ธารา ตำบลอ่าวนาง จังหวัด
กระบี่
คณะผู้วิจัย : เด็กหญิงธนัชพร อภิรติธรรม เลขที่ 20
เด็กหญิงพรชนิตว์ ทองสุข เลขที่ 30
เด็กหญิงภูริชญา เสนกุล เลขที่ 33
ระดับชัน
้ : มัธยมศึกษาปี ที่ 2/9
ครูที่ปรึกษา : คุณครูกมลพรรณ เอ่งล่อง
โรงเรียน : อำมาตย์พานิชณุกล

การเปรียบเทียบปริมาณเมฆ ชนิดเมฆและอุณหภูมิอากาศ
บริเวณประติมากรรมไม้มะหาด ตำบลปากน้ำ และหาดนพรัตน์ธารา
ตำบลอ่าวนาง จังหวัดกระบี่ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบปริมาณเมฆ
ชนิดเมฆและอุณหภูมิของอากาศ โดยมีวิธีการดำเนินงาน ดังนี ้ การวัด
ปริมาณเมฆปกคลุมบนท้องฟ้ า 1) จัดเตรียมอุปกรณ์เพื่อตรวจวัด 2) กาง
แขนชิดติดกัน 4 มุม ให้ได้เป็ นวงกลมเพื่อตรวจเป็ นสี่มุม 3) มองบนฟ้ า
และถ่ายภาพเพื่อนำมาปริมาณและชนิดของเมฆเพื่อนำมาเปรียบเทียบให้
ชัดเจน 4) พิจารณาจากภาพว่าเป็ นเมฆชนิดใดและปริมาณเมฆเป็ น
เปอร์เซ็นต์ 5) นำปริมาณเมฆของทัง้ 4 มารวมกันและหารด้วย 4 จะได้
ค่าเฉลี่ย ต่อจากนัน
้ วิธีการวัดอุณหภูมิทำได้โดย 1) จัดเตรียม
เทอร์โมมิเตอร์ 2) วัดอุณหภูมิของบริเวณที่หาปริมาณเมฆ และชนิดเมฆ

สรุปได้ว่า สถานที่แตกต่างกันปริมาณเมฆ ชนิดเมฆ และอุณหภูมิของ


อากาศก็แตกต่างกันตามสถานที่นน
ั ้ และอุณหภูมิของอากาศก็สง่ ผลต่อ
ชนิดเมฆและปริมาณเมฆนัน
้ เช่นกัน

คำสำคัญ : ปริมาณเมฆ,เมฆ,อุณหภูมิ,เทอร์โมมิเตอร์,ชนิดเมฆ

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจัยนีส
้ ำเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากคุณครูกมลพรรณ เอ่ง
ล่อง คุณครูที่ปรึกษาที่ให้ข้อเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนถึงแก้ไขข้อ
บกพร่องต่าง ๆ มาโดยตลอดจนรายงานวิจัยเล่มนีส
้ ำเร็จ
เสร็จสมบูรณ์ คณะผู้จัดทำจึงขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสูง
ขอขอบคุณครูวีรวิชญ์ ที่ให้ความอนุเคราะห์ในการให้ยืมเครื่องมือ
และคำแนะนำในการใช้เครื่องมือ
ขอขอบคุณผู้ปกครอง ที่ให้คำปรึกษาในเรื่องต่างๆและช่วย
สนับสนุนการทำโครงงาน รวมทัง้ เป็ นกำลังใจที่ดีเสมอมา
คณะผู้จัดทำขอขอบคุณเพื่อน ๆ ที่ให้การสนับสนุน เอื้อเฟื้ อและให้
ความอนุเคราะห์ช่วยเหลือ จนกระทั่งโครงงานวิทยาศาสตร์โลกทัง้ ระบบ
กลุ่มสำเร็จ ลุล่วงได้ด้วยดี
สารบัญ

เนื้อหา
หน้า บทคัดย่อ

กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
บทที่1 บทนำ
1.1 ที่มาและความสำคัญ
1
1.2 คำถามวิจัย
1
1.3 สมมติฐานการวิจัย
1 1.4 วัตถุประสงค์ของงานวิจัย
1
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
2
1.6 ขอบเขตการศึกษา
2

บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง

2.1 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
4
2.1.1 ลักษณะของเมฆ
4
2.1.2 ชนิดเมฆ
4-7
2.1.3 การพยากรณ์อากาศ
8

2.1.4 อุณหภูมิอากาศ
8

2.1.5 เครื่องมือที่ใช้สำหรับวัดอุณหภูมิ
9

2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
10

บทที่3 การวางแผนงานวิจัย

3.1 จุดศึกษา
11

3.2 วัสดุอุปกรณ์
11

3.3 วิธีดำเนินงาน
11-12
3.4 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล
12

บทที่4 ผลการทดลองผลการศึกษา

4.1 ผลการตรวจวัดปริมาณเมฆ ชนิดเมฆ และอุณหภูมิอากาศ ครัง้


ที่1 27/08/2565 13

4.2 ชนิดเมฆบริเวณประติมากรรมไม้มะหาดและหาดนพรัตน์ธารา
ครัง้ ที่1 27/08/2565 14

4.3 ผลการตรวจวัดปริมาณเมฆ ชนิดเมฆ และอุณหภูมิอากาศ ครัง้


ที่2 03/09/2565 15

4.4 ชนิดเมฆบริเวณประติมากรรมไม้มะหาดและหาดนพรัตนธารา
ครัง้ ที่2 03/09/2565 16

4.5 กราฟผลการตรวจปริมาณเมฆ อุณหภูมิและชนิดเมฆ ครัง้ ที่1


17

4.6 กราฟผลการตรวจปริมาณเมฆ อุณหภูมิและชนิดเมฆ ครัง้ ที่2


17

บทที่5 สรุปและอภิปรายผล

สรุปและอภิปรายผล
18

ประโยชน์ที่ได้รับ
18
ข้อเสนอแนะ
19
สารบัญตาราง

ตารางที่
หน้า
4.1 ผลการตรวจปริมาณเมฆ อุณหภูมิและชนิดเมฆ ครัง้ ที่1
27/08/2565 13

4.2 ชนิดเมฆบริเวณประติมากรรมไม้มะหาดและหาดนพรัตน์
ธาราครัง้ ที่1 27/08/2565 14

4.3 ผลการตรวจปริมาณเมฆ อุณหภูมิและชนิดเมฆ ครัง้ ที่2


03/09/2565 15

4.4 ชนิด เมฆบริเ วณประติม ากรรมไม้ม ะหาดและหาดนพรัต น์


ธาราครัง้ ที่2 03/09/2565 16

4.5 กราฟผลการตรวจปริมาณเมฆ อุณหภูมิและชนิดเมฆ ครัง้ ที่1


17

4.6 กราฟผลการตรวจปริมาณเมฆ อุณหภูมิและชนิดเมฆ ครัง้ ที่2


17
สารบัญภาพ

ภาพที่
หน้า
1.1 แผนที่หาดนพรัตน์ในเขต อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู่เกาะ
พีพี 2
1.2 แผนที่ประติมากรรมไม้มะหาด เขาขนาบน้ำ จ.กระบี่
3
2.1 ชนิดเมฆต่างๆ
4
2.2 เมฆเซอรัส
5
2.3 เมฆเซอโรคิวมูลัส
5
2.4 เมฆเซอโรสเตรตัส
5
2.5 เมฆอัลโตคิวมูลัส
6
2.6 เมฆอัลโตสเตรตัส
6
2.7 เมฆสเตรตัส
6
2.8 เมฆสเตรโตคิวมูลัส
7

2.9 เมฆคิวมูลัส
7

2.10 เมฆคิวมูโลนิมบัส 7

2.11 ภาพตารางการพยากรณ์อากาศ
8

2.12 เทอร์โฒมิเตอร์
9
1

บทที่ 1

บทนำ

1.1 ที่มาและความสำคัญ

เมฆเกิดจากการรวมตัวหรือเกาะกลุ่มของไอน้ำลอยตัวกันอยู่ในชัน

บรรยากาศที่สามารถมองเห็นได้ เมฆจะเกิดการควบแน่นและตกลงมาเป็ นฝน
ละอองน้ำ และเกล็ดน้ำแข็ง เมื่อรังสีจากดวงอาทิตย์ส่องลงมายังโลก ทำให้บริเวณ
ต่าง ๆ บนผิวโลกได้รับความร้อนไม่เท่ากัน พื้นน้ำบนโลกได้รับความร้อน จะระเหย
กลายเป็ นไอน้ำ ลอยขึน
้ ไปบนท้องฟ้ า เมื่อลอยขึน
้ ไปกระทบกับอากาศเย็นใน
บรรยากาศชัน
้ บน เกิดการกลั่นตัวเป็ นละอองไอน้ำเล็ก ๆ และรวมตัวกันเป็ นกลุ่ม
ก้อน ลอยสูงขึน
้ บนท้องฟ้ า เรียกว่า เมฆ สภาพอากาศที่มีการเปลี่ยนแปลงทำให้
เกิดการดำเนินชีวิตได้ไม่สะดวกในบางครัง้ เช่น เกิดฝนตกในขณะเดินทางอาจเกิด
อุบัติเหตุ จึงเป็ นเหตุเล็งเห็นถึงความสำคัญในการเรียนรู้การปรับตัวให้เข้ากับสภาพ
อากาศ
การศึกษาเกี่ยวกับเมฆสามารถทำได้โดยศึกษา ชนิดเมฆสามารถทำได้โดย
ศึกษา ชนิดเมฆซึ่งเกิดขึน
้ ในธรรมชาติมี 2 รูปร่างลักษณะคือ เมฆก้อน และเมฆแผ่น
เราเรียกเมฆก้อนว่า “เมฆคิวมูลัส” และเรียกเมฆแผ่นว่า “เมฆสเตรตัสปริมาณของ
เมฆเช่น ท้องฟ้ าแจ่มใส ท้องฟ้ าไม่มีเมฆหรือมีแต่น้อยกว่า 1 สีของเมฆในวันที่
อากาศแจ่มใส จะเห็นเมฆเป็ นสีขาวซึ่งสามารถใช้เป็ นข้อมูลในการนำไปใช้เป็ นการ
พยากรณ์
คณะผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาเกี่ยวกับเมฆ โดยศึกษาปริมาณเมฆชนิดของเมฆและ
อุณหภูมิ ของอากาศบริเวณหาดนพรัตน์ธารา ตำบลอ่าวนางและประติมากรรมไม้
มหาด ตำบลปากน้ำ ซึ่งข้อมูลในครัง้ นีส
้ ามารถนำไปใช้ในการพยากรณ์อากาศหรือ
กำหนดแนวทางในการใช้ชีวิตประจำวัน

1.2 คำถามวิจัย
1.2.1 ปริมาณเมฆบริเวณปติมากรรมไม้มหาด ตำบลปากน้ำและหาดนพรัตน์
2

ธาราตำบลอ่าวนางแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร
1.2.2 ชนิดเมฆบริเวณไม้มะหาดกับอ่าวนางแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร
1.2.3 อุณหภูมิอากาศบริเวณไม้มะหาดกับอ่าวนางแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร
1.2.4 ในช่วงเวลาที่ต่างกันปริมาณเมฆ,ชนิดเมฆ,อุณภูมิของอากาศบริเวณไม้
มะหาดและอ่าวนางแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร

1.3 สมมติฐานการวิจัย
1.3.1 ปริมาณเมฆบริเวณปติมากรรมไม้มหาด ตำบลปากน้ำและหาดนพรัตน์
ธารา ตำบลอ่าวนาง มีค่าเฉลี่ยแตกต่างกัน
1.3.2 ในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน ปริมาณเมฆ ชนิดเมฆ และอุณหภูมิอากาศต่างกัน

1.3.3 อุณหภูมิบริเวณปติมากรรมไม้มหาด ตำบลปากน้ำและหาดนพรัตน์ธารา


ตำบลอ่าวนางแตกต่างกัน
3

1.4 วัตถุประสงค์

1.4.1 เพื่อเปรียบเทียบปริมาณเมฆ,อุณหภูมิ,ชนิดเมฆบริเวณไม้มหาดและ
บริเวณอ่าวนาง

1.4.2 เพื่อเปรียบเทียบ ปริมาณเมฆ,ชนิดเมฆ,อุณหภูมิอากาศในช่วงเวลาที่ต่าง


กัน

1.4.3 เพื่อใช้ในการพยากรณ์อากาศบริเวณไม้มหาดกับอ่าวนาง

1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1.5.1 ได้ทราบชนิดเมฆของแต่ละบริเวณ

1.5.2 เป็ นแนวทางในการพยากรณ์อากาศ

1.5.3 ได้รับความสามัคคี ช่วยเหลือกัน

1.5.4 ได้ทราบการใช้เทอร์โมมิเตอร์

1.6 ขอบเขตงานวิจัย

1.6.1 เขตพื้นที่ศึกษา

บริเวณ ตำบลอ่าวนาง หาดนพรัตน์ในเข อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-


หมู่เกาะพีพี และ ตำบล ปากน้ำ อำเภอเมืองกระบี่ กระบี่ 81000
ประติมากรรมไม้มะหาด เขาขนาบน้ำ จ.กระบี่ ตัง้ อยู่ลานริมแม่น้ำกระบี่ ถัด
จากอนุสาวรีย์ปูดำประมาณ 500 เมตร
4

ภาพที่ 1.2 แผนที่ประติมากรรมไม้มะหาด เขาขนาบน้ำ จ.กระบี่

1.6.2 ปั จจัยเกี่ยวข้องที่ต้องศึกษาตรวจวัด
1) ปริมาณของเมฆ
2) ชนิดของเมฆ
3) อุณหภูมิอากาศ

1.6.3 ช่วงเวลาที่ทำงานวิจัย
เวลา 12.00 และ 15.00 ของ วันที่ 27 สิงหาคม 2565 และ วันที่ 3
กันยายน 2565
5

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1 เอกสาร

2.1.1 ลักษณะเมฆ ลักษณะก้อนเมฆ แบ่งออกเป็ น 2 แบบ คือ "เมฆแบบก้อน"


จะเรียกว่า เมฆคิวมูลัส (Cumulus) และ "เมฆแบบแผ่น" จะเรียกว่า เมฆสตราตัส
(Stratus) ซึ่งหากเมฆทัง้ 2 แบบลอยมาติดกัน จะเรียกว่า เมฆสตราโตคิวมูลัส
(Stratocumulus) เมฆสามารถแบ่งประเภทได้ตามระดับความสูง ประกอบด้วย 3
กลุ่ม คือ

2.1.1.1 กลุ่มเมฆชัน
้ ต่ำ ระดับความสูงของฐานเมฆต่ำกว่า 2,000 เมตร หรือ 6,500
ฟุต

2.1.1.2 เมฆชัน
้ กลาง ระดับความสูงของฐานเมฆอยู่ที่ 2,000-6,000 เมตร หรือ
6,500-25,000 ฟุต

2.1.1.3 เมฆชัน
้ สูง ระดับความสูงของฐานเมฆตัง้ แต่ 6,000 เมตรขึน
้ ไป หรือ 20,000
ฟุตขึน
้ ไป

2.1.2 ชนิดเมฆ
6

ภาพที่ 2.1 เมฆชนิดต่าง ๆ


ที่มา https://www.scimath.org/lesson-earthscience/item/11242-2019-12-
19-07-25-37

เมฆสามารถแบ่งประเภทได้ตามระดับความสูง ประกอบด้วย 3 กลุ่ม คือ

2.1.2.1 กลุ่มเมฆชัน
้ ต่ำ ระดับความสูงของฐานเมฆต่ำกว่า 2,000 เมตร หรือ 6,500
ฟุต

2.1.2.2 เมฆชัน
้ กลาง ระดับความสูงของฐานเมฆอยู่ที่ 2,000-6,000 เมตร หรือ
6,500-25,000 ฟุต

2.1.2.3 เมฆชัน
้ สูง ระดับความสูงของฐานเมฆตัง้ แต่ 6,000 เมตรขึน
้ ไป หรือ 20,000
ฟุตขึน
้ ไป
7

เมฆชัน
้ สูง

1) เมฆเซอรัส หรือซีร์รัส ลักษณะเป็ นเส้นใยละเอียดสีขาว คล้ายปุยขนสัตว์หรือ


เหลือมเป็ นมันเงา เกิดขึน
้ เป็ นหย่อมหรือแถบก็ได้ แต่จะไม่มีเงาเมฆ เมฆชนิดนีอ
้ าจ
ทำให้เกิดปรากฏการณ์วงแสงรอบดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์ แต่ยังไม่เต็มวง

ภาพที่ 2.2 เมฆเซอรัส


ที่มา http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/cloud

2)เมฆเซอโรคิวมูลัส หรือซีร์โรคิวมูลัส ลักษณะเป็ นหย่อม แผ่น หรือชัน


้ บางๆ สีขาว
คล้ายเมฆก้อนเล็กๆเมฆชนิดนีอ
้ าจทำให้เกิดปรากฏการณ์วงแสงรอบดวงอาทิตย์หรือ
ดวงจันทร์ทรงกลด และปรากฏการณ์แถบสี หรือรุ้ง

ภาพที่2.3 เมฆเซอโรคิวมูลัส หรือซีร์โรคิวมูลัส

ที่มา http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/cloud

3)เมฆเซอโรสเตรตัส หรือซีร์โรสเตรตัส ลักษณะโปร่งแสงคล้ายม่านบางๆ สีขาว


หรือปุยขนสัตว์ สามารถมองเห็นขอบดวงอาทิตย์ผ่านเมฆนีไ้ ด้อย่างชัดเจน ไม่มีเงา
เมฆ และทำให้เกิดปรากฏการณ์วงแสงรอบดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์ทรงกลด
8

ภาพที่2.4 เมฆเซอโรสเตรตัส หรือซีร์โรสเตรตัส

ที่มา http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/cloud
9

เมฆชัน
้ กลาง

1)อัลโตคิวมูลัส ลักษณะเป็ นก้อนเล็กๆ เป็ นหย่อม แผ่น หรือชัน


้ คล้ายเกล็ด ก้อน
กลมหรือม้วน มีทงั ้ สีเทาหรือทัง้ สองสี บางครัง้ อาจเห็นคล้ายปุยหรือฝ้ า ซึ่งประกอบ
ด้วยละอองน้ำจำนวนมาก มักทำให้เกิดปรากฏการณ์วงแสงรอบดวงอาทิตย์หรือดวง
จันทร์ทรงกลด

ภาพที่2.5 เมฆอัลโตคิวมูลัส

ที่มา http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/cloud

2)อัลโตสเตรตัส มีลักษณะเป็ นปุย แผ่น หรือเนื้อเดียวกัน พบได้ทงั ้ สีเทาหรือสีฟ้า


อ่อน อาจทำให้เมื่อมองดวงอาทิตย์จะเห็นได้แบบสลัวๆ เหมือนมองผ่านกระจกฝ้ า
อาจทำให้เกิดฝน หิมะ หรือลูกปรายน้ำแข็ง

ภาพที่ 2.6 เมฆอัลโตสเตรตัส

ที่มา http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/cloud

เมฆชัน
้ ต่ำ
10

1)เมฆสเตรตัส หรือสตราตัส ลักษณะเป็ นแผ่นบาง สีเทา


ลอยเหนือพื้นไม่มากนักเกิด ขึน
้ ช่วงเช้า หรือหลังฝนตก
และอาจทำให้เกิดฝนละออง ขึน
้ ได้

ภาพที่2.7 เมฆสเตรตัสหรือสตราตัส

ที่มา http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/cloud

2)เมฆสเตรโตคิวมูลัส หรือสตราโตคิวมูลัส ทำให้เกิดฝนตกเล็กน้อยมักเกิดขึน


้ ใน
เวลาที่อากาศไม่ดี ลักษณะเป็ นก้อนลอยติดกันเป็ นแพ ไม่มีรูปทรงที่ชัดเจน มีช่อง
ว่างระหว่างก้อนเล็กน้อย สีเทาหรือค่อนข้างขาว

ภาพที่2.8 เมฆสเตรโตคิวมูลัส หรือสตราโตคิวมูลัส

ที่มา http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/cloud

3)เมฆคิวมูลัส ลักษณะปุกปุย ก่อต่อในแนวตัง้ สีขาว ซึ่งอาจทำให้เกิดปรากฏการณ์


ทรงกลดและรุ้งได้
11

ภาพที่2.9 เมฆคิวมูลัส

ที่มา http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/cloud

4)เมฆคิวมูโลนิมบัส หรือเมฆฝนฟ้ าคะนอง ทำให้เกิดฝนฟ้ าคะนอง ฝนตกหนัก ลม


กระโชกแรง หรือมีลูกเห็บ เป็ นเมฆที่มีขนาดใหญ่มาก ก้อนใหญ่ หนาทึบ

ภาพที่2.10 เมฆคิวมูโลนิมบัส

ที่มา http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/cloud
12

2.1.3 การพยากรณ์อากาศ การคาดหมายสภาวะอากาศและปรากฏการณ์ทาง


ธรรมชาติ ที่จะเกิดขึน
้ ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต ส่วนมากจะเกี่ยวข้องกับ
สภาวะอากาศที่เกิดขึน
้ ใกล้ตัวเรา เช่นฝน อุณหภูมิ เมฆ หมอก คลื่นลม รวมทัง้ ภัย
ธรรมชาติที่รุนแรงและไม่รุนแรง

ภาพที่ 2.11 ตารางการพยากรณ์อากาศ

ที่มา https://www.scimath.org/article-science/item/7574-2017-10-17-02-
04-19

2.1.4 อุณหภูมิอากาศ คือ เป็ นปั จจัยพื้นฐานในการศึกษาสภาพอากาศอุณหภูมิ


อากาศแปรเปลี่ยนไปในแต่ละช่วงเวลา เช่น ปี ฤดูกาล เดือน วัน และแม้กระทั่งราย
ชั่วโมง อุปกรณ์ซึ่งใช้ในการวัดอุณหภูมิของอากาศ เรียกว่า เทอร์มอมิเตอร์เทอร์มอ
มิเตอร์ ที่ใช้ในการศึกษาสภาพอากาศ ซึ่งสามารถวัดค่าอุณหภูมิสูงสุดและต่ำสุดใน
รอบวันได้
13

2.1.5 เทอร์โมมิเตอร์คือ เครื่องมือที่ใช้สำหรับวัดอุณหภูมิ ซึ่งจะประกอบด้วยสอง


ส่วนสำคัญ ได้แก่ ส่วนตรวจวัดอุณหภูมิและส่วนแสดงผล ซึ่งจะแปลงผลการวัดออก
มาเป็ นค่าที่แสดงถึงอุณหภูมิ ของเทอร์โมมิเตอร์นน
ั ้ มีหลายชนิด แต่ที่เราคุ้นเคยกัน
ส่วนใหญ่แล้วจะเป็ นเทอร์โมมิเตอร์ ที่ประกอบด้วยกระเปาะของของเหลวดังรูปด้าน
บน การสร้างเทอร์มอมิเตอร์แบบนีน
้ น
ั ้ อาศัยคุณสมบัติของการขยายตัวของ
ของเหลวหรือแก๊ส เมื่ออุณหภูมิสูงขึน
้ และหดตัวเมื่ออุณหภูมิลดลงของเหลวที่บรรจุ
ในเทอร์โมมิเตอร์นัน
้ ส่วนใหญ่จะใช้ปรอทเพราะปรอทนำความร้อนได้ดี มีการขยาย
ตัว และหดตัวได้รวดเร็ว ทึบแสงและไม่เกาะข้างแก้ว แต่ปรอทเองก็มีข้อจำกัดใน
การใช้เช่นกัน คือ ผิวที่มันวาวของปรอททำให้มองเห็นได้ยาก แข็งตัวที่อุณหภูมิต่ำ
มากๆ และปรอทเป็ นสารพิษอาจเกิดอันตรายหากเทอร์โมมิเตอร์เกิดแตกหัก
ของเหลวชนิดอื่นที่มีการนำมาใช้แทนปรอท เช่น แอลกอฮอล์ ทัง้ นีเ้ นื่องจาก
แอลกอฮอล์สามารถใช้งานในที่อุณหภูมิต่ำมากๆได้ โดยที่ไม่แข็งตัว อีกทัง้
แอลกอฮอล์ขยายตัวได้ดีกว่าปรอทถึง 6 เท่า อย่างไรก็ตามไม่สามารถนำไปใช้ในที่
14

ซึ่งมีอุณหภูมิสูงๆได้

ภาพที่ 2.12 เทอโมมิเตอร์

ที่มา http://www.digitalschool.club/digitalschool/science1_2_2/
science3_1/page2.php
15

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

นายฐิติพันธุ์ สุวรรณมัย (พ.ศ.2555 บทคัดย่อ ) งานวิจัย เรื่อง ความสัมพันธ์


ของสภาพอากาศกับ เมฆประเภทต่า งๆสภาพอากาศกับ เมฆประเภทต่า งๆ มี
วัตถุประสงค์เพื่อสำรวจรูปร่างของเมฆประเภทต่างๆ ในช่วงเวลาและสถานที่ที่ท า
การศึกษาและศึกษาความสัมพันธ์ของสภาพอากาศกับการเกิดเมฆประเภทต่าง ๆใน
ช่วงเวลาและสถานที่ที่ทำการศึกษา

การศึกษารูปร่างของเมฆประเภทต่าง ๆ และความสัมพันธ์ของสภาพอากาศกับการ
เกิดเมฆประเภทต่าง ๆ ใช้วิธีการการบันทึกภาพ สถานที่ที่ใช้ในการศึกษาคือ บริเวณ
สนามฟุต บอลของโรงเรีย นในช่ว งเดือ นกัน ยายน – พฤศจิก ายน พ .ศ. 2555
เวลา 12.30 น. -13.00 น. เฉพาะวันจันทร์ –วันศุกร์ผลการศึกษาเมฆพบว่า เมฆคิว
มูล ัส เป็ นเมฆที่พ บในทัง้ 3 เดือ นจะพบในสภาพอากาศที่แ จ่ม ใส ท้อ งฟ้ าโปร่ง
อุณหภูมิของอากาศในช่วงนัน
้ ประมาณ 28 – 30 องศาเซลเซียส และเมฆสเตรตัส
เป็ นเมฆที่พบในเดือนพฤศจิกายน จะพบในสภาพอากาศไม่แจ่มใส แสงแดดจะถูก
เมฆชนิดนีบ
้ ัง อุณหภูมิ 27 – 30 องศาเซลเซียส

เด็ก หญิง โศภิษ ฐ์ช า หวายสัน เทีย ะ และ เด็ก หญิง ณัฐ ธิด า ชัย มณี
ตระกูล (พ.ศ.2551 บทคัด ย่อ ) เรื่อ ง การพยากรณ์อ ากาศจากการสัง เกตเมฆบน
ท้องฟ้ า บริเวณสนามหน้าโรงเรียนเมืองนครราชสีมา ได้มาจากการวิเคราะห์ปริมาณ
เมฆที่ป กคลุม ท้อ งฟ้ า ลัก ษณะรูป รางของเมฆ ปั จจัย ที่ท ำให้เ กิด เมฆและการ
เปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ในรอบเดือ นตัง้ แต่ว ัน ที่ 2 -30 มิถ ุนายนพ.ศ. 2551
เป็ นเวลา 21 วัน โดยวิธีการแบงท้องฟ้ าคิดเป็ น 100% แบงออกเป็ น 4 สวนๆ ละ
25 % และแปลผลตามเกณฑ์ก ารจัด ระดับ ปริม าณเมฆปกคลุม ท้อ งฟ้ าเทีย บ
ลัก ษณะรูป รางของเมฆที่เ กดกบแผนภาพเมฆจากศ ูน ย์ก ารเรีย นรู้โ ลกและ
ด า ร า ศ า ส ต ร ์ LESA(Learning Center for Earth Science and
Astronomy) และเกบรวบรวมข้อมูลด้วยการบันทึกภาพถายเมฆด้วยกล้องดิจิตอล
หาอุณ หภูมิแ ละความชื้น สัม พัท ธ์ จากเครื่อ งมือ เทอร์ม อมิเ ตอร์แ ละไฮโกรมิเ ตอร์
สํา รวจและสืบ ค้น ข้อ มูล สภาพอากาศจากกรมอุต ุน ิย มวิท ยา เพื่อ ประกอบการ
16

พยากรณ์อากาศพบวา - ในช่วงเช้า ระหว่า ง เวลา 08.00-09.00 น. มีปริมาณ


เมฆปกคลุมท้องฟ้ า 67.57 % พบเมฆชื่อสตราตัส เซอรัส เซอโรสตราตัส และอัล
โตสตราตัส มีอุณหภูมิและความชืนสัมพัทธ์ โดยเฉลี่ยเป็ น 30.57 ๐ C/ 64.04%
ตามลําดับ พยากรณ์ได้วาอากาศคอนข้างดี ท้องฟ้ าแจมใส มืดครึมบ้างในบางวัน
อุณ หภูม ิไ มร้อ นมาก และไมมีโ อกาสเกดฝน -ในชวงกลางวัน ระหวางเวลา
12.00-13.00 น. มีปริมาณเมฆปกคลุมท้องฟ้ า 78.38 % พบเมฆชื่อ คิวมูลัส ส
ตราโตคิวมูลัส อัลโตคิวมูลัส เซอโรคิวมูลัส มีอุณหภูมิและความชืนสัมพัทธ์ โดยเฉ
ลี่ยเป็ น 34.38 ๐ C/ 73.42 % ตามลํา ดับ พยากรณ์ได้วาอากาศคอนข้า งดี
ท้องฟ้ าแจมใส เริมมีเมฆกอตัวหลายชนิดมืดครึมบ้า งในบางวันอุณหภูม ิคอนข้า ง
ร้อน บางวันร้อนมาก บางวันร้อนอบอ้าวและมีโอกาสเกดฝนตกในบางวัน ในชวง
เย็น ระหว่า งเวลา 15.00-16.00 น. มีป ริม าณเมฆปกคลุม ท้อ งฟ้ า 86.19 %
พบเมฆ คิวมูลัส นิมโบสตราตัส สตราคิวมูลัส อัลโตคิวมูลัส อัลโตสตราตัส เซอโร
คิว มูล ัส เซอโรสตราตัส และเซอรัส มีอ ุณ หภูม ิแ ละความชืน สัม พัท ธ์ โดยเฉลี่ย
31.57 ๐ C/ 66.00% ตามลําดับ พยากรณ์ได้วาอากาศคอนข้างดี ท้องฟ้ าแจมใส
เริม มี เมฆกอตัว หลายชนิด เริ่ม มีเ มฆก่อ ตัว หนาแน่น มืด ครึม บ้า งในบางวัน
อุณหภูมิคอนข้างร้อน บางวันร้อนอบอ้าว และมีโอกาสเกดฝนตกได้มากคําสําคัญ
การพยากรณ์อากาศชวงเวลาการสังเกตเมฆชนิดของเมฆโครงการวิทยาศาสตร์โลก
ทังระบบโครงการวิทยาศาสตร์โลกทังระบบ– A102
17

บทที่ 3

การวางแผนงานวิจัย

3.1 จุดศึกษา

บริเวณ ตำบลอ่าวนาง หาดนพรัตน์ในเขต อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-


หมู่เกาะพีพี และตำบล ปากน้ำ อำเภอเมืองกระบี่ กระบี่ 81000 ประติมากรรมไม้
มะหาด เขาขนาบน้ำ จ.กระบี่ ตัง้ อยู่ลานริมแม่น้ำกระบี่ ถัดจากอนุสาวรีย์ปูดำ
ประมาณ 500 เมตร  

3.2 วัสดุและอุปกรณ์

3.2.1 สมุดจดบันทึก

3.2.2 โทรศัพท์

3.2.3.เทอร์โมมิเตอร์

3.3 วิธีการดำเนินการวิจัย

3.3.1 ขัน
้ ตอนในการดำเนินการวิจัย

3.3.1.1 ขัน
้ เตรียมวิจัย
1) ศึกษาเอกสารและรวบวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น ชนิดของเมฆ
อุณหภูมิที่มีผลต่อการเกิดเมฆ วิธีการวัดปริมาณเมฆ และวิธีการตรวจ
วัดอุณหภูมิ
2) การเลือกพื้นที่ศึกษา โดยพิจารณาถึงความสะดวกในการเก็บ
ตัวอย่าง

3.3.1.2 ขัน
้ ตอนดำเนินการวิจัย
1) ค้นคว้าข้อมูล
2) เตรียมการทดลอง(ออกแบบอุปกรณ์กำหนดพื้นที่ศึกษา และ
วางแผนเก็บตัวอย่าง)
18

3)ดำเนินการทดลอง

4)วิเคราะห์ข้อมูล

5)อภิปรายและสรุปผล

6)เขียนรายงานวิจัย

3.3.1.3 ขัน
้ วิเคราะห์และสรุปผลการทดลอง

1)เมฆมีหลากหลายชนิดซึ่งการเกิดก็จะแตกต่างกันไปตามแต่ละชนิด

2)อุณหภูมส่งผลต่อปริมาณของเมฆเป็ น ปั จจัยสำคัญที่สุดที่ทำให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในรอบวัน

3)อากาศร้อนมีความหนาแน่นต่ำกว่าอากาศเย็น เมื่ออากาศร้อนปะทะ
กับอากาศเย็น อากาศร้อนจะยกตัวขึน
้ และอุณหภูมิลดต่ำลงจนถึงระดับควบแน่น
ทำให้เกิดเมฆและฝน

3.4 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิ = ผลรวมของอุณหภูมิที่วัดได้ ÷ จำนวนการวัด

ค่าเฉลี่ยปริมาณเมฆ = ผลรวมของทัง้ สี่ ÷ 4


19

บทที่ 4

ผลการวิจัย

ในการตรวจวัดปริมาณเมฆ ชนิดเมฆและอุณหภูมิของเมฆ ในครัง้ นีท


้ ราบ
ชนิดเมฆแต่ละชนิดและนำมาเปรียบเทียบกับบริเวณไม้มะหาดและหาด
อ่าวนางเพื่อทราบว่ามีความแตกต่างกันอย่างไรและอุณหภูมินน
ั ้ มีผลต่อ
การเกิดชนิดเมฆอย่างไร คณะผู้จัดทำเลยสนใจที่จะทำการวิจัย

ตารางที่ 4.1 ผลการตรวจวัดปริมาณเมฆ ชนิดเมฆ และอุณหภูมิอากาศ


ครัง้ ที่1 27/08/2565

รายการที่ตรวจวัด

ปริมาณเมฆ (เปอร์เซ็นต์) อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

สถานที่ เวลา เวลา เฉลี่ย 12.00 15.00 เฉลี่ย


12.00 15.00
น.

ประติมาก 75 75 75 31 30 30.5
รรมไม้
มะหาด

หาด 30 76 53 29 29 29
20

นพรัตน์
ธารา

จากตารางที่4.1 พบว่า ในวันที่ 27 สิงหาคม 2656


บริเวณประติมากรรมไม้มะหาดมีปริมาณเมฆเฉลี่ยเท่ากับ 75 เปอร์เซ็นต์
อุณหภูมิอากาศเฉลี่ย เท่ากับ 30.5 องศาเซลเซียส และในบริเวณหาด
นพรัตน์ธารามีปริมาณเมฆเฉลี่ยเท่ากับ 53 เปอร์เซ็นต์ อุณหภูมิอากาศ
เฉลี่ย เท่ากับ 29 องศาเซลเซียส

.
21

ตารางที่ 4.2 ชนิดเมฆ บริเวณประติมากรรมไม้มะหาดและหาดนพรัตน


ธารา ครัง้ ที่1 27/08/2565

ชนิดเมฆ
สถานที่
12.00 น. 15.00 น.

ประติมากรรมไม้
สเตรโตคิวมูลัส อัลโตคิวมูลัส
มะหาด

สเตรโตคิวมูลัส นิมโบสเตรตัส
หาดนพรัตนธารา

จากตารางที่ พบว่า ในวันที่ 27 สิงหาคม 2565 บริเวณ


ประติมากรรมไม้มะหาดมีเมฆชนิด สเตรโตคิวมูลัสและอัลโตคิวมูลัส และ
บริเวณหาดนพรัตน์ธารามีเมฆชนิด สเตรโตคิวมูลัสและนิมโบสเตรตัส
22

ตาราง 4.3 ผลการตรวจวัดปริมาณเมฆ อุณหภูมิและชนิดเมฆ ครัง้ ที่2


03/09/65

03/09/2 วัดปริมาณเมฆ อุณหภูมิและชนิดของเมฆ


565

ปริมาณเมฆ อุณหภูมิ ชนิดเมฆ

(เปอร์เซ็นต์) (เซลเซียส)

12.0 15.00 เฉลี่ 12.0 15.00 เฉลี่ 12.00 15.00


0 ย 0 ย

ประติมา 70 25 47.5 31 29 30 คิวมูโลนิ คิวมูโลนิ


กรรมไม้ มบัส มบัส
มหาด

หาด 77 68 72.5 30 29 29.5 คิวมูโลนิ สเตรตัส


23

นพรัตน์ มบัส
ธารา

จากตารางที่ 4.2 พบว่าในวันที่ 3 กันยายน 2565 บริเวณ


ประติมากรรมไม้มะหาดมีปริมาณเมฆเฉลี่ย 47.5 เปอร์เซ็นต์ มีอณ
ุ หภูมิ
อากาศเฉลี่ย เท่ากับ 30 องศาเซลเซียส และในบริเวณหาดนพรัตน์ธารามี
ปริมาณเมฆเฉลี่ย 72.5 เปอร์เซ็นต์ มีอณ
ุ หภูมิอากาศฉลี่ย 29.5 องศา
เซลเซียส
24

ตาราง 4.4 ชนิดเมฆ บริเวณประติมากรรมไม้มะหาดและหาดนพรัตน


ธารา ครัง้ ที่2 03/09/65

ชนิดเมฆ
สถานที่
12.00 น. 15.00 น.

ประติมากรรมไม้
คิวมูโลนิมบัส คิวมูโลนิมบัส
มะหาด

หาดนพรัตน์ธารา คิวมูโลนิมบัส สเตรตัส

จากตารางที่ พบว่า ในวันที่ 3 กันยายน 2565 บริเวณ


ประติมากรรมไม้มะหาดมีเมฆชนิด คิวมูโลนิมบัสทัง้ สองเวลา และบริเวณ
หาดนพรัตน์ธารามีเมฆชนิด คิวมูโลนิมบัสและสเตรตัส
25

4.5 กราฟผลการตรวจปริมาณเมฆ อุณหภูมิและชนิดเมฆ ครัง้ ที่1

4.6 กราฟผลการตรวจปริมาณเมฆ อุณหภูมิอละชนิดเมฆ ครัง้ ที่2


26
27

บทที่ 5

สรุปและอภิปราย

สรุปและอภิปราย

1) วันที่27 สิงหาคม ปริมาณเมฆเฉลี่ย 75%สรุปได้ว่าบริเวณไม้มะหาดมี


เมฆมาก และหาดนพรัตน์ธารามีปริมาณเมฆเฉลี่ย 53%ซึ่งมีปริมาณน้อย
กว่าบริเวณหาดนพรัตน์ธารา

2) วันที่27 สิงหาคม อุณหภูมิบริเวณไม้มะหาดเฉลี่ย 30.5 องศาเซลเซียส


บริเวณหาดนพรัตน์ธาราเฉลี่ย 29 องศาเซลเซียสสรุปได้ว่าบริเวณไม้
มะหาดมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่าบริเวณหาดนพรัตน์ธารา

3) วันที่3 กันยายน ปริมาณเมฆบริเวณไม้มะหาดเฉลี่ย 47.5%แสดงว่ามี


เมฆน้อย ปริมาณเมฆบริเวณหาดนพรัตน์ธาราเฉลี่ย 72.5%แสดงว่า
บริเวณหาดนพรัตน์ธารามีปริมาณเมฆมากกว่าบริเวณไม้มะหาด

4) วันที่3 กันยายน อุณหภูมิบริเวณไม้มะหาดเฉลี่ย 30 องศาเซลเซียส


บริเวณหาดนพรัตน์ธาราเฉลี่ย 29.5 องศาเซลเซียสสรุปได้ว่าอุณหภูมิเฉลี่ย
บริเวณไม้มะหาดมีอุณหภูมิสูงกว่าบริเวณหาดนพรัตน์ธารา

5)ชนิดเมฆบริเวณไม้มะหาดเป็ นคิวมูโลนิมบัสแสดงว่าสภาพอากาศเป็ น
แบบมีฝนฟ้ าคะนอง

บริเวณหาดนพรัตน์ธาราสเตรตัสเป็ นสภาพอากาศอาจจะทำให้เกิดฝน
ละอองได้

อภิปรายผลการทดลอง
28

สรุปได้ว่าอุณหภูมิที่แตกต่างกันทำให้เกิดชนิดเมฆแตกต่างกันไป ใน
บริเวณประติมากรรมไม้มหาดมีปริมาณเมฆเฉลี่ยทัง้ หมด 61.25 ซึ่งเป็ น
ลักษณะมีเมฆมาก และในบริเวณหาดนพรัตน์ธารามีปริมาณเมฆเฉลี่ย
ทัง้ หมด ซึ่งเป็ นลักษณะมีเมฆมาก และมีอุณหภูมิเฉลี่ย 29.75

ประโยชน์ที่ได้รับ

1.ได้ทราบชนิดเมฆของเเต่ละพื้นที่

2.เป็ นเเนวทางการพยากรณ์อากาศ

3.ได้เปรียบเทียบข้อเเตกต่างระหว่างปริมาณเมฆ ชนิดเมฆเเละอุณหภูมิ
ของบริเวณหาดนพรัตน์เเละประติกรรมไม้มะหาด

ข้อเสนอแนะ

1.เราควรวัดปริมาณเมฆให้บ่อยมากขึน
้ กว่าเดิมเพื่อเปรียบเทียบได้
ชัดเจนขึน

2.เราควรเก็บภาพในขณะที่กำลังดำเนินงานอยู่ด้วย

3.ควรวัดปริมาณเมฆในเวลาที่ถี่กว่าเดิม

4.ควรแบ่งหน้าที่กันอย่างชัดเจนมากขึน
้ ในการทำงาน
29

เอกสารอ้างอิง

จิราภรณ์ ปกรณ์ (2560) สังเกตเมฆ แหล่งข้อมูล

https://www.scimath.org/articlescience/item/7574-2017-10-
17-02-04-19

สืบค้นเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2565

ป ร ิม า ณ เ ม ฆ ป ก ค ล ุม (2562) แ ห ล ่ง ข ้อ ม ูล
https://www.youtube.com/watch?v=Va9prPQcYl4

สืบค้นเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2565

ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์ (2555) แหล่งข้อมูล


http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/cloud สืบค้นเมื่อวันที่ 11
กันยายน 2565
30

ภาคผนวก
31
32

ชุดภาพที่1 วัดปริมาณเมฆ

ชุดภาพที่ 2 ภาพจากการวัดปริมาณเมฆ

You might also like