นิติปรัชญา

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 3

นางสาว เกสรา นภัสรพีวงษ์ 013

6510124309013
ข้อ 1 : เป็ นคำกล่าวของซิเซโร(cicero)
:สํานักความคิดกฎหมายธรรมชาติ เป็ นสํานักความคิดที่มีกําเนิดและ
วิวฒั นาการมาตังแต่้ สมัยกรี ก สํานักนี ้มีความคิดเห็นว่ากฎหมายเป็ นสิง่ ที่มีอยูแ่ ล้ ว
ตามธรรมชาติ ซึง่ อาจเรี ยกว่า “กฎหมายธรรมชาติ” (Natural Law)
:โดยดิฉนั ได้ เข้ าใจว่า กฎหมายคือความถูกต้ องและทำให้ ได้ มีหน้ าที่ที่ทกุ คน
ต้ องปฏิบตั ิตามกฎหมายและอยูภ่ ายใต้ กฎหมายอย่างเคร่งครัดโดยกฎหมายในแต่ละ
ข้ อจะต้ องไม่ขดั แย้ งกัน ซึง่ พันธสัญญาทางกฎหมายคือความจริงที่ถกู ต้ องเกี่ยวกับ
การกล่าวไว้ และมีคว่ามสอดคล้ องกับหลายๆสิง่ เช่น ธรรมชาติ และมิอาจยกเลิกหรื อ
ความคิดเห็นขัดแย้ งได้ ไม่วา่ ประชาชนหรื อผู้มีอำนาจในวุฒิสภาก็ต้องทำตาม
กฎหมาย

ข้อ 2 : ความแตกต่างของสำนักกฎหมายธรรมชาติ และ สำนักประวัติศาสตร์


คือ สำนักกฎหมายธรรมชาติ กฎเกณฑ์ที่กำหนดแบบแผนการปฏิบตั ิของมนุษย์ที่มีอยู่
ตามธรรมชาติ ไม่ได้ เกิดจากความจำนงของผู้ใด มีลกั ษณะเหมือนกันในทุกหนแห่ง
โดยเน้ นว่ากฎเกณฑ์ตา่ งๆมีระเบียบอยูโ่ ดยธรรมชาติของมันเอง ไม่ขึ ้นอยูก่ บั อำเภอใจ
ของบุคคล มนุษย์เพียงแต่ใช้ สติปัญญาไปค้ นพบเท่านัน้
สำนักประวัติศาสตร์  กฎหมายที่ไม่ใช่สงิ่ ที่มนุษย์สร้ างขึ ้นได้ ตามใจชอบแต่เป็ นสิง่ ที่
เกิดขึ ้นโดยตัวของมันเองแล้ วเติบโตคลี่คลายไปตามประวัติศาสตร์ เพราะกฎหมาย
เป็ นผลผลิตของชาติกฎหมายของชนชาติใดย่อมเป็ นไปตามความรู้สกึ นึกคิดหรื อ
วิญญาณของชนชาติ Volksgeist)ของชนชาตินนั ้
: ความคล้ ายคลึงของสำนักกฎหมายธรรมชาติ และ สำนักประวัติศาสตร์
คือ แนวคิดของทั้งสอง ซึ่งสำนักประวัติศาสตร์ กฎหมายเป็ นสิ่ งซึ่งถูกค้นพบ มิใช่สิ่งที่
ถูกสร้างขึ้น
สำนักธรรมชาติมีความเห็นว่า กฎหมายธรรมชาติ มนุษย์ไม่ได้ท ำขึ้นมาเอง แต่มีอยูต่ าม
ธรรมชาติ เป็ นกฎหมายที่อยู่ เหนือรัฐ

ข้อ 3 : ให้ความหมายของอำนาจอธิปไตยว่าเป็ นอำนาจเด็ดขาดและถาวรเป็ นอำนาจ


สูงสุ ดที่มิอยูภ่ ายใต้บงั คับของกฎเกณฑ์ใดๆแสดงออกโดยการออกกฎหมายและยกเลิก
กฎหมายเพื่อพิสูจน์วา่ เป็ นรัฐที่แท้จริ งจึงเข้าทำสัญญาประชาคมยกเลิกอำนาจให้รัฐ
าธิปัตย์เพื่อคุม้ ครองรักษารัฐาธิปัตย์มีอ ำนาจสูงสุ ดที่จะออกกฎหมายใดก็ได้ โดยมิอาจ
โต้แย้งถึงความถูก ความผิด ความดี ความชัว่    ยุติธรรม อยุติธรรม เพราะถือว่าสิ่ ง
เหล่านี้เกิดจากกฎหมายที่รัฐาธิปัตย์มีอ ำนาจที่จะบัญญัติข้ ึน เกิดความไม่เท่าเทียมแก่
ประชาชน  เหมือนเป็ นการบังคับข่มเห่งใช้อ ำนาจเผด็จการ ไม่มีความยุติธรรมสำหรับ
ผูถ้ ูกกระทำ

ข้อ 4 : มนุษย์ตอ้ งมีกฎเกณฑ์ที่ควบคุมความประพฤติของมนุษย์ กฎเกณฑ์น้ีคือ เพื่อ


ให้สงั คมอยูร่ ่ วมกันอย่างสงบสุข “กฎหมาย ศีลธรรม จริ ยธรรม ศาสนา และจารี ต
ประเพณี กฎหมายเป็ นข้อบังคับของรัฐได้ก ำหนดเป็ นลายลักษณ์อกั ษรเป็ นส่ วนใหญ่
กำหนดความประพฤติภายนอกของมนุษย์ที่แสดงออกมาให้เห็น ส่ วนศีลธรรมเป็ น
ความรู้สึกที่เกิดจากจิตใจของมนุษย์แต่ละคน ขึ้นอยูก่ บั ความรู้สึกนึกคิดของคนๆนั้น
โดยเฉพาะ ผลกระทบจากการฝ่ าฝื นจริ ยธรรมจะได้รับเพียงการติเตียนจากสังคม
เท่านั้น ส่ วนผูฝ้ ่ าฝื นหลักคำสอนของศาสนาจะไม่มีสภาพบังคับไว้แน่นอน ส่ วนจารี ต
ประเพณี จารี ตเป็ นบรรทัดฐานที่ก ำหนดให้คนในสังคมประพฤติปฏิบตั ิอย่างเข้มงวด มี
การควบคุมที่รุนแรงเพื่อป้ องกันการฝ่ าฝื น โดยคนในสังคมนั้นถือว่าแบบแผนการ
ปฏิบตั ิดงั กล่าวเป็ นสิ่ งดีสิ่งงาม นอกจากนั้นแล้วกฎหมายเป็ นกฎเกณฑ์ที่ไม่
อาจสามารถเกิดขึ้นเองได้เหมือนกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น ฝนตก ฟ้ าร้อง ฟ้ าผ่า
แต่กฎหมายมีจุดกำเนิดหรื อที่มาของกฎหมายจากศีลธรรม ศาสนา และจารี ตประเพณี

You might also like