รส.31-81.8 การดำรงชีพในป่า - 2556

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 194

(รางตนฉบับ)

คูมือกองทัพบก
วาดวย

การดํารงชีพในปา

รส.๓๑-๘๑.๘.XX
พ.ศ. ๒๕๕๖
สารบัญ
เรื่อง หนา
คํานํา
บทนํา ก
บทที่ ๑ ชนิดและประโยชนของปาไม ๑
- ปาไมของประเทศไทย ๒
บทที่ ๒ การดํารงชีพในปา ๑๑
- การเตรียมตัวในการดํารงชีพในปา ๑๑
- กลองดํารงชีพ ๑๑
- อุปกรณดํารงชีพอื่นๆที่ควรมีติดตัว ๑๑
- การใชแผนที่ ๑๒
- ขอพิจารณาในการเดินปา ๑๕
- การสังเกตทิศทางจากดวงอาทิตยและดวงดาว ๑๕
- การรักษาทิศทางการเดิน ๑๗
- การเดินออมสิ่งกีดขวาง ๑๘
- การเลือกเสนทางเดินและการเดินทาง ๒๐
- การขามลําน้ํา ๒๔
- การขอความชวยเหลือจากประชาชนในทองถิ่น ๓๓
- การสงสัญญาณ ๓๖
- ที่พัก ๔๐
บทที่ ๓ การหาน้ําและการเตรียมอาหาร ๔๕
- การแสวงหาน้ํา ๔๖
- วิธีตัดเถาวัลย ๔๘
- การแสวงหาอาหาร ๕๑
- วิธีจับปลา ๕๒
- การลาสัตว ๖๐
- การวางกับดัก ๖๑
- วิธีกอไฟ ๖๘
- การประกอบอาหาร ๘๑
- การถนอมอาหาร ๙๑
บทที่ ๔ พืชสมุนไพรในการดํารงชีพ ๙๒
บทที่ ๕ ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงู ๑๗๒
บทที่ ๖ การสุขาภิบาลและการปฐมพยาบาล ๑๘๕
-การรักษาสุขภาพอนามัย ๑๘๕
-การปฐมพยาบาล ๑๘๗
-การสุขาภิบาลทหาร ๑๙๖
บรรณานุกรม ๑๙๙
คํานํา
การดํารงชีพในปา เปนความรูที่จําเปนอยางยิ่งในสถานการณที่ทหารตองใชในขณะเล็ดลอด
หลบหนี จากการติดตามของฝายขาศึก จากการพลัดหลงจากหนวย จากการถูกปดลอม และจาก
การขาดการติดตอและขาดการสงกําลังบํารุงจากหนวยเหนือ ทหารจึงจําเปนจะตองเรียนรูเพื่อให
เกิดประสบการณ เกิดความชํานาญ ทําใหสามารถชวยตนเองและเพื่อนรวมงานใหรอดพนจากการ
รอดตาย
ความรูที่มีอยูในการดํารงชีพในปาและในถิ่นทุรกันดารที่ขาดการสงกําลังบํารุง จะทําให
ทหารไดรูจักกับพืชและสัตวที่นํามาเปนอาหารเปนยา และบางสวนที่เปนพิษ เปนอันตราย พรอม
ทั้งสามารถใชธรรมชาติเพื่อการหาน้ํา และแหลงน้ําได
การดํารงชีพในปาเปนการปฏิบัติที่ไมมีขอบเขตจํากัด ไมตายตัว หากทหารไดเรียนรูอยาง
ถูกตองสามารถนํามาเปนประโยชนกับความอยูรอดของชีวิต ขณะอยูในสถานการณ
สภาพแวดลอมที่บีบบังคับได
เอกสารฉบับนี้ไดรวบรวมเอาความรูแงตางๆ ไวเพื่อเปนแนวทางใหทหารไดนําไปใช
ประโยชน เมื่อตกอยูในสถานการณดังกลาวขางตน คณะผูรวบรวมหวังเปนอยางยิ่งวาความรู
เหลานี้จะมีประโยชนกับผูไดศึกษาพอสมควร

ดวยความปรารถนาดี
ผูบัญชาการโรงเรียนสงครามพิเศษ
คณะผูจัดทํา

- ฝายกรรมวิธีขอมูลโรงเรียนสงครามพิเศษ 18 พ.ค.2556

บทนํา

ปาไมคือสังคมของพืชและสัตว ซึ่งประกอบดวยพรรณไมใหญนอยหลายชนิดเปนหลัก มี
ความสั มพั น ธ อย า งใกล ชิ ด กั บ ความผาสุก ของประชาชน ฐานะทางเกษตรกรรม อุต สาหกรรม
ตลอดจนเศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศชาติ
โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศกําลังพัฒนา และเปนประเทศเกษตรกรรมอยางประเทศไทย
ซึ่งมีผลประโยชนรายไดสวนใหญจากผลิตผลทางเกษตร นอกจากผลิตไมและของปาเปนมูลคาปละ
ประมาณ 1,800 ลานบาทแลว (กรมปาไม 2512) ปาไมยังทําหนาที่ปกคลุมพื้นที่ตนน้ําลําธาร ทําให
มีน้ําไหลอยูตลอดปปกคลุมดินมิไดถูกน้ําฝนชะไปทับถมที่เพาะปลูกทับถมทองแมน้ําลําธาร อางเก็บ
น้ํา เขื่อนชลประทานและพลังงานไฟฟาซึ่งรัฐไดลงทุนไวเปนเงินหลายรอยลานบาท
หากพื้นที่ปาไมถูกทําลายเสียหายลง ภัยพิบัติตางๆยอมตามมาอยางไมอาจหลีกเลี่ยงได จะ
เกิดขาดแคลนน้ําในฤดูแลง และเกิดอุทกภัยในฤดูฝน ดินที่ทําการเพาะปลูกจะถูกชะไปถมทะเลจน
เหลือแตหินแข็งทั่วไป สภาพลมฟาอากาศจะเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เลวรายลง ฐานะทางเศรษฐกิจ
และความมั่นคงของประเทศชาติตองกระทบกระเทือนอยางไมมีปญหา
หากจะมองใหลึ กซึ้ งลงไป ป าไมแตล ะแห งย อมประกอบขึ้ น ดว ยโครงสร างเฉพาะอย าง
ระหวางพืช สัตว ในบริเวณนั้น ซึ่งแตกตางไปจากบริเวณอื่นๆ ยกตัวอยางเชนไมเต็ง ไมรัง ไม
รกฟา ไมเหียง ไมพลวง จะขึ้นอยูแตในปาแดง หรือปาเต็งรังเทานั้น ไมมีไมเหลานี้ขึ้นอยูในปาดง
ดิบเลย และเชนเดียวกัน ไมตะเคียน ไมยาง ไมเคี่ยม ไมห ลุมพอ จะขึ้นในปาดงดิบ ไมมีไม
เหลานี้ขึ้นอยูในปาเต็งรัง ลักษณะของสัตวตางๆ ก็เชนกัน ยอมแตกตางออกไปตามแตละสภาวะ
แวดลอม ทั้ งพื ช และสัตว ยอมเจริญเติบโตไดดี และเลือกอยูในสภาวะแวดลอมที่เหมาะสมกับ
อุปนิสัยแตละชนิดไป
เพราะเหตุวาสิ่งตางๆ ทั้งหลายไมอยูนิ่ง ผิวโลกยอมเปลี่ยนไปตามกาลเวลา เพราะฉะนั้น
ในแตละกลุม แตละบริเวณที่สมาชิกพืชและสัตวซึ่งมีความสัมพันธกันและกัน และตางมีความ
ตองการสภาวะแวดลอมที่คลายๆกัน จึงปรกอบกันขึ้นเปนระบบนิเวศนหรือระบบของความสัมพันธ
กันระหวางพืช สัตว และถิ่นที่อยูอาศัยของกลุมนั้นๆ ซึ่งแตกตางออกไปจากกลุมอื่นไมมากก็นอย
เชน ระบบนิเวศนของปาดงดิบ แตกตางกับระบบนิเวศนของปาเต็งรังในเรื่องความชุมชื้นและความ
อุดมสมบูรณของอินทรีวัตถุในดิน เปนตน

ปาไมเปนบอเกิดของตนน้ําลําธาร น้ําตก และแมน้ําหากปราศจากปาไมน้ําจะทวมในฤดูฝน และ


ลําน้ําจะแหงไมมีน้ําในฤดูแลง ปาไมจึงเปนเสมือนเขื่อนธรรมชาติ

ธรรมชาติยอมรักษาสมดุลเสมอ หากมนุษยไมยื่นมือเขาไปชวยเหลือ อาจตองใชเวลานาน


มนุษยเองก็อยูในกฎเกณฑอันนี้ของธรรมชาติไมมียกเวน พลเมืองของโลกเพิ่มขึ้นทุกวัน เมื่อถึง
ระดับหนึ่งความสมดุลระหวางพลเมืองกับอาหารและอุปกรณในการดํารงชีพของมนุษยตองเสียไป
นั่นคือพลเมืองของโลกมากเกินไป อาหารไมพอ ทําใหพลเมืองออนแอ อาจเกิดโรคระบาด เกิด
สงครามรบราฆาฟนจนพลเมืองของโลกลดฮวบฮาบลงไป แลวก็คอยๆ เพิ่มปริมาณขึ้นอีก
หมุนเวียน เปนดังนี้ มนุษยอาจใชสติปญญาชวยธรรมชาติ เชน การคุมกําเนิด และการคนควาหา
แหลงอาหารใหมๆ เปนตน แตทรัพยากรที่เปนอาหารในโลกนี้มีจํากัด
การจัดการทรัพยากรของชาติ เชนปาไมและสัตวปาก็อาศัยความจริงดังกลาวเปนหลักใน
การจัดการ ขอยกตัวอยาง กวาง เสือ และอาหารกวาง อันไดแกพืชพันธุตางๆ ในอุทยานแหงชาติ
ที่เขาใหญ ขณะนี้ปริมาณกวางยังมีนอย กวางยังมีอาหารเหลือเฟอ เมื่อมนุษยใหความคุมครอง
กวางก็มีจํานวนมากขึ้น ขณะเดียวกันเสือก็จะมีมากขึ้น เพราะกวางซึ่งเปนอาหารของเสือมีมากขึ้น
เมื่อถึงระดับหนึ่งกวางมีมากเกินไปจนอาหารกวางมีไมเพียงพอ กวางก็จะลดลง และจะลดลงอยาง
ฮวบฮาบ โดยนัยเดียวกันกับการลดลงของมนุษยที่กลาวมาแลว เสือก็จะพลอยลดปริมาณลงดวย

เพราะกวางที่จะใหเสือกินมีนอยลง แตพืชพันธุตางๆที่เปนอาหารกวางจะมีโอกาสฟนตัวขึ้นมา
ภายหลังเมื่อมีอาหารสมบูรณ กวางที่เหลือจากการตายคราวกอน ก็จะคอยๆ เพิ่มจํานวนขึ้น
หมุนเวียนอยูเชนนี้ เราอาศัยความรูอันนี้เขไปจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อใหสามารถอํานวย
ผลประโยชนใหแกมนุษยไดนานที่สุดและมากที่สุด

กวางบนอุทยานแหงชาติเขาใหญ

การดํารงชีวิตในปานั้น สัตวตางๆเรียนรูจากประสบการณ เชน ชาง เสือ งู กระทิง ยอม


เรียนรูวาพืชและสัตวอะไรบางที่เปนอาหารและเปนพิษ เปนการเรียนในชวงชีวิตหนึ่งๆ แตมนุษย
สามารถและฉลาดกวาสัตว มีภาษาเขียนซึ่งทําใหสามารถบันทึกความรูและประสบการณตางๆไว
เพื่อชนรุนหลังได จึงปรากฏวาวิทยาการตางๆเจริญกาวหนาอยูเสมอ เพราะเราไดอาศัยบันทึกของ
คนรุนกอนๆ มาคนควาเพิ่มเติม
หนังสือเลมนี้ไดอธิบายถึงปาไมชนิดตางๆ พืชที่กินไดและพืชที่มีพิษที่พบทั่วไปในปาทุกภาค
ของประเทศไทย บันทึกไวเปนหลักฐาน และอาจกอใหเกิดประโยชนแกผูที่ตองปฏิบัติงานในปาผูที่
หลงปาทหารตํารวจ และผูที่มีความสนใจดานธรรมชาติวิทยา และการสงวนทรัพยากรธรรมชาติ
เปนตน

ภาพแสดงใหเห็นน้ําจากเถาวัลยบางชนิดในปา
น้ําจากเถาวัลยบางชนิดในปานั้นสวนมากใชดื่มไดดีพอสมควร แตมิใชวาเถาวัลยในปาเมื่อ
ตัดแลวจะมีน้ําไหลออกมาทุกชนิด คงมีอยูเพียงไมกี่ชนิดเทานั้น เชน เปาลม หรือสะเถาลม
(Agapetes hosseusii) เงาน้ําทิพย (Agapetes saxicola) เครือเขาน้ํา (Tetrastigma lanceolata)
นอกจากนั้นพวกหวาย ตอนโคนๆมักจะมีน้ําพอดื่มไดบาง ไมไผลําแกๆอาจพบในน้ําในลําปลอง
พวกปาลมบางชนิดก็อาจหาน้ําดื่มไดโดยตัดปลายชอดอก (งวง) เชนเดียวกับการทําน้ําตาลมะพราว
วิธีตัดเถาวัลยใหไดดื่มน้ํานั้น ตอนปลายๆเถามักไมคอยมีน้ํา การตัดตองใชมีดคมๆ ตัดใหสูง
ที่สุดที่คนยืนสามารถตัดไดครั้งหนึ่ง แลวจึงตัดที่โคนของเถาวัลยนั้นอีกครั้งหนึ่ง แลวยกขึ้นใน
แนวดิ่งใหแรงแหงความโนมถวงของโลกดึงใหน้ําในเถาวัลยไหลออกมา น้ําในเถาวัลยจะมากหรือ
นอย หรือรสชาติเปนอยางไรนั้น สุดแตชนิดของเถาวัลย และฤดูกาลดวยคือในฤดูฝนน้ําในเถาวัลย
จะมากกวา

บทที่ ๑
ชนิดและประโยชนของปาไม
การเดินทางในปา กอนการศึกษาเรื่องการเดินปา เราควรทราบลักษณะตางๆของปาเสียกอน
เพราะสภาพของปาไมแตละแหงนั้น มีผลกระทบตอการดําเนินการ เพื่อการดํารงชีพอยูในปา และมี
วิธีการปฏิบัติที่หลากหลายแตกตางกันออกไป รวมทั้งยังอาจจะเกิดภัยขึ้นไดนานาประการอีกดวย
การศึกษาปาไมปาหนึ่งๆ นั้น ขั้นแรกสุดก็ไดแกบรรยายลักษณะทั่วไป เชน ลักษณะโครงสราง
วาปานั้นประกอบดวยไมสูงใหญ มากนอยแคไหน ประกอบดวยไมอะไรบาง เพื่อเปนหลักในการวัด
โดยละเอียดแตละเรื่องตอไป เพื่อใชในการศึกษา วิจัย การจัดการปาไม การสังเกตขั้นตนนี้สามารถ
ทําไดรวดเร็ว ใชเวลาเพียงไมกี่นาทีก็อาจจําแนกใหเห็นไดเลาๆวาสังคมพืชนั้นๆ ควรจะมีลักษณะทั่วไป
อยางไรบาง
ปาไมของโลกอาจแยกไดโดยอาศัยลักษณะทางภูมิศาสตร และลักษณะโครงสรางของปานั้นๆ
แยกชนิดปาโดยอาศัยลักษณะทางภูมิศาสตร ลักษณะของพืชพันธุไมยอมแตกตางกันออกไปตามสวน
ตางๆของโลก อาจแบงไดเปน ๓ บริเวณใหญๆ คือ
- เขตอบอุนเหนือ (Boreal or Holarctic) ไดแกบริเวณถัดจากเขตรอนของเสนศูนยสูตรขึ้นไป
ทางขั้วโลกเหนือ
- เขตรอน (Tropical) คือ บริเวณเขตรอน หรือเสนศูนยสูตร ซึ่งรวมทั้งประเทศไทยดวย
- เขตอบอุ น ใต (Southern Oceanic) ได แ ก บ ริ เ วณที่ เ ลยเขตร อ นลงไปทางขั้ ว โลกใต
นักวิชาการปาไมบางทานแยกชนิดปาตามลักษณะทางภูมิศาสตรออกเปน ๔ บริเวณใหญๆ โดยเพิ่มเขต
รอนของทวีปอเมริกา (Neo tropical) แยกออกไปตางหากจาก Tropical Zone แตละเขตใหญๆ
เหลานี้ยังแยกยอยออกไปอีก เชนเขต Arctic หรือ Tundra zone เขต Boreal Conifer forest และ
Sub-tropical เปนตน
แยกชนิดปาโดยอาศัยลักษณะโครงสราง วิธีนี้ใชกันแพรหลาย โดยเฉพาะในการศึกษาวิจัย
และการจัดการปาไม เปนการแยกปาชนิดตางๆ ตามลักษณะโครงสรางของปานั้นๆ สามารถแยกและ
บรรยายไดละเอียด ในเขตรอนอาศัยความสัมพันธระหวางดินและน้ําที่เกี่ยวกับปริมาณน้ําฝนแตละป
และความสามารถในการระบายน้ําของดิน กอใหเกิดปาชนิดตางๆสวนในเขตอบอุนนั้นอาจอาศัยชนิดไม
ที่มีมากในปานั้นๆ (dominant species) เปนหลักในการแยกชนิดปาไม เพราะวาไมในปาหนึ่งๆ ของ
เขตนี้มีไมมากชนิดนัก

ปาไมของประเทศไทย
ประเทศไทยอยูในบริเวณเขตรอนซึ่งมีฝนชุก และมีแสงแดดจาอยูเสมอตลอดป เพราะเหตุนี้จึง
ใหมีพืชพันธุตางๆ มากมายหลายชนิด โดยเฉพาะภาคใตของไทยซึ่งเปนปาดงดิบตลอดทั้งภาค อยางไร
ก็ตามบางแหงทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือก็มีปาที่มีสภาพแหงแลงอยูบางไดแก ปาเต็ง
รัง และปาทุง
ปาไมในประเทศไทยอาจแบงออกเปนชนิดใหญๆได ๒ ชนิด คือปาประเภทไมผลัดใบ และปา
ประเภทผลัดใบ แตละชนิดก็แยกยอยออกไปอีก ดังตอไปนี้
ปาประเภทไมผลัดใบ
ปาไมผลัดใบมีอยูประมาณ ๓๐% ของเนื้อทีปาไมของประเทศ แยกออกเปน ๔ ชนิด ยอยๆคือ
- ปาดงดิบ
- ปาสนเขา
- ปาพรุ หรือปาบึง
- ปาชายหาด
ปาดงดิบ
ปาชิดนี้เกิดขึ้นในภูมิประเทศคอนขางชื้น มีฝนตกชุกไดรับอิทธิพลมรสุมอยางมาก ปาชนิดนี้
กระจัดกระจายอยูทั่วไป ไมวาตามที่ราบหรือแทบภูเขา ปาดงดิบยังแยกออกไปอีก ๓ ชนิด คือ
- ปาดงดิบชื้น
- ปาดงดิบแลง
- ปาดงดิบเขา
ปาดงดิบชื้น
มีอยูในภาคใตตลอดทั้งปและมีในภาคตะวันออกเฉียงใตบริเวณจังหวัดจันทบุรี ตราด เพราะ
บริเวณเหลานี้มีฝนตกชุกตลอดป (มากกวา ๑,๕๐๐ มม.) นอกจากนั้นในบางทองที่ของจังหวัดหนองคาย
ก็มีปาที่มีสภาพคลายๆกันนี้
ปาชนิดนี้เปนปาที่ประกอบดวยไมหลายชนิด เปนสังคมพืชที่ยุงยาก สลับซับซอน มีพืชพันธุอีก
หลายรอยชนิดที่ยังไมรูจักชื่อ ไมในปาดงดิบชื้นในคาบสมุทรแหลมทอง ที่รูจักชื่อแลวประมาณ ๒,๕๐๐
ชนิด (สเปอร ๒๕๐๗)
ปาชนิดนี้เปนหมาทึบ มีเรือนยอดชิดกัน อาจแยกชั้นความสูงของปาออกเปน ๓ ชัน คือ ไมชั้น
บนสุดหรือไมที่สูงที่สุด สูงถึง ๔๐-๔๕ เมตร มีขนาดใหญ อยูกระจัดกระจายเปนตอนๆ สวนไมขนาด
กลางที่ สู ง ราว ๒๕-๓๐ เมตร จะมี มากกวา และติ ดกั น เป น พื ด หากมองจากเครื่ องบิ น จะเห็น เป น
เหมือนกับพื้นอีกชั้นหนึ่งในปาที่สมบูรณ ชั้นลางสุด คือ ไมเล็กและลูกไมตางๆประกอบกันหนาแนนมาก
มีพวกปาลมและเถาวัลยประกอบทําใหแนนทึบและผานเขาไปไดลําบาก แสงสวางที่สองมาจากเบื้องบน
ในบางตอนไมอาจสองทะลุถึงพื้นได แมวาจะมีความชื้นสูง แตอากาศสดชื่นดี นอกจากวามีสัตวและพืชที่
มีพิษมากมายหลายชนิดแลว ปารุนสองที่ขึ้นหลังจาก ปาเดิมถูกตัดฟนลง จะแนนทึบ และพืชที่มีหนาม
มักขึ้นอยู ยากแกการบุกเขาไปได

เถาวัลยในปาชนิดนี้มีมากมายหลายชนิด มีทั้งชนิดที่เปนเกลียวคลายสวาน ชนิดที่เปนขั้นบันได


(บางแหงเรียกบันไดลิง) บางชนิดขึ้นพันไมใหญ นอกจากนั้นพืชจําพวกเฟนก็มีมากรวมทั้งพวกกาฝาก
เกือบทุกชนิด
ตนไมสวนใหญมีลําตนเปลาตรงและสูง ไมคอยมีกิ่งกาน เพราะแยงกันรับแสงสวาง ซึ่งทําใหมี
คุ ณ ภาพในทางการค า ดี อย า งไรก็ ดี ลัก ษณะหนึ่ ง ที่ สํา คั ญ ของไมป า ชนิด นี้ คื อ ที่ โ คนต น มั กมี พู พ อน
สวนมากเปนรูปสามเหลี่ยม บางทีแตกพูพอนที่โคนตนถึง ๕-๑๐ เมตรก็มี แตบางชนิดก็ไมมีพูพอน แตที่
โคลนลําตนใหญเปนพิเศษ ไมในปาชนิดนี้สวนมากมีเปลือกเรียบบางหนา บางบางแตเปลือกแตกและ
ขรุขระไมคอยมี
พันธุไมที่มีความสําคัญทางการคาในปาดงดิบชื้นของไทยก็มีไมยาง ไมตะเคียน เปนตน
ความหมายของคําวาปาดงดิบหมายถึงวาปานั้นๆ จะมีสีเขียวอยูเสมอตลอดป ใบไมก็เหมือน
สิ่งมีชีวิตอื่นๆ เมื่อเกิดมาแลวก็ตองตาย เมื่อใบแกรวงใบใหมก็จะออกมาแทนที่ แตตนไมในปาชนิดนี้ใบ
รวงไมพรอมกัน และใบใหมก็จะออกไมพรอมกัน จึงดูเหมือนวา ใบไมในปาชนิดนี้เขียวอยูเสมอ

รูปที่ ๑ ภาพปาดงดิบชื้น ซึ่งมีอยูตั้งแตจังหวัดชุมพรลงไปจนสุดแหลมมลายู

ปาดงดิบแลง
ปาชนิดนี้มีกระจัดกระจายอยูทั่วประเทศ ตามที่ราบลุมตามหุบเขาในระดับต่ําซึ่งสูงประมาณ
๕๐๐ เมตร หรือตามแนวลําหวย และลําธาร ตามที่มีบริเวณน้ําฝนคอนขางชุก ขณะนี้มีปาชนิดนี้เปน
หยอมๆ ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
นอกจากตามบริเวณหุบเขาแลว ปาดงดิบแลวในปจจุบันนี้เปนรองรอยที่เหลืออยูของพื้นที่ปา
อันกวางใหญและอุดมสมบูรณไปดวยพืชพันธุไมปกคลุมที่ราบภาคกลาง หรือที่ราบลุมแมน้ําเจาพระยา
และบางสวนของพื้นที่ราบสูงบริเวณจังหวัดนครราชสีมาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปจจุบันปาดงดิบ
แลงที่ยังคงมีความอุดมสมบูรณดีไดแก ปาภูหลวง – วังน้ําเขียว ที่ตําบลสะแกราช

ปาดงดิบแลงนั้นมีลักษณะทั่วๆไปคลายดงดิบชื้น แตโปรงกวาเล็กนอย ไมที่มีคาทางการคา


ไดแก ไมยาง ไมตะเคียน ไมพยุง ไมชิงชัน เปนตน

รูปที่ ๒ ภาพปาดงดิบแลงของอําเภอปกธงชัย

ปาดงดิบเขา
ปาชนิดนี้พบอยูในที่สูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ ๑,๐๐๐ เมตรขึ้นไป มีกระจัดกระจายอยูทั่ว
ประเทศ แตสวนใหญอยูที่ราบสูงภาคเหนือ ในปาชนิดนี้บรรยากาศมีความชื้นสูงมากจะเห็นไดวาตาม
ตนไม มีพืชจําพวกมอสปกคลุมอยูทั่วไป ปาตามหุบเขามีความอุดมสมบูรณมาก และประกอบดวยพืช
พันธุไมนานาชนิดสวนบนสันเขาและยอดเขา บางแหงมักจะมีพืชพันธุอยูนอยชนิดกวาตามหุบเขา
ปาชนิดนี้สวนมากไมมีการทําไมในอดีต เพราะวาภูมิประเทศประกอบดวยภูเขาสูงชัน ไมมีทาง
ชักลาก เขาไปถึงไดลําบาก พันธุไมที่สําคัญในปาชนิดนี้ ไดแกไมกอตางๆ เชน กอเดือย กอตี่ กอแปน
เปนตน นอกจากนั้นก็มีใบยาง ไมตะเคียน เชนเดียวหรือคลายกับปาดงดิบอื่น
ปาสนเขา
ป า ชนิ ด นี้ ก ระจั ด กระจายอยู เ ป น หย อ มๆ ทางภาคเหนื อ และทางแถบที่ ร าบสู ง ทางภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีความสูง ๒๐๐-๑,๓๐๐ เมตร ดินในเหลานี้เปนดินที่ไมคอยดี มักเปนดินปน
ทรายสีเทาหรือดินปนกรวดสีน้ําตาล และบางแหงก็เปนดินลูกรัง มีความอุดมสมบูรณต่ํา มีตนไมเพียง
๒-๓ ชนิด ขึ้นอยูในปาชนิดนี้ สวนมากเปนพวกสนเขา ซึ่งมักจะโปรงหรือโลงแจง บางทองที่มีไฟปาไหม
บอยๆ เพราะไมสนมีน้ํามันที่ติดไฟไดงาย ปาชนิดนี้มีลักษณะคลายปาทุง

รูปที่ ๓ ภาพแสดงลักษณะปาสนเขาซึ่งมีอยูตามภาคเหนือ
และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนใหญจะปนกับไมในปาเต็งรัง

ปาพรุหรือปาบึง
ในที่ลุมต่ําปากแมน้ําและชายทะเลที่เปนโคลนเลน จะมีพืชพันธุไมที่มีลักษณะโดยเฉพาะขึ้นอยู
ปาชนิดนี้จะมีน้ําทวมขัง และลดลงตามชวงเวลาหนึ่งๆพบอยูทั่ว ไปในบริเวณที่ลุมของประเทศ ซึ่งมี
ปริมาณน้ําฝนสูง เนื่องจากเปนดินชุมน้ํา ตนไมบางชนิดจึงตองปรับปรุงระบบรากใหเหมาะสมแกการ
หายใจ เชน ปลายรากสุดจะเปนปุมโผลขึ้นมาเหนือพื้นดิน หรือรากอาจโผลขึ้นมาแลวลงดินอีกทีหนึ่ง
หรื ออาจขึ้ นๆลงๆ เชน นี้ สองครั้งก็ได ตนไมบ างชนิดยิ่งมีร ากหยั่งซึ่งงอกออกจากโคลนตน เหนือดิน
ปรากฏอยูระเกะระกะเพื่อยึดลําตนใหมั่นคง ตนไมชนิดก็มีพูพอนตามโคนตน
ปาชนิดนี้อาจจําแนกออกไดตามลักษณะภูมิประเทศ ๒ ชนิด คือ ปาพรุหรือปาทึบ น้ําจืด และ
ปาชายเลน หรือปาโกงกาง
ปาพรุหรือปาบึงน้ําจืด
มักพบปาชนิดนี้อยูตามราบลุมตอนใน ดินมีลักษณะเปนดินทรายมูลหรือดินทรายถาเปนดิน
ทรายมูล ผิวพื้นจะเปนโคลน และมีหลมสึก ไมที่มีคาเชน ไมเสม็ด และไมสานทุง ซึ่งอาจใชเผาถาน หรือ
ใชทําเสาเข็มขนาดเล็กได
สวนใหญแลวปาจะมีลักษณะทึบ ตนไมมีขนาดเล็ก และสูงเพียง ๑๐ เมตร ไมพื้นลางเปนพวก
หญาหลายชนิด ซึ่งหญาบางชนิดสูงถึง ๑.๕๐ เมตร

ปาเลนน้ําเค็มหรือปาโกงกาง
ปาชนิดนี้มักพบอยูตามบริเวณปากแมน้ํา และชายฝงทะเลที่เปนโคลน ดินเปนลักษณะเปนดิน
ทรายมูลลึก และมีความเค็มสูง น้ําจะทวมปาชนิดนี้ตามชวงเวลาน้ําขึ้น ปาชายเลนมีอยูตามภาคใตของ
ประเทศไทยฝงตะวันตกตั้งแตสตูลขึ้นไปถึงระนองและที่กนอาวไทยเปนบางตอน ที่จังหวัดสมุทรสาคร
ทางทะเลตะวันออกที่อําเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด ฝงทะเลตะวันออกของภาคใตที่มี่
จังหวัดสุราษฎรธานีและจังหวัดนครศรีธรรมราชเปนบางตอน
ตนไมที่ขึ้นอยูในปาชนิดนี้เปนพวกไมโกงกาง ลําพูน ลําแพน เปนตน พืชเหลานี้มักจะถูกน้ําทวม
เปนครั้งคราว แมจะเปนน้ําทะเลแตก็ไมเปนผลเสียหายแตประการใด ใบมีลักษณะหนาคลายหนังสัตว
และทําหนาที่เก็บน้ําไวเลี้ยงลําตน ไมที่ขึ้นชื่อในปาชนิดนี้คือไมโกงกาง ซึ่งมีอยูสองสามชนิด สวนมากใช
ทําถาน เพราะใหความรอนดีและใชไดทน
ปาชายหาด
ตามฝงทะเลที่เปนดินทราย มีโขดหิน และฝงคอนขางชัน และมีปาอีกชนิดหนึ่งขึ้นอยู เรียกกัน
วาชายหาด ปาชนิดนี้พันธุไมขึ้นอยูเปนแนวแคบๆ หรือเปนหยอมๆมีอยูมากตามชายฝงทะเลตะวันออก
ของอาวไทย ซึ่งเปนดานที่รับลมฝนและคลื่นอยางเต็มที่
ปาชนิดนี้สวนมากมีไมขนาดเล็กขึ้นกระจัดกระจายอยูหางๆ มี วัชพืช เชน สาบเสือขึ้นอยูทั่วไป
เปนปาไมที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจแตอยางใด

รูปที่ ๔ ไมตนหนึ่งๆนั้นกวาจะโตถึงขนาดนี้กินเวลาหลายป
แตเวลาที่โคนใชเวลาเพียงไมกี่นาทีเทานั้น

ปาประเภทผลัดใบ
ในแถบที่คอนขางแหงแลงของประเทศ มีฝนตกไมชุกนัก ดอนเปนดินรวนปนทรายหรือปนกรวด
และบางแหงก็เปนดินลูกรัง พืชพันธุไมที่ขึ้นอยูในบริเวณนี้จัดเปนประเภทผลัดใบ เพราะตัดไมจะทิ้งใบใน
ฤดูแลง เกือบพรอมหรือพรอมกันทั้งปา ตนไมบางชนิดในปาชนิดนี้ เชนไมสักจะเจริญเติบโตโดยมีวงรอบ
กี่ป ปหนึ่งก็จะเพิ่มวงรอบปวงหนึ่ง ทําใหเราสามารถศึกษาหาอายุของตนไมตนหนึ่งๆได รวมทั้งสามารถ
ศึกษาสภาวะดินฟาอากาศไดจากวงรอบป วงรอบปก็จะแคบ หากปไหนน้ําทาแลงหนัก หรือเกิดไฟปา
หรือเกิดโรคระบาดในบริเวณนั้น วงรอบปก็จะแคบ หากปไหนน้ําทาอุดมสมบูรณวงรอบปก็จะกวาง
ลักษณะเชนนี้จะไมคอยพบเห็นในตนไมของปาประเภทไมพลัดใบ
ปาประเภทผลัดใบนี้ในฤดูแลงจะถูกไฟปาผิวพื้นไหมมากบางนอยมาเปนประจํา เพราะหญาซึ่ง
เปนพืชลางแหงตาย กลายเปนเชื้อไฟอยางดี ปาผลัดใบแบงออกเปน ๔ ชนิด คือ
- ปาเบญจพรรณ
- ปาแดง หรือปาเต็งรัง
- ปาทุง
- ปาละเมาะ
ปาเบญจพรรณ
ปาชนิดนี้มักประกอบขึ้นดวยตนไมผลัดใบหลายๆ ชนิดขึ้นปะปนกันอยู เราจะไมเห็นตนไมในปา
บางชนิดนี้พลัดใบพรอมๆกัน แตสวนใหญพลัดใบในฤดูแลง ประมาณเดือนมีนาคม – พฤษภาคม สภาพ
ทั่วไปของปาชนิดนี้คอนขางแหงแลงในฤดูแลง และคอนขางชุมชื้นในฤดูฝน ปาชนิดนี้มีทั่วไปตามภูเขา
และตามที่ราบต่ํา ในภาคเหนือ ไมสักมีขึ้นในปาชนิดนี้เทานั้น
ลักษณะพืชพันธุไมในปาเบญจพรรณมีตั้งแตคอนขางโลง จนคอนขางทึบ เรือนยอดปกติไมแนน
ทึบ และประกอบดวยชั้นความสูง หนึ่งหรือสองชั้น มีเถาวัลยบางชนิดขึ้นอยูในปาชนิดนี้บาง พืชพื้นลาง
ไมคอยแนนทึบ สวนใหญประกอบดวยหญาชนิดตางๆ ก็ขึ้นไดดีในปาชนิดนี้ เชนไผซาง ไผบง ไผรวก
เปนตน พันธุไมที่สําคัญไดแก ไมตะแบก ไมแดง ไมประดู และไมมะคาโมง เปนตน
นักวิชาการปาไมหลายทานไดแบงปาเบญจพรรณ แยกยอยออกไปอีกเปนปาเบญจพรรณชื้นสูง
ปาเบญจพรรณแลงสูง และปาเบญจพรรณต่ํา แตความแตกตางชนิดยอยๆนี้มีไมมากนัก เพื่อไมใหยุงยาก
ก็ไมแยกไปอีก

รูปที่ ๕ ลักษณะปาเบญจพรรณ ซึ่งมีอยูทั่วไปในภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ

ปาแดงหรือปาเต็งรัง
ปาชนิดนี้เกิดขึ้นบนที่ราบลูกเนิน และตามสันเขาที่เปนดินปนทรายหรือปนกรวด เนื่องจากดิน
ถูกชะลาง หนาดินพังทลายลงมาก บางแหงปรากฏมีหินนอยใหญโผลพนดินอยูทั่วไปสวนใหญเปนดิน
กรวดขี้ ห มู มี สี แ ดง ชาวบ า นจึ ง เรี ย กว า ป า แดง ป า ชนิ ด นี้ มี อ ยู ทั่ ว ไปทางภาคเหนื อ และภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ลักษณะทั่วไปเปนปาคอนขางโลง ตนไมขึ้นหางๆไดระยะ สวนมากตนไมในปาบางชนิดนี้จะมี
ความสูงแยกออกไดเปนสองชั้น คือชั้นบนสูงประมาณ ๑๐- ๒๐ เมตร ชั้นลางสูงประมาณ ๗ เมตร สวน
ไมพื้นลางคือหญาตางๆ แตสวนใหญไดแกหญาเพ็ด หญาเหลานี้จะแหงตายในฤดูแลง บางทีอาจเปน
อาณาบริเวณกวางขวางติดตอกัน จะกลายเปนเชื้อไฟอยางดี เมื่อไดรับลูกไฟจากการเผาไรใกลเคียง หรือ
จากกนบุหรี่เปนตน ก็จะลุกลามอยางรวดเร็ว ไหมลามไปตามพื้นดิน แตการไหมเปนไปอยางไมลึกซึ้ง
ลูกไม เล็ กก็ ไม ตาย เพี ยงแตช ะงั กการเจริญ เติบโต เมื่อถูกไหมซ้ําซากอยูห ลายปลูกไมเล็กก็จะสะสม
อาหารไวที่รากมากขึ้น ปไหนฝนฟาดีก็จะสงลําตนพรวดพราดขึ้นมาใหพนจากการทําลายของไฟผิวพื้น
ได
ไมที่สําคัญในปาชนิดนี้ไดแก ไมเต็ง ไมรกฟา ไมเหียง ไมพลวง เปนตน
เมื่อฤดูแลง คือราวๆเดือน กุมภาพันธุ – เมษายน จะมีระยะหนึ่งราว ๑๕ วัน ที่ตนไมในปานี้
พลั ด ใบพร อมกั น ทั้ งป า ป า จะกลายจากสี เขีย วสด มาเปน สี น้ําตาลเหลือง แตเ มื่อฝนแรกของเดือ น
พฤษภาคมมาถึง ปานี้ก็จะเริ่มเขียวขจีอีก หญาเพ็ดที่ถูกไฟปาไหมก็จะงอกขึ้นมาใหมอยางรวดเร็ว ใน
ระยะแรกๆเขียวสด เหมือนกับเอาพรหมสีเขียวมาปูลาดไวทีเดียว
ปาทุง
ปาทุงเกิดขึ้นภายหลังจากการเผาทําลายปา ปาชนิดนี้มีมากที่สุดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ซึ่งปรากฏวาเปนบริเวณที่ไดเคยทําไรเลื่อนลอยติดตอกันมานานในอดีต ดินมีลักษณะเปนดินปนทราย
หรือดินลูกรัง ปริมาณน้ําฝนมีนอยในภาคนี้จะมีปาทุงแปลงเล็กๆอยูกระจัดกระจาย สวนปาทุงแปลงใหญ
ที่สุดก็ไดกลายเปนทุงหญาที่ไรประโยชนไป เชนทุงกุลารองไหในจังหวัดสกลนคร

อยางไรก็ดีในทุงหญาเหลานี้มักจะมีตน หญาขึ้น กระจัดกระจายหางๆตนเปนตน ไมที่มีแคระ


แกร็น สวนมากเปนพันธุไมของปาเต็งรัง ลูกไมจากไมเหลานี้ และจากแมไมของปาใกลเคียง มีโอกาส
นอยเหลือเกินที่จะเอาชนะหญาซึ่งขึ้นอยูหนาแนนในทุงหญาเหลานั้นได หญาสวนใหญคือหญาคา
ปาละเมาะ
เปนปาเตี้ย ๆ ขาง ๆ หมูบาน ประกอบดวยไมพุมเล็ก ๆ กระจัดกระจายทั่วไป มีพวกสาบเสือ
หญาคา เปนสวนประกอบ เปนปาที่ไมมีความสําคัญทางเศรษฐกิจแตอยางใด

รูปที่ ๖ ไฟผิวพื้น ไหมหญาเพ็ดในปาเต็งรังในฤดูแลง


๑๐

รูปที่ ๗ ภาพแสดงใหเห็นแนวกันไฟ

รูปที่ ๘ ปาทุงในประเทศไทย บางแหงจะมีไมยืนตนขึ้นกระจัดกระจาย


๑๑

บทที่ ๒
การวางแผนการดํารงชีพและเตรียมตัวในการดํารงชีพปา
การเตรียมตัวในการดํารงชีพในปา
สิ่งจําเปน การเตรียมตัวเพื่อความมีชีวิตอยูรอด ขอแนะนําใหนํากลองดํารงชีพเล็ก ๆ ที่บรรจุ
สิ่งของจําเปนซึ่งควรจะนําติดตัวเสมอ อะไรที่จําเปนจริง ๆ อะไรที่ไมจําเปนไมควรนําไป ในขณะที่
ของที่จําเปน เชน ไฟฉาย ที่เปดกระปอง ฯลฯ เปนตน เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินและคราวจําเปนจะดีใจที่มี
ติดตัวไว
กลองดํารงชีพ กลองดํารงชีพนี้สามารถประดิษฐเองไดอยางงายๆ โดยใหสามารถใชงานไดจริง
เหมาะสมกับภูมิประเทศ มีขนาดที่สะดวกพกพางาย และกันน้ําเขา ซึ่งในกลองดํารงชีพดังกลาวควรมี
อุปกรณดังนี้
- เบ็ดตกปลาพรอมดาย
- ไมขีดไฟหรือไฟแชค
- เทียนไข
- ยาแกปวด
- ยาแกทองรวง
- เข็มและดาย
- ลวดดักสัตว
ถาหากจะทําให ไมขีดไฟกันน้ําได คือ ใหนําหัวไมขีดจุมลงในน้ําเทียนไขที่ละลาย แลวหักกาน
ออกครึ่งหนึ่งเพื่อประหยัดพื้นที่
ลวดดักสัตว ใชลวดทองเหลืองดีกวา ยาวสัก ๖๐ - ๙๐ ซม.(๒ – ๓ ฟุต) นอกจากใชในการ
ดักสัตวแลวยังใชในการดํารงชีพไดอีกหลายอยาง
ไฟฉาย เล็ก ๆ เปลืองเนื้อที่นอย ใสถานไปในไฟฉาย แตหมุนคลายไว เพื่อกันลืมเปดไฟไว
ถานจะไดไมหมด ถาจะใหดีควรเปนถานลิเธียม (lithium battery) ทนและใชไดนาน
อุปกรณดํารงชีพอื่นๆที่ควรมีติดตัว
- เปสนาม ควรเปนเปสําหรับการเดินปา มีแผนรองกันช้ําที่บา มีเครื่องพยุงหลัง
- เตนท ควรมีน้ําหนักเบา ไมเกิน ๓ กก.
- เปล ควรมีขนาดใหญไมมาก บรรจุลงในเปได
- กางเกงเดินปา แหงงาย และหนาพอสมควร
- เสื้อแขนยาว จะชวยปองกันกิ่งไมขีดขวนได
- รองเทาเดินปา ควรเปนรองเทาหุมขอ
- พลั่วสนาม ใชขุดกลบ สิ่งปฏิกูล
- ไฟแชค/ไมขีดไฟ และเทียน ควรมีติดตัวเพราะเผื่อไดใชประโยชนยามจําเปน
- มีดพก, มีดใหญ กระจกสัญญาณ
- เข็มทิศ
๑๒

- ชุดปฐมพยาบาล, ยากันมาเลเรีย, ยาแกไข, ยาแกปวดทอง เปนตน


- ยาเม็ดฆาเชื้อในน้ํา
สภาวะกดดันและความเครียด ทั้งทางรางกายและจิตใจ ทานจะตองเอาชนะสิ่งตอไปนี้
- ความกลัวและความวิตกกังวล
-ความเจ็บปวด การปวยและการไดรับอันตราย
- ความหนาวและ/ หรือความรอน
-ความกระหายหิว และการเมื่อยลา
- การไมไดหลับนอน
- ความเบื่อหนาย
- ความอางวางเปลาเปลี่ยว
เมื่อไมมีแผนที่ เข็มทิศ หรือนาฬิกา
ถาหากทานถูกตัดขาดจากหนวยของทาน เนื่องมาจากการสูรบกับขาศึกหรือดวยเหตุอื่นใดก็
ตาม ควรพยายามจดจําตําแหนงที่ตั้งของกองทหารพันธมิตร และเดินไปตามทิศทางนั้น ทั้งนี้โดยอาศัย
ดวงอาทิตย และดวงดาวตางๆเปนเครื่องชี้ทิศทาง (ดูการสังเกตทิศทางจากดวงอาทิตย และดวงดาว
ตางๆ ที่จะกลาวตอไป)
กอนเดิน ทางควรจะศึกษาสภาพภูมิประเทศในบริเวณสูรบประกอบกับ แผนที่หรือภาพถาย
สังเกตวาแมน้ําสายใหญนั้นไหลไปทางทิศทางไหน ดูตําแหนงของยอดเขาและแนวสันเขาวาไปในทิศทาง
ใด หรือตําแหนงของภูมิประเทศที่เปนจุดเดนๆ นําจุดตางๆเหลานี้โยงเขาดวยกัน เพื่อหาตําแหนงที่ตั้ง
ของกองทหารพันมิตร
ถ า หากว า มี ความจํ า เป น ตอ งสละเรือ ใหญก ลางทะเล หรื อสละเครื่องบิน เหนือพื้ น น้ํ า ตอ ง
พยายามจดจําทิศทางของพื้นแผนดินที่อยูใกลที่สุด ตลอดทั้งตําแหนงเสนรุง เสนแวง ทิศทางลม และ
ทิศทางของกระแสน้ําในมหาสมุทรนั้นดวย
ถาหากวาทานเปนเชลยศึกที่หนีรอดออกมาได และหลงทางอยูในแดนของขาศึกลองพยายาม
หาที่ซอนตัวพักผอน คิดทบทวนถึงสถานการณตางๆที่เกิดขึ้น และพยายามจดจําจุดตางๆที่ทานพบเห็น
ในขณะที่เดินทางอยูในแดนของขาศึก
การใชแผนที่
แผนที่นับวาเปนสมบัติชิ้นสําคัญที่สุด จะตองพยายามนําติดตัวไปดวยเสมอ เพราะจากแผนที่
นั้นทานก็จะสามารถทราบที่อยูของทาน เลือกเสนทางเดินที่ปลอดภัยตลอดจนการหลบหนีสิ่งกีดขวาง
ตางๆที่ทานจะตองประสบ กอนที่จะใชแผนที่นั้นจะตองแนใจเสียกอนวาตั้งแผนที่ถูกตองตามทิศทางแลว
ซึ่งจะไดอธิบายดั่งตอไปนี้
๑๓

เมื่ อมี เ ข็ มทิ ศ กางแผนที่ ล งบนพื้น ดิน หรือที่ร าบๆวางเข็มทิ ศลงบนแผนที่นั้น และแผนที่ไ ป
จนกระทั่งเสนเหนือ – ใต บนแผนที่ขนานกันกับเข็มชี้ทิศ และใหทิศเหนือของแผนที่ตรงกับทิศเหนือของ
เข็มทิศเสียกอน
เมื่อไมมีเข็มทิศ ใหขึ้นไปบนยอดเขาที่อยูใกลๆ หรือขึ้นบนตนไมก็ได แลวมองดูภูมิป ระเทศ
รอบๆตัว และเปรียบเทียบกับภูมิประเทศในแผนที่ เมื่อทิศทางของที่หมายตางๆในแผนที่ตรงกับภูมิ
ประเทศจริงแลว ก็แสดงวาไดตั้งแผนที่ถูกทิศทางแลว ซึ่งดานบนของแผนที่จะชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ ถา
หากยังไมแนใจก็ควรจะตั้งแผนที่ในขณะที่ดวงอาทิตยขึ้นหรือตก
ในการขามลําหวย ลําธาร และแมน้ํา ควรจะทําแพไมไผ หรือไมที่มีน้ําหนักเบาชนิดอื่นๆ ตน
หมากหรือตนคอ และไมเนื้อแข็งชนิดอื่นๆ ในปามักจะจมน้ําถาจําเปนตองวายขามแมน้ําหรือลําธารแลว
ควรทุมกอนหินลงไปในน้ําเสียกอนเพื่อทดลองดูวามีจระเขอาศัยอยูในบริเวณนั้นหรือไม และกระทุมน้ํา
ในแมน้ําหรือลําหวยนั้นๆไปรอบๆตัวเพื่อไลจระเขเสียกอน ถึงแมวาในปจจุบันนี้ สัตวดังกลาวจะไมชุกชุม
นักก็ตาม
จงทําตัวใหสบายโดยพักชั่วโมงละประมาณ ๕-๑๐ นาที หรือมากกวานั้น ทั้งนี้แลวแตความยาก
งายของการเดินทาง ในขณะที่หยุดพักควรปรึกษากันถึงเสนทางเดิน

รูปที่ ๙ ถากตนไมเปนเครื่องหมายทาง
๑๔

เมื่อเดินทางเปนคณะหรือเปนหมูใหลงฝเทาลงเทากับคนที่เดินชาที่สุด และเดินเปนแถวเรียง
เดี่ยว ใหคนที่เดินอยูแถวถือมีดแผวถางทางหรือตัดกิ่งไมที่ขัดขวาง อยาแซงขึ้นหนากัน ทิ้งระยะหางกัน
ประมาณ ๘-๑๐ ฟุต แตใหมองเห็นตัวกันอยูเสมอ การแยกกันเดินหรือเดินหางกันเกินไปจรมองไมเห็น
ตัวกันนั้นจะเปนเหตุใหพลัดหลงกันงายที่สุด
จงเดินทางดวยความเร็วสม่ําเสมอ อยารีบเดินไปเปนอันขาด ถาสามารถทําไดควรจะเดินชาๆ
ระมัดระวังกันอยูเสมอ สังเกตรังตอ สิ่งที่เปนอันตรายอื่นๆขางหนาไวเสมอ
อยาเหยียบหรือนั่งบนขอนไมหรือตอไมผุ เพราะมักจะเปนที่อาศัย ของ เห็บ มด แมลงปอง
ตะขาบ หรืองูพิษบางชนิด จงหลีกเลี่ยงจากปลักของหมูปา และสัตวใหญอื่นๆ ซึ่งมักจะมีทากและเห็บ
อาศัยอยูในที่เชนนั้น
อยาเคาะ ตี ตนไมที่ยืนตนตาย หรือตนไมผุดวยความคะนองมือ เพราะกิ่งไมตายขางบนอาจจะ
หักหลนลงมาโดนศีรษะได
ในที่ราบต่ํา ตนไมที่มีรากโผลขึ้นเหนือพื้นดินแสดงวา พื้นดินตอนนั้นเปนที่ลุมหรือที่ที่น้ําทวมถึง
จงเลี่ยงจากพื้นที่ลุมดังกลาว โดยเฉพาะอยางยิ่งในปาเลนน้ําเค็ม การเดินทางเกือบจะไมสามารถกระทํา
ในที่ดังกลาวนั้น และบางทีอาจจะเดินไปติดเพียงครึ่งทางเทานั้นตองยอนกลับหลัง เนื่องจากติดโคลน
หรือทางน้ําขวางอยู
ในหุบเขาลึกหรือไหลเขาชันๆนั้น มักจะมีกอนหินใหญๆ และรากไม ซึ่งมีตะไครน้ําและหญา
มอสขึ้นปกคลุมทําใหเปนพื้นที่หลอกๆขึ้น ตองระวังอยาเดินถลําลงไป ซึ่งบางทีอาจไดรับบาดเจ็บขาหักก็
ได
อยากูตะโกนเรียกหากัน เพราะจะทําใหเหน็ดเหนื่อยโดยเปลาประโยชน ควรใชทอนไมตีหรือไม
เคาะลําตนของไมสูงแทนการกูตะโกน ก็จะทําใหเกิดเสียงดังไดยินกองไปไกลกวาเสียงตะโกนเสียอีก
โดยเฉพาะอยางยิ่งตนไมที่เปนโพรง
ในยามวิกาล สัตวปามักจะเดินตามหาทางลําลอง ทางดานสัตว ลําหวยและตามสันเขา ดงนั้นใน
เวลาค่ําคืน ควรจะสรางที่พักใหหางจากบริเวณเหลานี้ หรือบางเวลาอาจจะทํากับดักสัตวปาในบริเวณ
ดังกลาว เพื่อนํามาทําเปนอาหารไดงายกวาแหงอื่น
ถาตองการที่จะเดินทางไปยังหมูบานใหเดินทางไปตามทิศทางของลําน้ําหรือลําหวย เพราะ
หมูบานสวนมากมักจะอยูตามริมฝงน้ําหรือในที่ซึ่งแมน้ําทั้งสองสายมาบรรจบกันและมักเปนเสนทาง
ลําเลียงสินคาของทองถิ่นนั้นๆดวย
ถ า เดิ น ทางออกจากค า ยพั ก และประสงค จ ะเดิ น ทางกลั บ มาอี ก ในภายหลั ง จะต อ งทํ า
เครื่องหมายตามทางที่เดินไปใหเห็นไดชัดเจนโดยการถางตนไมใหเห็นเนื้อไมสีขาวใตเปลือก (ดูรูปที่ ๒)
หรือตัดใบไมจําพวก หมาก หรือคอ วางตามทางเดินโดยกลับเอาดานลางขึ้นเพื่อใหเห็นทองใบทีมีสีจาง
กวาไดชัดเจน หรืออาจจะใชกอนหินหรือกิ่งไมเปนเครื่องหมายชี้ทางเดินไดเชนกัน
๑๕

ขอพิจารณาในการเดินปา
การเดินทางในปาจะสะดวกขึ้นถาหากวาทานไมตื้นตระหนกหวาดกลัวเมื่ออยูคนเดียวในปาและ
จําเปนต องพึ่ งพาอาศั ยสิ่งแวดลอมตางๆนั้น ในกรณีที่ทานตกอยู ในสภาพเชน นั้น กอนอื่นตองนั่งลง
พักผอนคลายอารมณและพยายามคิดหาทางแกไขปญหาตางๆที่เกิดขึ้นเสียกอน วิธีการดังตอไปนี้จะชวย
ทานไดเปนอยางมาก
หาตําแหนงแนนอนที่สุดที่ทานกําลังอยูเทาที่จะสามารถหาได เพื่อที่จะกําหนดทิศทางการเดิน
ไปยังจุดหมายหรือกลับที่ตั้งหนวยไดโดยปลอดภัย ถาไมมีเข็มทิศที่ใชในการดูดวงอาทิตยประกอบกับ
นาฬิกา
ตรวจปริมาณน้ําและเสบียงอาหารที่มีอยูวาพอเพียงจะใชบริโภคไปนานเทาไหร หรือควรหามา
เพิ่มเติมในกรณีที่ตองเดินอีกหลายวันซึ่งไมแนวาจะกลับฐานทัพไดเสมอไป
การเดินทางควรจะเดินไปในทิศใดทิศหนึ่ง แตไมไดหมายความวาตองเดินเปน แนวตรงเลย
ทีเดียว จงหลีกเลี่ยงอุปสรรคนั้นๆถาตกอยูในดินแดนของขาศึกจงอาศัยสิ่งปกคลุมตามธรรมชาติ และที่
หลบซอนตัวเชนในปาหรือตามถ้ําใหเปนประโยชน
การเดินทางจะเร็วหรือชาก็ได แตควรเบี่ยงไหลหลบ ยายสะโพกหนีและกมตัวลงมุดลอดพุมไม
ตามโอกาส การเดินอยางซุมซามขาดความระมัดระวังอาจสะดุดรากไมหกลม หรือถูกหนามเกี่ยวจะทํา
ใหเกิดการฟกช้ําถลอก และถูกขีดขวนขึ้นไดซึ่งอาจเปนอุปสรรคในการเดินทางในภายหลัง
ฝกสายตาใหไวและคนกับสภาพปา ทํานองเดียวกับ “ตาคนปา” หรือ ”ตานายพราน” นั่นคือ
หัดสังเกตสิ่งกีดขวางใหดีเสียกอนที่จะตกเขาไปในที่คับขัน
มีความระมัดระวังอยูเสมอ
หมั่นตรวจสอบทิศทางเดินอยูเสมอ
ควรเดินทางเทา ทางลําลอง และตามแนวเขต ถาทิศทางดังกลาวไมเบนออกจากแนวที่กําหนด
ไวไมเกินกวา ๒๐ องศา
การเดินตามลําหวยจะตองเพิ่มความระมัดระวังใหมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้อาจจะมีสัตวรายลงมากินน้ํา
ในลําธาร หรือไมก็ลื่นหกลมเพราะกอนหินตามลําธารมักจะมีตระไครน้ําเกาะอยู
ควรปองกันอันตรายจากแมลงโดยสวมเสื้อผาตลอดเวลา อยาถลกแขนเสื้อขึ้น และพยายาม
ปกปดทุกสวนของรางกาย ถาหากมีแมลงชนิดที่กัดหรือตอยชุกชุมก็ปองกันไดโดยใสเสื้อชั้นในพันรอบคอ
หรือจะใชโคลนทาผิวหนังสวนที่อยูนอกเครื่องนุงหมก็ได ยัดขากางเกงไวในรองเทาใหแนนเพื่อปองกัน
แมลงเล็ดลอดเขาไป หลีกเลี่ยงการเดินผานที่ชื้นแฉะ ที่รกชัฏมีตนไมขึ้นอยางหนาแนนเทาที่จะทําได
เพราะในบริเวณดังกลาวมักจะมียุง เห็บทาก และแมลงกัดตอยอื่นๆอาศัยอยูชุกชุมมาก

การสังเกตทิศทางจากดวงอาทิตยและดวงดาว
ดวงอาทิตย เนื่องจากภาคพื้นเอเชียอาคเนยสวนใหญตั้งอยูในระหวางเขตรอนจึงทําใหเกิด
ปญหายุงยากในการสังเกตดวงอาทิตย เพราะตําแหนงของดวงอาทิตยในเวลาเที่ยงวันนั้น บางทีก็เยื้องไป
ทางทิศเหนือ และบางทีก็เยื้องไปทางทิศใตจากจุดสูงสุดใตทองฟา (ตรงศีรษะ) ในปหนึ่งจะมีอยูเพียงสอง
ระยะเทานั้นที่ดวงอาทิตยจะอยูตรงศีรษะพอดี นอกเสียจากวาจะทราบเสนรุงของตําบลที่ทานอยูโดย
๑๖

แนนอน และมุมเบี่ยงเบน (declination) ของดวงอาทิตยตามวันเวลาในขณะนั้นเทานั้น เพื่อความ


ปลอดภัยควรกําหนดทิศทางในขณะที่ดวงอาทิตยขึ้น หรือตกจะเปนการดีกวา
ดวงดาว ในซี ก โลกเหนื อ ซึ่ ง เป น ที่ ตั้ ง ของภาคพื้ น เอเชี ย อาคเนย ทิ ศ เหนื อ ที่ แ ท จ ริ ง จะ
คลาดเคลื่อนไปจากแนวที่ลากจากผูดูไปยังดาวเหนือ (North Star or Polaris) ไมเกินหนึ่งองศา ดังนั้น
ในขั้นแรกจะตองพยายามหาตําแหนงที่ตั้งของดาวเหนือใหพบเสียกอน โดยการมองหากลุมดวงดาว
จระเขหรือบางทีเรียกวา กลุมดาวหมีใหญ หรือกลุมดาวกระบวยใหญ (Ursa Major or Big Dipper) ให
พบเสียกอน (ดูรูปที่ ๓) กลุมดาวนี้มี ๔ ดวง มีลักษณะคลายกระบวยตักน้ํา ๔ ดวงเปนตัวตักกระบวย
และอีก ๓ ดวงเปนดาม ใหลากเสนสมมุติระหวางดาว ๒ ดวง ที่เปนดานขางของตัวกระบวยและอยูหาง
ที่สุดจากดามกระบวย เสนสมมุตินี้จะชี้ตรงไปที่ดาวเหนือซึ่งอยูหางจากปากกระบวยประมาณ ๕ เทา
ของระยะระหวางดาวทั้งสองดวงนั้น และอยูในทิศทางที่ปากกระบวยหันไป ดาวเหนือเปนดาวที่สวาง
สุกใสจึงสังเกตไดงาย
ในซีกโลกใต อาจหาทิศทางไดโดยอาศัยกลุมดาวกางเขนใต (Southern Cross) กลุมดาวนี้มี
ลักษณะคลายวาวปกเปา ใหลากสนสมมุติระหวางหัวและหางวาว หรือในแนวแกนตั้งของไมกางเขน
และตอเสนนี้ออกไปทางหางใหยาวประมาณ ๔ เทาของความยาวลําตัววาว แนวที่ลากจากผูดูไปยังจุก
สมมุติที่ปลายสนนี้จะชี้ทิศใตโดยประมาณ กลุมดาวนี้สามารถเห็นไดอยางเดนชัดในประเทศไทย แตถา
อยูตอนเหนือของประเทศไทยขึ้นไปจะมองไมเห็น ในฤดูรอนจะเห็นในตอนดึก สวนในฤดูฝนจะเห็น
ตั้งแตหัวค่ํา
การหาทิศทางโดยไมมีดวงอาทิตยหรือดวงดาวเปนเครื่องชวย
ถาทองฟามีเมฆมากหรือมืดครึ้ม และไมสามารถรอจนดวงอาทิตยขึ้นหรือตกกอนจึงจะออก
เดินทางได ใหขึ้นไปยังจุกสูงๆจุดใดจุดหนึ่งแลวสังเกตดูชนิดของปาในตําแหนงและลักษณะรูปรางของ
ภูเขา แมน้ํา และทิศทางที่น้ําไหลไป ตลอดจนแหลงตนน้ําลําธารตางๆ ก็สามารถกําหนดตําบลที่อยูลง
บนพื้นแผนที่ได แมจะมีแผนที่อยูดวยหรือไมก็ตาม อาจหาทิศทางไดโดยอาศัยลักษณะภูมิประเทศที่
จดจําไดจากแผนที่ซึ่งที่เคยดูมาโดยละเอียดแลว และนําเอามาเปรียบเทียบกับภูมิประเทศที่เห็นรอบๆตัว
แลวบางทีทานอาจจะนึกออกวาสภาพภูมิประเทศแถบนั้นอยูในสวนไหนของแผนที่
๑๗

รูปที่ ๑๐ กลุมดาวกางเขนใต

การรักษาทิศทางเดิน
เมื่อไดตกลงใจและกําหนดทิศทางที่เดินไปทิศหนึ่งแลว จงมั่นใจและรักษาทิศทางนั้นๆไวเลือกที่
หมายในภูมิประเทศที่อยูไกลๆ ซึ่งสามารถมองเห็นไดงายและอยูในทิศทางที่จะเดินนั้น เมื่อเขาไปใกลที่
หมายนั้นแลวก็ใหเลือกที่หมายอื่นที่อยูไกลออกไปออกไปในทิศทางเดียวกันอีก และใหที่หมายแหงหนา
อยูในแนวเดียวกับที่หมายแหงที่ผานมาแลวเสมอ
ในปารกชัฏนั้นอาจไมสามารถมองเห็นที่หมายในระยะไกลๆได แตก็จะรักษาแนวทางเดินไดโดย
การเลือกตนไมใหญๆ ๒ ทางที่ผานมาเพื่อตรวจสอบแนวทางเดินบางเปนครั้งคราว ดวยประการนี้จะ
ชวยเดินทางไปเปนเสนตรง และสามารถที่จะกลับทางเดินนั้นไดโดยไมหลงทาง
ลําหวย สันเขา และตนไมนั้น อาจใชเปนเครื่องหมายนําทางในที่โลงแจงได และสําหรับเดินทาง
ยอนกลับมา ในวันที่มีเมฆหมอก หรือครึ้มฟาครึ้มฝนในปาที่แนนทึบ หรือในสภาพภูมิประเทศที่ไมมี
จุดเดนๆ พอที่จะสังเกตไดนั้น จงใชหินวางหรือบากลําตนไมหมายทาง สําหรับไมพุมก็ใหตัดหรือหักกิ่ง
เปนเครื่องหมาย โดยเฉพาะในที่ๆเปนปาทึบจะเห็นเครื่องหมายเหลานี้ไดชัดเจน แตทั้งนี้ควรจะนํามา
ปฏิบัติดวย ความรอบคอบ เพราะขาศึกมีโอกาสที่จะคนพบได
อยาเชื่อแผนที่ใหมากจนเกินไปในขณะเดินทาง เพราะเหตุวารายละเอียดตามธรรมชาติหรือที่
ทําขึ้นนั้น อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงไปได เปนตนวา หมูบานที่ปรากฏอยูในแผนที่นั้น อาจเปนบานราง
กลายเปนที่รกรางวางเปลาไป หรืออาจหายไปหมดโดยไมมีรองรอยเหลืออยูเลย ลําธารเล็กๆอาจเปลี่ยน
๑๘

ทิศทางได และทางเดินที่ไมคอยไดใชมักจะมีพืชตางๆ ขึ้นคลุมรกไปหมด ที่หมายที่พอจะเชื่อถือได คือ


สิ่งธรรมชาติที่เปนหลักใหญๆ เปนตนวา แมน้ํา หรือภูเขา
เมื่อเดินทางถึงทางสองแพรง จงเลือกทางที่เห็นวามีคนใชทางนั้นมากที่สุด ถาหากวาเดินหลง
ทางแล ว จงหยุ ดทํ าใจใหส งบและพยายามทบทวนความจําถึงจุดเริ่มตน หรือตรงที่หลงนั้นแลว เดิน
ย อนกลั บ ไปยั งที่ นั้ น ใหม ในไม ช าก็จ ะเห็น สภาพภู มิป ระเทศและสิ่งตางๆที่ ชิน ตา ตอจากนั้น จึงเริ่ ม
เดินทางตอไป
การเดินทางตอนกลางคืนในทะเลทราย หรือที่โลงนั้นปลอดภัยดี แตจะไมปลอดภัยในการเดิน
ปา ถาหากมีความจําเปนที่จะตองเดินทางในตอนกลางคืน จงใชโครมไฟที่พรางแสงเมื่อถึงคราวจําเปน
เปนตนวา สองทางในตอนที่ขรุขระและมีอันตราย หรือเมื่อตองการอานแผนที่หรือสองดูเข็มทิศ ในที่โลง
แจงอาจเดินไดอยางถูกตองในระยะทางสั้นๆ โดยเลือกดาวดวงใดดวงหนึ่งที่มีแสงสวางใกลๆแนวขอบฟา
และอยูในทิศทางที่จะเดินไปแลวเล็งใหอยูแนวเดียวกับตนไม หรือที่หมายอื่น ที่อยูขางหนานั้น ตองหมั่น
ตรวจสอบทิศทางเดินกับดาวเหนือ (North Star) หรือกลุมดาวกางเขนใต (Southem Cross) เสมอ
หากมีความจําเปนอาจจะเปลี่ยนดวงดาวที่ใชเปนเครื่องมือนําทางก็ได

การเดินทางออมสิ่งกีดขวาง (Detour)
บอยครั้ งอาจมี ความจํ า เปน ที่จ ะตองเดิน ออมสิ่งกีดขวางตางๆ ในทองที่ทุร กัน ดารอยูเสมอ
วิธีการตอไปนี้จะชวยไมใหเดินหลงทางได
วิธีที่หนึ่ง อาศัยทฤษฎีของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว ซึ่งมีดานสองดานเทากันละมุมที่ฐานเทากัน
สมมุติใหเสนทางที่เดินอยูเดิมเปนดานฐานของรูปสามเหลี่ยม และใหเสนทางเดินใหมที่ออมสิ่งกีดขวาง
เปนดานที่เหลืออีกสองดานของรูปสามเหลี่ยมนั้น หามุมของเสนทางเดินใหมซึ่งเบี่ยงออกไปจากเสนทาง
เดิม (มุม A) โดยการประมาณหรืออาจวัดดวยเข็มทิศก็ได แลวเดินนับจํานวนกาวไปตามดานที่เหลือ
ดานแรกของรูปสามเหลี่ยมนั้น ใหคํานวณจํานวนองศาของมุมที่ตองหันไปเสียกอน (มุม B) โดยเอา ๒
คูณมุมเบี่ยง A แลวนําไปลบ ๑๘๐ องศา ผลลัพธที่ไดจะเปนมุมที่ตอง
หันไปเพื่อเอาดานที่สอง ตอไปจึงเดินนับจํานวนกาวที่นับไวดานแรก เมื่อครบจํานวนกาวก็จะถึงเสนทาง
เดิมเดิม และคํานวณหามุมที่จะหันเขาสูเสนทางเดินเดิม (มุมC) นั้นอีกครั้งหนึ่ง โดยเอามุมเบี่ยงไปลบ
๑๘๐ องศา ผลลัพธจะเปนมุมที่ตองหันเขาสูเสนทางหรือทิศทางที่กําหนดไวแตเดิม แลวจึงเดินตอไป
วิธีที่สอง คือ เลือกที่หมายสูงเดนสองที่หมาย จะเปนตนไมสูงหรือยอดเขาสูงเดนก็ได โดยใหที่
หมายทั้งสองอยูในแนวเดียวกับเสนทางเดิน และที่หมายแระอยูหนาสิ่งกีดขวาง สวนที่หมายที่สองอยู
หลังสิ่งกีดขวาง ภายหลังเมื่อเดินออมสิ่งกีดขวางไปแลวจึงตรวจสอบใหที่หมายทั้งสองอยูในแนวเดียวกัน
อีกครั้งหนึ่ง ก็จะไดเสนทางเดินเดิมอยางถูกตอง
วิธีที่สาม ไดแสดงไวในรูปที่ ๗ โดยอาศัยทฤษฎีของรูปสี่เหลี่ยมพื้นผา ซึ่งมีดานตรงขามเทากัน
และทุกมุมเปนมุมฉาก การหันออกจากเสนทางเดินเดิมหรือการหันเขาจะตองทํามุมฉากทุกครั้ง และใช
จํานวนกาวเชนเดียวกับวิธีที่หนึ่ง
๑๙

รูปที่ ๑๑ การวัดระยะทางและมุมโดยประมาณ

รูปที่ ๑๒ การใชที่หมายสูงเดนซึ่งอยูในแนวเดียวกันกับเสนทาง
๒๐

การเลือกเสนทางเดินและการเดินทาง

การเลือกเสนทางเดินนั้นยอมขึ้นอยูกับอันตรายที่กําลังคุกคามอยู อันไดแกสภาพของลมฟา
อากาศ สภาพของภูมิประเทศละขาศึก ความปลอดภัยเปนหลักเกณฑประการแรกที่ยึดถือ ประการที่
สอง คือ ความสะดวกในการเดินทาง ประการที่สาม คือ ระยะทาง จากประสบการณที่ผานๆมาแสดงให
เห็นวาทางที่ลําบากที่สุดคือทางที่ปลอดภัยที่สุด

การเดินทางตามสันเขา
ตามปกติเสนทางเดินตามสันเขาจะเดินงายกวาตามหุบเขา ทางเดินของสัตวปามักจะผานไปบน
สันเขาบอยๆ และอาจเดินตามทางนี้ได นอกจากนี้สันเขามักจะมีตนไมและพืชพันธตางๆ ที่กีดขวางการ
เดินทางขึ้นอยูนอยและมีจุดสูงสุด ที่สามารถขึ้นไปสังเกตดูภูมิประเทศไดอีกดวย ตามสันเขามีลําหวย
หรือบึง ซึ่งจะตองลุยขามนอยแหง ชาวเขามักชอบเดินตามสันเขาและมักจะเลี่ยงที่สูงชันหรือหุบเขา
อยางไรก็ดีทางเดินเหลานี้มักจะตัดกันสับสบ เปนการยากที่จะเดินไปใหตรงกับทิศทางไดและอาจหลง
ทางไดงาย ดังนั้นควรเดินตามลําหวยมากกวา
การเดินตามลําหวย
ลําหวยเปนทางที่ไมคอยจะคดเคี้ยวมากนัก และอาจเปนทางนําไปสูแหลงชุมชนได ทั้งยังเปน
ที่ๆพอจะหาอาหารและน้ําบริโภคได และบางทีอาจเดินทางดวยเรือหรือแพไดดวย ถึงกระนั้นก็ดีควร
เตรียมตัวใหพรอมที่จะขามน้ํา เดินออมหรือตัดทางฝาไปในดงไมที่ขึ้นหนาแนนอยูตามชายฝง / ถาเปน
ลําหวย ลําธาร ตามยานที่เปนภูเขา ควรระวังดูน้ําตก หนาผา หรือสบหวยตางๆ เพื่อใชเปนจุดตรวจสอบ
กับแผนที่ ในที่ราบน้ําในลําหวย ลําธาร มักจะลดเลี้ยวไปตามที่ลุม ตามฝงมักจะมีปลัก หนอง และมีพันธ
ไมขึ้นรก โอกาสที่จะสังเกตลักษณะภูมิประเทศนั้นคอนขางจะหายาก
การเดินตามชายฝงทะเล
ตามธรรมชาติชายฝงทะเลจะยืดยาวและออมโคง แตก็เปนแนวหลักที่ดีที่สุดในการหาทิศทาง
และยังหาอาหรายังชีพไดงายอีกดวย ชายฝงทะเลที่เปน หาดทรายหรือชะงอนหินนั้นสะดวกตอการ
เดินทางพอประมาณ แตถาเปนหาดเลนที่มีปาเลนน้ําเค็มขึ้นอยูก็เปนเครื่องกีดขวางมนการเดินทางเปน
อยางมาก
การเดินทางในปาทึบ
ถาไดรับการฝกฝนมามากแลว ก็จะสามารถเดินผานดงไมที่แนนทึบไดอยางเงียบๆคอยแหวก
ตนไมไป และอาจเดินทางไปไดไกลๆ อยางปลอดภัย ถานกและสัตวตางๆจะไมสงเสียงตะโกน กระตาก
ขึ้นเสียงกอน โดยเฉพาะพวกกระรอก ซึ้งถาเห็นคนเขามักจะสงเสียงรองเสมอ
ระวังอยาใหกิ่งไมมาครูดเปนแผล หรือถลอกฟกช้ํา และระวังอยาเดินหลงทางตลอดจนการเสีย
กําลังใจ ทั้งนี้โดยอาศัยการฝกสายตาใหวองไวเสมือนกับนายพราน อยาเอาใจใสกับตนไม พุมไมที่อยู
ตรงหนามากนัก จงหยุดเดินบางเปนครั้งคราว สํารวจดูตามพื้นดิน คอยเงียบหูฟงเสียงตางๆและสังเกต
ทิศทางไว
ในที่ที่มีตนไมขึ้นหนาแนน ควรจะใชดาบปลายปนพรา หรือ มีดเดินปาตัดเปนชองพอที่คนจะ
เดินผานไปได การตัดไมดวยมีดควรฟนเฉียงขึ้นหรือเฉียบลงอยางรวดเร็วจะทําใหเกิดเสียงเบากวาการ
๒๑

ฝนชาๆ จงอยาพยายามตัดฟนตนไมขนาดเล็กหรือกิ่งไมใหญๆลง เพราะจะทําใหเกิดเสียงดังซึ่งจะไดยิน


ไปไกลในปา และจะทําใหขาศึกรูตําแหนงได การตัดฟนเถาวัลยหรือไมพุมควรจะฟนขึ้นเพราะจะทําให
เสียงดังยอยลง
ไมเทาที่ทําจากตนไมเล็กๆ ยาวประมาณ ๖ ฟุต จะชวยใหการเดินทางการปนปายสะดวกขึ้น
และชวยพยุงไมใหหกลม
สัตวปามักจะเดินตามดานสัตว ทางสัตวนี้มันจะคดเคี้ยวกวนมาก แตก็นําไปสูแหลงน้ําหรือที่โลง
ได อยาหลับหูหลับตาเดินตามทางดังกลาวนี้นัก ทางดานสัตวมักจะขนานหรือเบนหางออกไปจากทาง
คมนาคมเสมอ ทั้งนี้เพราะสัตวปามักจะหนีเสียงรบกวนจากทางคมนาคมออกไปไกลๆ ตองแนใจวาทาง
นั้นไปในทิศทางเดียวกันกับที่เราตองการเดินไป หรือหมั่นตรวจสอบทิศทางอยูเสมอเมื่อเดินไปตามทาง
นั้น
เมื่อจําเปนตองปนตนไมเพื่อสังเกตการณ หรือเก็บอาหาร ตองลองดูเสียกอนวา กิ่งไมที่จะปน
ขึ้นไปนั้นจะทานน้ําหนักตัวไดหรือไม และจะตองยึดกิ่งไมไวใหมั่น เมื่อปนตนไมตองพยายามเหยียบกิ่งให
ชิดกับลําตน เพราะเปนสวนที่แข็งแรงที่สุดและสามารถรับน้ําหนักไดมาก

การเดินบนภูเขา
การเดินทางบนภูเขาหรือขรุขระทุรกันดาร อาจกอใหเกิดอันตรายและความยุงยาก นอกเสีย
จากจะรูจักหลุมพรางและเคล็ดหลับบางประการเทานั้น
ตามเทือกเขา จะเดินตามสันเขาหรือหุบเขาก็ได ถาหากวาเสนทางเดินนั้นพาไปหุบเหวที่มีพนัง
ตั้งชัน ก็จําเปนตองหาทางลัดขาม
เมื่อเดินไปตามหุบเขา อาจพบที่รกทึบเนื่องจากไมใหญโคนลม โดยธรรมชาติแลวเมื่อตนไม
ดังกลาวลมลง ก็จะเปดเรือนยอดออกเปนโอกาสใหไมพื้นลางเจริญขึ้นอยางหนาแนน และตนไมที่โคนลม
นี้มักพาเอาเถาวัลยตามที่ขึ้นพันอยูโคนลมลงมา จึงทําใหการเดินทางลําบากยิ่งขึ้น
ตามหุบเขาที่มีปาปกคลุมนั้น ตนไมจะมีลําตนสูงมากและเรือนยอกมักจะสูงไลเลี่ยกับตนไมที่
ขึ้นอยูตามลาดเขาและสันเขา ทําใหเรือนยอดติดตอเปนผืนระดับเดียวกัน เมื่อมองจากระยะไกลๆทําให
เขาใจวาบริเวณนั้นเปนที่ราบ
๒๒

รูปที่ ๑๓ วิธีปนตนไม
๒๓

เพื่อเปนการประหยัดเวลาและกําลังงานในการเดินบนเขา จงใหเทารับน้ําหนักตัวเต็มที่ โดยเดิน


ใหพื้นรองเทาสัมผัสกับพื้นดินเต็มที่ ถาเดินกาวสั้นๆและชาๆไปเรื่อยๆก็จะสามารถเดินทางไดโดยไมตอง
หยุดพัก

การเดินขึ้นที่ชัน
ยันเขาเสียนิดหนอยทุกกาวที่เดินขึ้นไป เพื่อใหกลามเนื้อขามีโอกาสไดพักบาง เมื่อเดินขึ้นที่ลาด
ชันสูงๆควรเดินสลับฟนปลาคดเคี้ยวไปมาดีกวาขึ้นไปตรงๆ
ในการเลี้ย วเพื่ อเปลี่ ย นทิศทางเดิน บนที่ชันนั้น ควรกาวขาพรอมกับ หันตัว เลี้ย วตามไปเพื่อ
ปองกันมิใหเทาพันกันซึ่งจะทําใหเสียการทรงตัว

การเดินลงตามเนินเขาลาดชันปานกลาง
เดิ นลงมาตรงๆ ตั้ งหลังตรง และยอเขาเล็กนอย เพื่อชว ยรับแรงสะเทือนทุกกาว ใหเทารับ
น้ําหนักตัวไดเต็มที่ โดยใหพื้นเทาสัมผัสพื้นดินไดเต็มที่แตละกาวที่เดินไป

การเดินขึ้นลงลาดเขาชันหรือหนาผา
พิจารณาเลือกเสนทางเดินอยางถี่ถวนกอนออกเดินทาง โดยแนใจวาจะมีที่ยึดหรือยันไดตลอด
ทาง
ตรวจสอบที่ยึดยันทุกแหงเสียกอนวาจะทานน้ําหนักตัวไดหรือไม
กอนหินที่โยกคลอน ถาทําไดไมควรปน เพราะอาจพลัดตกลงมาหรือกอนหินอาจกลิ้งลงมาทับ
คนขางลางได
การเดินขึ้นไปควรใชขายันและใชมือชวยในการพยุงตัว
ทางที่เลือกนั้นตองเปนทางที่อาจเดินขึ้น หรือลงโดยไมมีอันตรายทุกเวลา
ในการเดินลงมานั้น ถาใชเชือกจะทําใหเดินลงงายยิ่งขึ้น สายรมชูชีพใชแทนเชือกไดเปนอยางดี
เมื่ อ เดิ น ลงมาตามลาดเขา ใหเ ลื อกทางลาดที่ มี กอ นกรวดก อ นหิ น รว นๆอยู เพราะจะเป น
เครื่องชวยใหการเดินสะดวกขึ้น เวลาเดินใหเบี่ยงตัวไปขางๆ เล็กนอยอยาเกร็งตัวและเดินลงมาเฉียงๆ
โดยกาวหรือกระโดดยาวๆ ถาลาดเขามีกอนหินใหญๆ ก็ควรเดินชาๆ และระมัดระวังอยาใหกอนหินหลุด
กลิ้งลงไป เมื่อจะเหยียบลงบนกอนหินควรจะเหยียบสวนบนสุดของกอนหินใหเต็มเทา เพื่อปองกันมิให
พลาดหรือกอนหินพลิกตัวทําใหลมได
๒๔

การขามลําน้ํา
ก อ นที่ จ ะตั ด สิ น ใจข า มลํ า น้ํ าไปนั้ น ควรจะไปยืน ในที่ สู งๆ และตรวจหาลั กษณะของลํ า น้ํ า
เสียกอนดังนี้
ตอนที่น้ํานิ่งเรียบนั้น เปนตอนที่ทางน้ําจะแยกออกเปนหลายสาย
เครื่องกีดขวางบนฝงตรงขามที่อาจถวงการเดินทาง
ตําแหนงตรงฝงตรงขามที่จะเดินทางไดสะดวกและปลอดภัย
ชะงอนหินตามชายฝงแสดงวา ตอนนั้นเปนแกงหรือน้ําลึก
ถามีตนไมขึ้นอยูแนนทึบแสดงวาบริเวณนั้น รองน้ําลึกที่สุด
ควรพยายามทําสะพานโดยการโคนตนไมขวางพาดลําหวย หรือทําแพอยางงายๆ

ในขณะที่กําลังเลือกที่ขามลําน้ําอยูนั้นมีขอเตือนใจตางๆดังนี้
ถาทําไดควรขามลําน้ําเฉียงไปตามกระแสน้ํา ตามแนวมุมประมาณ ๔๕ องศา เพื่อทุนแรงใน
การลุยหรือวายน้ําตานกระแสน้ํา
อยาพยายามขามลําน้ําตอนเหนือหรือใกลกับน้ําตกใหญๆ หรือขามรองน้ําลึกๆ
ควรขามตรงที่กระแสน้ําจะชวยพาไปยังฝงตรงขามหรือสันทรายไดในเมื่อหยั่งเทาไมถึง
ควรเลี่ยงบริเวณที่เปนหิน เพราะถาหากหกลมไปจะทําใหไดรับบาดเจ็บสาหัส แตถาหากมีแกน
หินกลางกระแสน้ําก็จะเปนประโยชนในการขามน้ําไดเปนอยางดี
การลุยขาม
อยาถอดรองเทาและถุงเทาออก เพราะจะชวยปองกันมิใหหินคม เศษไมบาดหรือตําเทาได
จงขามลําน้ําดวยความระมัดระวัง ควรใชไมหยั่งดูความลึกของทองน้ําที่จะเดินไปขางหนาเสมอ เพื่อ
ปองกันมิใหตกลงไปในแองลึก ในการขามลําน้ํานี้ที่กระแสน้ําเชี่ยวนั้น คนที่จะขามไปเปนคนแรกควรมี
เชือกผูกรอบเอวหรือรอบรักแรเอาไว เพื่อพรรคพวกจะไดชวยฉุดขึ้นมาไดเมื่อเวลาเสียหลักลมลง เมื่อ
ขามไปไดแลวจะไดผูกเชือกที่ฝงตรงขามเพื่อชวยใหเพื่อที่เหลือขามไปได
การวายขาม
จงวายทาธรรมดา ทากรรเชียง หรือทาตะแคงขาง เพราะไมมีเสียงดัง และเหนื่อยนอยกวาการ
วายแบบอื่น และผูวายยังสามารถที่จะเอาหอผาหรือเครื่องใชอื่นๆออกวางบนทุนหรือแพรแลววายน้ํา
พยุงสิ่งของบนแพขามไป
ลงลุย น้ํา ออกไปจนกระทั่งน้ําลึกถึงแคอกเสีย กอนแลวจึงคอยวาย ถาน้ําลึกเกิน กวาที่จะลุย
ออกไปได ก็ใหกระโดดลงไปในน้ําโดยใหเทาลงกอน เวลากระโดดควรใหขาชิดกัน แตอยาเกร็งและให
แขนแนบกับลําตัว ถาน้ําลึกไหลเชี่ยวใหวายเฉียงไปตามกระแสน้ํา
ในกรณีที่วายน้ําไมเปนอาจจะใชสิ่งเหลานี้เปนเครื่องชวยในการขามลําน้ํา คือ
เสื้อผา วิธีนี้สามารถนําไปใชไดดีไมพะวงวาจะเกิดเสียงดัง โดยลงไปในน้ําใหกางเกงเปยกน้ํา
เสียกอน แลวถอดกางเกงออกผูกปลายขาแตละขาง กลัดกระดุมหนาใหตลอด จับขอบกางเกงดานหนึ่ง
แลวเหวี่ยงขามศีรษะจากขางหลังมาขางหนา ของกางเกงจะกางออกและกระทบผิวน้ําอยางแรง อากาศ
ก็จะไปอยูในกางเกงทั้งสองขาง และจะไดถุงลมคูหนึ่งเปนเครื่องพยุงตัว
๒๕

รูปที่ ๑๔ วิธีลงน้ําและขามลําน้ําโดยใชสิ่งของใกลตัว (เสื้อผา)


๒๖

รูปที่ ๑๕ วิธีขามลําน้ําโดยใชสิ่งของใกลตัว (เสื้อผา)


๒๗

รูปที่ ๑๖ การผูกถังเขาดวยกันเพื่อใชชวยพยุงตัว
๒๘

ปบ ถังน้ํามัน และหีบเปลาๆ นําสิ่งเหลานี้มาผูกติดเขาดวยกัน (ดูรูปที่ ๑๖)


ทอนซุงและไมกระดาน กอนที่จะใชไมเปนทุนสําหรับชวยในการขามน้ํานั้นจะตองทดลองดู
เสียกอนวาจะลอยน้ําไดแคไหน เรื่องนี้สําคัญมากเพราะไมในปาเขตรอนนั้นสวนมากจะจมน้ํา โดยเฉพาะ
ตนหมาก ตนตาล แมวาไมนั้นจะแหงก็ตาม
แพ การลองแพเปนวิธีการเดินทางที่เกาแกที่สุดวิธีหนึ่ง และมักเปนวิธีที่สุดในการขามลําน้ํา
กาลลองแพไปตามลําน้ําเปนการออกกําลังกายอยางดี ทําใหการเดินทางไดรวดเร็วขึ้นและสิ้นเปลือง
เสบี ย งน อยกว า แต การต อแพรในสภาพการเอาตัว รอดเชน นี้ จะทําใหเหน็ดเหนื่ อยออนเพลีย และ
เสียเวลามาก นอกจากวาจะมีเครื่องมือชวย ถาหากเปนเชนนี้ก็อาจกอแพรได โดยใชทอนไมงิ้วชนิดตางๆ
(Salmalia spp.) ไมปออกแตก (Pterocymbium tinctorium) ไมยมปา (Ailanthus triphysa ) ไม
มะกอกปา (Spondias pinnata) ที่แหงสนิทและไมไผชนิดตางๆ
ถาหากขอยืมแพจากชาวบานไมได ก็อาจจะทําแพเล็กๆขนาด ๑๖ ฟุตคูณ ๖ ฟุตขึ้นไดโดยไม
ตองใชตะปูหรือเชือกเลย และพอที่จะบรรทุกคนพรอมทั้งเครื่องมือไดถึงสามคน ตามวิธีการดังตอไปนี้
วางหมอนไมสองทอนใหลาดลงไปตามตลิ่ง ถากดานบนของหมอนทั้งสองนี้ใหเรียบเพื่อจะไดวาง
ไมลูกบวบใหเรียบ
บากตอนปลายทั้งสองขางของไมลูกบวบใหเปนรองทั้งดานบนดานลางโดยบากดานลางกวา
ดานบน
การประกอบไมลูกบวบเขาดวยกันโดยใชไมคราวที่ถากเรียบสามดานสอดเขามาตามชองที่บาก
ไวนั้น คราวนี้จะยาวกวาดานกวางของตัวแพประมาณ ๑ ฟุต ควรจะทําใหเสร็จดานหนึ่งเสียกอนแลวจึง
คอยพลิกทําอีกดานหนึ่งตอไป
ถาหากมีเชือกหรือเถาวัลยเหนียวๆได ก็ใหผูกปลายไมคราวที่ยื่นล้ําออกไปนอกแพนั้นเขาเสียก็
จะเกิดความแข็งแรงขึ้น เมื่อปลอยแพลงน้ําแลวไมคราวจะขยายตัวออกคับรอยบากทําใหยึดไมลูกบวบไว
แน น หนา ถ า หากไม ค ร า วไม กระชับ แนน ก็ใช ไม แหง ทําลิ่ มตรอกแทรกเข าไป เมื่ อลิ่ม เปย กน้ํา ก็จ ะ
ขยายตัวชวยกระชับไมคราวไดแนนขึ้น
ไมไผเปนอุปกรณที่ใชตอแพรไดดีที่สุด เนื่องจากเบา เหนียว และตัดงาย การตัดไมไผลําใหญๆ
ใหใชมีดฟนรอบๆ ลําใตขอแลวจึงหักออกได มีดเดินปาคมๆใชตัดไมไผไดเปนอยางดี เนื่องแตผิวของไมไผ
เปนสวนที่แข็งที่สุด ฉะนั้นจึงควรจะตัดเปนมุมประมาณ ๔๕ องศา การทําแพไมไผอาจทําไดเชนเดียวกับ
การทําแพไมทอน
การสรางเพิงพักกันฝนบนแพนั้น อาจใชผาใบกันน้ําหรือวัสดุน้ําอื่นๆ ก็ไดเพิงพักกันแดดอาจจํา
ทําไดงายๆโดยใชกิ่งไมสดหรือใบปาลมก็ได
ถาลองแพในที่น้ําตื่นก็ใชไมถอ และในที่ๆมีน้ําลึกๆก็ใชพายุพุยน้ํา
๒๙

รูปที่ ๑๗ วิธีผูกแพ
๓๐

การทําเรือ
อาจจะทําเรือเล็กๆโดยใชผาใบกันน้ําบุนอบโครงไมโคงๆที่ทําจากตนไมตนเล็กๆและใชเชือก
หรือเถาวัลยมัด

การลองเรือหรือแพ
จงเดินทางแตในเวลากลางวันเทานั้น ควรเลียบไปตามริมฝงเพราะจะขึ้นฝงไดโดยเร็วเมื่อมีเหตุ
จําเปน และคอยสังเกตดูกองไมสุม แกง และน้ําตกไวบาง
ตองสรางคายพักใหเสร็จเสียกอนที่จะมืด เนื่องจากภายหลังที่ฝนตกหนักแลว น้ําจะขึ้นอยางรวดเร็ว
ดังนั้นควรจะตองเลือกสรางคายพักในที่สูงกวาระดับน้ําขึ้นสูงสุด สังเกตไดจากรอยคราบน้ําบนตนไม
และเศษขยะตางๆที่ตกคางอยูบนกิ่งไมต่ําขางลําน้ํานั้น ผูกแพไวดวยเชือกยาวๆเพื่อปองกันมิใหพลิกคว่ํา
หรือจมน้ําไดในขณะที่น้ําขึ้น ในเวลากลางคืนควรจะเอาเครื่องมือเครื่องใชตางๆขึ้นจากแพหรือเรือเสียให
หมด
ที่ที่เปนแกงหรือน้ําเชี่ยว
การวายน้ําขามแกงตื่นๆ ใหนอนหงายวายตีกรรเชียงโดยใหเทาหันไปตามกระแสน้ํา พยุงตัวให
ลอยอยูในพื้นระดับ เหยียดแขนทั้งสองไปตามสะโพกและทํามือพุยน้ําเชนเดียวกับแมวน้ําใชครีบคูหนา
วายน้ํา
ตามแกงลึกใหวายน้ําบายหนาเขาหาฝง โดยการวายธรรมดาคว่ําหนาลงระวังกระแสน้ําที่พุง
ประสานกันทําใหเกิดวังน้ําวน เพราะอาจจะดูดใหจมลงไป
หากใชแพขามแมน้ําในตอนที่แมน้ําโคงหรือมีน้ําลึก และกระแสน้ําเชี่ยวแลวก็ใหใชหลักการ
เหวี่ยงตัว (ดูรูปที่ ๑๓) วิธีนี้มีประโยชนมากสําหรับการขามน้ําเมื่อตองการจะขามหลายๆคน เกินกวาที่
แพจะบรรทุกไดเที่ยวเดียวหมด เมื่อแพพุงไปตามกระแสน้ําถึงฝงตรงขามก็รีบกระโดดลงและผลักแพ
กลับมา คนที่อยูฟากนี้ก็ดึงแพกลับมา กระแสน้ําก็จะชวยพัดทําใหดึงแพกลับไดงายแลวจึงดึงแพขึ้นไปยัง
บริเวณตอนเหนือน้ําใหมและปฏิบัติเชนเดิม วิธีนี้จะชวยประหยัดแรงในการพายเรือหรือถอแพขามน้ํา
ในที่ที่มีลูกคลื่น
คลื่นหัวแตกจะยกตัวขึ้นสูง และยนกระชับเขามาเมื่อใกลฝง ยอดคลื่นก็จะมวนเขากระทบฝง
แลวสลายตัวลง คลื่นลูกใหญๆจะสลายตัวหางจากฝงออกไปกวาลูกเล็กๆ
ในที่ๆมีคลื่นพอสมควรนั้นใหวายตามคลื่นลูกเล็กๆไป ยอดคลื่นจะชวยพยุงตัวใหลอยไปไดและ
จงดําลงไปเมื่อลูกคลื่นใกลจะสลายตัว
เมื่อมีคลื่นจัดใหวายมุงไปหาฝง ในระหวางที่อยูระหวางชวงคลื่น (Trough) ถามีคลื่นเลื่อนเขา
มาใหหันหนาเขาหาคลื่นแลวดํามุดลง แลวโผลขึ้นมาวายตอไปเมื่อคลื่นผานไปแลว
๓๑

รูปที่ ๑๘ การใชแพขามลําน้ํา
๓๒

คลื่นที่กระแทกกลับนั้นจะเปนอันตรายมากถาหากคลื่นนั้นมีขนาดใหญ และถาหากตออยูใน
คลื่นใตน้ํา (Undertow) อยาพยายามวายทวนกระแสคลื่น จงวายตามคลื่น ถาหากจมอยูใตคลื่นให
ทะลึ่งขึ้นจากพื้น หรือวายขึ้นมาบนผิวน้ํา และพยายามวายตามคลื่นลูกใหมเขาหาฝง

ปลักเลนหรือโคลนดูด
ปลักเลนหรือโคนดูดมีโอกาสจะพบบางในประเทศไทย ที่เหลานี้มักจะเปนปลักตม ไมมีพันธุพืช
ขึ้นอยู และตามปกติจะไมอาจรับน้ําหนักกอนหินได เนื่องจากน้ําหนักของคนเบากวาจึงไมถึงกับจมตาย
ได หากไมสามารถเดินออมหรือทําสะพานก็ไมไดแลว จงนอนคว่ําลงบนปลักนั้น กางแขนออกพยุงตัวให
นอนขนานกับพื้นและคืบยันออกไปขางหนา

รูปที่ ๑๙ วิธีขามหลนโคน หรือทราย


๓๓

การขอความชวยเหลือจากประชาชนในทองถิ่น
เพื่อใชเปนแนวทางในการจะขอความชวยเหลือจากชาวบานในทองถิ่นตางๆของประเทศไทยละ
ประเทศใกล เ คี ย งว า ควรปฏิ บั ติอ ยางไร ทั้ง นี้เ นื่องจาก ภาษาวัฒ นธรรม ตลอดจนขนบธรรมเนีย ม
ประเพณี ยอมแตกตางกันไปตามทองที่ เนื้อเรื่องของบทนี้จะไดกลาวแตเพียงกวางๆ เพื่อประสงคจะให
ใชทั้งทหารไทยและสัมพันธมิตร
จุดมุงหมายสวนใหญของทหารซึ่งถูกตัดขาดหรือหลงทางมาจากหนวยของตนนั้น ก็คือ การ
พยายามกลับไปใหถึงฐานทัพสัมพันธมิตรหรือหนวยของตนใหเร็วที่สุด ในกรณีนี้อาจจําเปนตองพึ่งพา
ประชาชนในทองถิ่นนั้นๆ ในการหาอาหาร น้ํา ที่พักชั่วคราว และสอบถามทิศทางเดิน ความตองการใน
อัน ที่จ ะขอความช ว ยเหลือจากประชาชนในทองถิ่นจะมีมากขึ้นหากไดรับ บาดเจ็บ จนไมส ามารถจะ
เดินทางตอไปได โดยเฉพาะอยางยิ่งในเวลาสูรบดวยแลว จําเปนตองเดินทางฝาไปในแนวขาศึก ดังนั้น
การติดตอผูกมิตรกับประชาชนในทองถิ่นอาจจะเปนวิธีที่ทําใหเอาตัวรอดได
ชาวไทย
ประเทศไทยมีพลเมือง ๗๐ ลานคน มีเนื้อที่ประมาณคราวๆเทากับประเทศฝรั่งเศส สําหรับชาติ
ใหญขนาดนี้ทั้งๆ ที่ไดมีการติดตอสัมพันธกับนานาประเทศอยางกวางขวางก็ตาม แตวัฒนธรรมของชาว
ไทยก็ เ ปน อั นหนึ่งอั นเดี ยวกั น จะมีบางทองถิ่น เทานั้น ที่ไมมีผูอาศัย อยูเลย ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากภูมิ
ประเทศแห งแล ง เป น ภูมิเ ขาไม เ หมาะกับ การเพาะปลูกทํามาหากิน ตามปกติผูที่เคยเดิน ทางมาใน
ประเทศไทยจะเห็นวาเพียงไมกี่กิโลเมตรจะตองผานหมูบานอยูเสมอ พลเมืองสวนใหญเปนเชื้อชาติไทย
หรือไต และนับถือศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท พระมหากษัตริยไทยเปนสัญลักษณแหงความสามัคคีของ
ชาติ และเปนที่เคารพสักการะของประชาชนทั่วประเทศ
ชนกลุมนอย
ในประเทศไทย บรรดาชนกลุมนอยที่ไมใชเชื้อชาติไทย มีไมถึง ๑๔% ของพลเมืองทั้งหมด แต
สวนใหญตั้งรกรากอยูในเมืองใหญๆหรืออยูตามเทือกเขาในภาคเหนือของประเทศไทย ในหนังสือคูมือ
เลมนี้จะไดกลาวถึงชนกลุมนอยนี้แตเพียงเล็กนอยเทานั้น ชนชาติกลุมนอยบางพวกกําลังถูกกลืนสัญชาติ
ไทยเปนคนไทยโดยการแตงงาน หรือความเกี่ยวพันทางธุรกิจ และสังคม ชาวจีนจึงอพยพเขามาและ
ลูกหลานที่สืบเชื้อสายตอลงมานั้นมีประมาณ ๑๐% ของพลเมืองไทย หรือประมาณ ๓ ลานกวาคน ชาว
จีนสวนใหญมีอาชีพทางพาณิชยกรรม หรือการคาขายและสวนนอยประกอบอาชีพกสิกรรม ชาวจีนที่
เกิดในประเทศไทยเปนจํานวนมากนั้นจะตองเปลี่ยนมาถือสัญชาติไทย ชนกลุมนอยที่สําคัญอีกพวกหนึ่ง
ไดแกชาวอินเดีย และปากีสถานซึ่งมีจํานวนประมาณ ๖๐,๐๐๐ คน ซึ่งพวกนี้ยึดอาชีพในการคาขายและ
เลี้ยงสัตวเปนสวนใหญ ดวยเหตุผลดังกลาวจะเห็นวาเปนธุรกิจตางๆตลอดจนการคาขายสวนใหญใน
ประเทศไทยตกอยูในมือคนตางดาวเปนสวนใหญ
สภาพวัฒนธรรมตามภูมิภาคตางๆ
ราชอาณาจักรไทยแบงออกเปน ๗๖ จังหวัด ซึ่งแตละจังหวัดยังแบงออกเปนอําเภออีกตั้งแต ๕
ถึง ๙ อําเภอ แตละอําเภอแบงยอยออกไปอีกเปนตําบล มี ๘ ถึง ๙ ตําบล และแตละตําบลยังแบง
ออกเปนหมูบานเฉลี่ยแลวในตําบลหนึ่งมีประมาณ ๘ หมูบาน
เพื่อความสะดวกสําหรับผูที่จะยังชีพอยูไดนั้น ควรแบงแยกประเทศไทยออกไปตามลักษณะภูมิ
ประเทศและวัฒนธรรม เปนภาคใหญ ๕ ภาค ซึ่งมิใชเปนการแบงตามสวนการปกครอง ขนาดของแตละ
๓๔

ภาคไมเทากัน แตละภาคก็ประกอบดวยหลายๆจังหวัดรวมๆกัน ภาคกลาง ประกอบดวยที่ราบลุมแมน้ํา


เจาพระยา ซึ่งเปนที่ผลิตขาวไดมากที่สุดในโลก กรุงเทพซึ่งเปนเมืองหลวงของประเทศไทยก็ตั้งอยูในภาค
นี้ สวนภาคอื่นๆมีดังนี้ คือ
๑.ภาคเหนือ ขนบธรรมเนีย มประเพณี ประเพณีดั่งเดิมของชาวไทยยังคงมีอยู ในภาคนี้มี
มากกวาภาคอื่นๆของประเทศ และมีพวกชาวเขาอยูเปนจําพวกมาก ซึ่งจะไดกลาวในตอนตอไป
๒.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในภาคนี้ประชาชนสวนมาก มีความสัมพันธเกี่ยวดองอยางใกลชิด
กับชาวลาว ซึ่งตั้งถิ่นฐานอยูทางฝงตรงขามแมน้ําโขง สภาพโดยทั่วไปของภูมิภาคในแถบนี้ของประเทศ
สวนใหญแหงแลง รัฐบาลกําลังเรงรัดการพัฒนาอยางหนัก เพื่อยกระดับการครองชีพของประชาชนให
สูงขึ้น บางจังหวัดทางตะวันออกสุดของภาคนี้ เชนจังหวัดนครพนม สกลนคร และอุบลราชธานี เปนตน
มีผูลี้ภัยชาวเวียดนามประมาณ ๔๕,๐๐๐ คน อพยพเขามาพํานัก สวนใหญอาศัยอยูในยานชุมชน
๓. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภูมิประเทศของภาคนี้สวนใหญเปนภูเขามีชนชาติกลุมนอยเปน
ชาวกระเหรี่ยงอาศัยอยูเปนจํานวนไมนอย และอยูกระจัดกระจาย
๔. ภาคใต ตามจังหวัดติดตอกับประเทศกัมพูชานั้น มีชาวเขมรอาศัยอยูตามหมูบานตางๆ
ประมาณ ๑๘๕,๐๐๐ คน และนับถือศาสนาพุทธ เชนเดียวกับชาวไทย เวนแตวาสวนมากยังคงพูดภาษ
เขมรอยูเทานั้น ในสี่จังหวัดภาคใตของไทย มีชาวอิสลามประมาณ ๗๖๐,๐๐๐ คน ประชาชนสวนมาก
พูดภาษามลายู มีอิหมามซึ่งเปนหนาที่ฝายศาสนาในสุเหรา มีอํานาจหนาที่สูงกวากํานันหรือผูใหญบาน
ภาษาพูดของประชาชนในภาคกลาง ถือวาเปนภาษกลางของประเทศไทยทั้งหมดสําหรับภาษา
อื่นๆของประเทศไทยนั้น มีภาษาพูดที่ผิดเพี้ยนกันออกไปในแตละพื้นที่ คนที่ไดรับการศึกษาสวนมากก็
พูดภาษากลางได ทนอกจากนี้ทหาร ตํารวจภูธร ชายแดน และขาราชการพลเรือนทั่วไปของไทยที่
ประจําอยูตามถิ่นทุรกันดารในสวนตางๆ ของประเทศก็สามารถพูดภาษาไทยภาคกลางไดทุกคน
ดวยเหตุนี้ประเทศไทยมีบทบาทสําคัญในทางเศรษฐกิจของภาคเอเชียอาคเนย ดังนั้นประชาชน
บางพวกในประเทศใกลเคียงจึงสามารถพูดภาษาไทยกลาง หรือพูดภาษาบางภาคของประเทศไทยได
โดยนิสัยของคนไทย มักชอบพบปะสังสรรคกับคนแปลกหนาอยางสนิทสนม ถาเปนการเขามา
หาอย า งเป น มิ ตร ด ว ยความสุ ภ าพและเปดเผย ตามปกติในหมูบานชาวไทยสว นมากนั้น บุคคลชั้น
หัวหนา ที่รอดชีวิตมาควรจะเขาไปติดตอขอความชวยเหลือกับผูใหญบาน สมภารวัด และครูประชาบาล
สวนตามหมูบานมุสลิมนั้นควรไปติดตอขอความชวยเหลือจากอิหมามหรือหัวหนาทางศาสนาซึ่งเปนบุคล
ที่มีตําแหนงสูงสุดในหมูบาน
ความชว ยเหลือที่ จ ะได รั บ จากชาวบานไทยนั้น ขึ้น อยูกับ การที่เราจะปฏิบัติตัว กับ ชาวบาน
อยางไร และอาจขึ้นอยูกับความหวาดกลัวของชาวบานจากการกอการรายของฝายขาศึกดวยผูรอดชีวิต
มาได ไมควรขูบังคับชาวบานดวยอาวุธ ขอสําคัญอีกประการหนึ่ง คือ การตกรางวัลเปนเงินหรือสิ่งของ
ใดๆเปนจํานวนมากจนเกินสมควรนั้น อาจทําใหชาวบานเกิดความหวาดระแวงขึ้นไดเหมือนกัน โดย
ชาวบานอาจคิดวาเปนการติดสินบนหรือคิดไปในแงไมดีอยางอื่นก็ได
การใหความเคารพตอสถานที่สวนตัวของชาวบานนั้น นับวาเปนเรื่องสําคัญ ไมควรเขาไปใน
บานของผูหนึ่งผูใดโดยไมไดรับเชิญ ถาประสงคจะพูดกับคนในบานควรใชใหเด็กเขาไปบอกลวงหนา
เสียกอน หรือเชิญออกมาหาก็ได เพราะการเดินถืออาวุธเขาไปเปนกลุมนั้นอาจทําใหชาวบานตกใจและ
๓๕

ซอนตัวกันหมด ผูรอดชีวิตมาไดไมควรลวนลามหญิงสาวชาวบานอยางเด็ดขาดโดยเฉพาะตามหมูบาน
ชาวมุสลิมดวยแลวตองยึดถือกฎขอนี้อยางเครงครัด
ชนชาวเขา
ในประเทศไทยมีชาวเขาอยูประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ ถึง ๕๐๐,๐๐๐ คน รวมทั้งพวกที่พึ่งอพยพลง
มาจากประเทศใกลเคียง คือ ลาว และ พมาดวย ชนเผาใหญๆก็คือ กระเหรี่ยง อยูใกลชายแดนที่ติดตอ
กับประเทศพมาในภาคตะวันตก แมว กระจัดกระจายอยูทั่วไปทางภาคเหนือและทางภาคตะวันตก ขา
ลาฮู และผูไท ตามเทือกเขาตอนเหนือสุดของประเทศ เงาะ และชาวน้ําซึ่งมีจํานวนนอยทางปกษใต
ชนเขาเผาตางๆ เหลานี้ สวนมากมีความเปนอยูตลอดจนขนมธรรมเนียมประเพณีไมเหมือนกัน
ตามขอเท็จจริงแมแตในเผาเดียวกันเอง ลักษณะความเปนอยูของแตละหมูบานก็ยังแตกตางกันไปตาม
สภาพภูมิประเทศที่ทํามาหากิน อยางไรก็ตามที ชนชาวเขาเผาตางๆเหลานี้มีความแตกตางกันไปจาก
ชาวไทยสวนใหญในชนบทอยางชัดเจน ทั้งทางดานวัฒนธรรมและขนบประเพณี พวกนี้ไมไดเปนชนชาติ
ไทยหรือไต ซึ่งพวกนี้สวนใหญนับถือผีสาง เทวดา แทนพระพุทธศาสนา ยังคงแผวถางทําลายปาเพื่อ
เพาะปลูก และยายหมูบานเมื่อดินในบริเวณเพาะปลูกขาดความอุดมสมบูรณไป ในบางหมูบานจะหาคน
ที่พูดภาษาไทยกลาง หรือภาษาทองถิ่นนั้นๆไดยากเต็มทีแมวาจะมีถนนตัดผานเขาไป และมีกิจกรรม
สงเคราะหบางประการทีทําใหชนชาวเขากับประชาชนชาวไทยไดมีการติดตอกันแลวก็ตาม ฉะนั้นในการ
ติดตอกันชนชาวเขาจึงจําตองใชภาษาใบกันอยูเสมอ นอกจากบังเอิญมีลามที่พูดภาษาชาวเขาไดเทานั้น
แตบางหมูบานที่มีการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินคากับคนไทยตามหมูบานใกลเคียง ก็อาจจะพบกับชาวเขาที่
พูดภาษาทองถิ่นนั้นได
ขอแนะนํ าตางๆสํ าหรับการติดตอกับ ชาวไทยตามชนบทดังที่ไดกลาวมาแลวขางตนนั้น อาจ
นํามาใชกับชาวเขาได ผูรอดชีวิตมาไดจะตองแสดงกิริยาสุภาพควรพยายามติดตอทําไมตรีกับผูใหญบาน
และสอบถามสถานที่ตั้งที่ใกลที่สุดของกองทัพไทย ตํารวจภูธรชายแดนหรือสถานที่ราชการ ไมควรคู
บังคับชนชาวเขาและไมควรตบรางวัลใหมากเกินสมควร ไมควรลวงล้ําเขาไปในที่สวนตัวเชน หองนอน
หรือบริเวณที่ชาวเขาใชเปนสักการบูชาหรือลวนลามผูหญิงเปนอันขาด ไมควรทําเสียงอึกทึกหรือรองรํา
ทําเพลงเขาไปในหมูบานชาวเขา ทั้งนี้เพราะชาวเขาสวนใหญถือวาผีประจําหมูบานไมชอบ และเราจะไป
ขอความชวยเหลือใดๆไมไดเลย
ถาหากไมมั่นใจวาชนชาวเขายินดีตอนรับหรือไม จงสงคนในคณะคนหนึ่งเขาไปในหมูบานกอน
ขณะที่ ผู นั้น กํ าลั งคนเข า ไปในหมู บาน คนอื่น ที่เขาไปดว ยกัน ควรเคลื่อนยายไปที่แหงใหมเสีย กอนที่
ชาวเขาจะรูวาเคลื่อนยายแลว
ถาหากผูแปลกหนาแสดงตนวาไมหวั่นเกรงตอชนเขา และไมทําอันตรายใดๆแกเขาเขามักจะ
แสดงความเปนมิตรตอบและหากตองการอาหาร ที่พัก และความชวยเหลืออื่นๆในบางครั้งชนชาวเขา
อาจพอชวยเหลือไดบางเทาที่จะสามารถชวยได แตอยางไรก็ตามควรทําตัวใหสุภาพกับคนในหมูบานนั้น
โดยเฉพาะอยางยิ่งกับหัวหนาหมูบานและครอบครัวของเขา ขอสําคัญอีกประการหนึ่งก็คือ ไมกระทํา
การใดๆอื่นๆเปนการลบหลูดูหมิ่นสถานที่หรือสิ่งบูชาของเขาเชน ศาลเจา ประตูผี หรือที่สักการอื่นๆเปน
ตน
๓๖

บางครั้งชาวเขาก็พอใจที่จะแลกเปลี่ยนอาหาร หรือผลิตผลจากหัตถกรรมบางอยางกับสิ่งของ
เล็กๆนอยที่พอจะเจียดใหได เชน ไมขีดไฟ ยาสูบ เกลือ ใบมีดโกน ภาชนะ หรือเสื้อผา เหลานี้เปนสิ่งที่
ชาวเขามักจะพอใจ ตลอดจนผาหมนอน ยาแอสไพริน และยารักษาโรคชนิดตางๆ
ตามปกติชาวเขามักจะเปนโรคติดตอตางๆเสมอควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับคนเหลานี้พยายาม
อยาใหชาวเขาเกิดความรูสึกไดวาพยายามหลีกเลี่ยงการสัมผัส ถาสามารถทําไดโดยไมกอใหเกิดความขุน
เคืองขึ้นแลวก็ควรหุงตมอาหารและเครื่องดื่มของตนเอง ถาถูกถามวาทําไมจึงตองตมน้ําควรตอบไปวา
เปนประเพณี แลวชนชาวเขาก็จะเชื่อสนิท ถาสามารถทําไดควรพักแยกออกไปตางหาก บางทีชาวเขาก็
อาจจะชวยทําดวย ในการอาบน้ําหรืออาบน้ํามาใชในการหุมตมแลว ควรอาบหรือใชน้ําในลําธารตอน
เหนือของหมูบานชาวเขา ทั้งนี้เพื่อปองกันโรคติดตอและชาวเขามักจะเอาสัตวเลี้ยงตางๆลงกินน้ําในลํา
ธาร ตลอดจนสิ่งปฏิกูลตางๆในหมูบานจะถูกชะลางลงในลําธาร ถาหากนําเอาน้ําในลําธารไปใชอาบกิน
อาจจะทําใหเกิดโรคตางๆไดงาย โดยเฉพาะโรคผิวหนังและโรคทองรวง
ถาหากอาศัยอยูกับชาวเขาชั่วระยะหนึ่ง ควรจะศึกษาและปฏิบัติตามกฎเกณฑและขอหามตางๆ
ของเขา จงพยายามเรียนภาษาของเขาใหรูบางสัก ๒-๓ คํา
ซึ่งจะทําใหพวกเขารูสึกภูมิใจและจะชวยสอนใหถาหากแสดงความสนใจ ในขณะเดียวกันควร
จะศึกษาเทาที่พอจะทําไดเกี่ยวกับการเดินปา แหลงที่มาของอาหาร และภยันอันตรายในทองถิ่นนั้น
โดยเฉพาะอยางยิ่ง ถาจําเปนที่จะตองเดินทางโดยลําพังในภายหลังทานก็จะสามารถทําไดเอง
การสงสัญญาณ
โอกาสที่จะขอความชวยเหลือนั้นมีอยูเสมอ แตเปนการยากที่จะมองเห็นบุคคลเพียงคนเดียว
หรือกลุมเดียวไดจากทางอากาศ โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อทัศนะวิสัยเลว ดังนั้นจําเปนตองแสดงตําแหนง
ทานที่อยูและความตองการของตนใหผูที่จะชวยเหลือไดทราบดวย
เมื่อใชเครื่องหมายสัญญาณตามรูปที่ ๑๕ นั้น ควรจะเลือกวัสดุที่มีสีตัดกับบริเวณที่กําลังอยู ถา
หากวาตรงบริเวณนั้นเปนหาดทราย ก็ทําเครื่องหมายสัญญาณบนผิวทรายใชกอนหินหรือสาหรายทะเลก็
ได
ควันไฟเหมาะสําหรับที่จะสงสัญญาณในตอนกลางวัน และใชกองไฟในเวลากลางคืน ในการทํา
ควันสีขาวนั้น อาจทําไดโดยสุมกองไฟกองใหญ แลวคอยๆใสพวกใบไมสดๆ ตะไครน้ําลงไปหรือจะเอาน้ํา
พรมดวยก็ได
เสื้อชั้นใน กางเกงใน หรือกางเกงขายาว อาจนํามาดัดแปลงเปนธงไดและใชโบกหรือปูทาบลง
กับพื้นที่มีสีตัดกัน ถาขึ้นตนไมสูงๆได ใหชักธงสีขาวหรือสีอื่นไวบนคันไมยาวๆ
ใช กระจกสงสั ญ ญาณ ซึ่งกระจกเงาสองหนา หรืออาจใชวัตถุส ะทอนแสงอื่น ๆ เชน พวก
กระปองอาหารก็ทําได
โดยเจาะรูกลมโตพอประมาณที่ตรงกึ่งกลางแผนสะทอนแสง ถือแผนสะทอนแสงใหหางจากใบหนา
ประมาณ ๒-๓ นิ้ว เล็งดูเครื่องบินผานรูที่เจาะไว จุดสวางของแสงอาทิตยที่สองผานรูของแผนสะทอน
จะตกถู กที่ ใ บหน า หรื อที่ เ สื้ อของผูส งสัญ ญาณ ซึ่งผูส งสัญ ญาณจะมองเห็น ภาพปรากฏอยู บ นแผ น
สะทอนแสง พยายามปรับมุมของบนแผนสะทอนแสงจนภาพของจุดสวางที่ปรากฏอยูบนแผนสะทอน
แสงนั้นไปตรงกับรูที่เจาะไว และขณะเดียวกันก็เล็งดูเครื่องบินผานรูนั้นดวย ผลก็คือแสงที่สะทอนจาก
แผนสะทอนแสงก็จะตรงไปยังเครื่องบินพอดี เมื่อนักบินรับทราบแลวก็ใหหยุดสงสัญญาณได
๓๗

ในวันที่มีหมอกนักบินสามารถมองเห็นแสงสะทอนนี้ไดเปนระยะทางไกลๆ กอนที่ผูขอความชวยเหลือ
ทางภาคพื้นดินจะสามารถมองเห็นเครื่องบินไดเสียอีก ดังนั้นจึงใหสงสัญญาณสะทอนแสงกวาดขึ้นไปใน
ทองฟาตามทิศทางที่ไดยินเสียงเครื่องบิน ถึงแมจะมองไมเห็นเครื่องบินก็ตาม

ตองการหมอ ไดรับบาดเจ็บ
ตองการยารักษาโรค
ไมสามารถปฏิบัติการได
ตองการอาหารและน้ํา
ตองการอาวุธปนและกระสุน
ตองการแผนที่และแผนที่เข็มทิศ
ตองการตะเกียงสงสัญญาณพรอมแบตเตอรี่และวิทยุ
โปรดชี้ทิศทางสําหรับปฏิบัติการ
กําลังปฏิบัติอยูที่ทิศทางนี้
จะพยายามเคลื่อนที่ออกไป
เครื่องบินไดรับความเสียหายอยางหนัก
อาจจะลงสูพื้นดินตรงนี้ไดโดยปลอดภัย
ตองการเชื้อเพลิงและน้ํามัน
ทุกอยางเรียบรอย
ไมใช
ใช
ไมเขาใจ
ตองการวิศวกรรม

รูปที่ ๒๐ เครื่องหมายตางๆที่ใชติดตอกับเครื่องบินในยามฉุกเฉิน
๓๘

รูปที่ ๒๑ ทําเครื่องหมายสัญญาณ
๓๙

รูปที่ ๒๒ การสงสัญญาณดวยกระจก
๔๐

ที่พัก
การเลือกสถานที่พัก
กอนสรางที่พักควรเลือกสถานที่ตั้งโดยรอบคอบ ดังนี้
๑. เลือกสถานที่พอจะหาอาหาร น้ํา และวัสดุทําที่พักไดใกลๆ
๒. เลือกสถานที่ราบพอที่จะทําใหนอนได มีกําลังตามธรรมชาติที่สามารถปองกันลม ฝน และ
น้ําทวมไดและไมมีแมลงรบกวน ใหสังเกตดูวามีเศษขยะติดคางอยูบนกิ่งไมและพุมไมเตี้ยๆหรือไม เพราะ
จะแสดงใหทราบวา น้ําเคยไหลบาขึ้นทวมสูงแคไหน
๓. ที่ตั้งที่พักที่ดีจะตองเปนเนินหรือที่สูงอยูในที่โลงหางไกลจากบึง พื้นดินยิ่งสูงก็ยิ่งแหง จะมี
ลมพัดดีกวา และยุงก็มีนอยกวา
๔. รักษาความสะอาดของสถานที่พักใหมากที่สุดเทาที่จะทําได เพราะเศษมูลฝอยนั้นจะเปน
เครื่องลอแมลง เศษอาหารควรจะฝงหรือทิ้งใหหางไกลจากที่พักเพราะมดชอบกินและอาจรบกวนได
๕. อยาสรางที่พักใตตนไมใหญที่มีกิ่งผุ หรือมีผลใหญ
๖. อย า สร า งที่ พั ก ในท อ งน้ํ า ถึ ง แม น้ํ า จะแห ง ผากก็ ต าม เพราะน้ํ า อาจท ว มขึ้ น มาภายใน
ระยะเวลาสองสามชั่วโมงได ถามีฝนตกไกลๆซึ่งไมอาจทราบไดเลย
๗. ถาทานตองตั้งที่พักระหวางเวลากลางวัน และตองเคลื่อนยายในเวลากลางคืนแลวรมไม
ชายฝงน้ําเปนดีที่สุด
๘. บางคราวอาจอาศัยที่พักใตชะงอนผาหรือถ้ําไดเปนอยางดี
อยาไดตั้งหนาเลือกหารที่พักใหไดลักษณะครบถวนทุกประการ ดังที่กลาวมาแลวนั้นมิฉะนั้น
แลวอาจจะตองเสียเวลาเดินทางหาทั้งคืน
ควรเลือกหาที่ตั้งคายพักใหไดในเวลาอันสมควร เพื่อจะไดจัดทําใหมั่นคงปลอดภัยและอยูอยาง
สบายไดกอนค่ํา ในเขตรอนนั้น ระยะที่มีแสงเงินแสงทองกอนดวงอาทิตยตกตามปกติมีเวลานอยกวา
๓๐ นาทีและมืดเร็ว
หลังจากเลือกที่เหมาะสมไดแลว ใหเก็บกวาดเศษไม ใบไมที่ผุเนาออกเสียใหหมด เพราะขยะมูล
ฝอยเปนเครื่องลอ เห็บ มด ทาก และแมลงอื่นๆ ถาไมตกอยูในแดนของขาศึกก็ใหกอไฟขึ้นไดเพราะควัน
ไฟจะชวยไลแมลงที่รบกวนออกไป นอกจากนั้นไฟยังเปนเครื่องชวยนําทางใหผูที่มาชวยเหลือ และใชหุง
อาหารตมน้ํา จงเก็บไมฟนที่เหลือใหเรียบรอยและหาใบไมมาปดพรางกันฝนเสีย
ชนิดของคายพัก
การเลือกชนิดของคายพักนั้นขึ้นอยูกับสิ่งตางๆ หลายกรณีเชน เวลาที่จะพอมีทําที่พักระยะเวลา
ที่จะใชพักอยู และจําเปนที่ตองใชปองกันฝน ความหนาว ความรอน แสงแดด ความชื้น หรือแมลงตางๆ
เพียงใด

คายพักงายๆทีทําจากรมชูชีพ
คายพักชนิดนี้ทําไดงายที่สุด คือ เอารมชูชีพหรือผาใบกันน้ําพาดบนเสนเชือกหรือเถาวัลยที่ขึง
ไว ระหวางตนไมสองตน หรือใชไมเสาคํายัน
๔๑

คายพักแบบมุมหลังคา
คายพักแบบมุมหลังคาปองกันฝนไดเปนอยางดี และสามารถทําไดโดยทําโครงรูปรูปตัว A แลว
มุงหลังคาดวยใบไมจําพวกหมากและหวาย หรือใบไมกวางชนิดอื่นๆเปลือกไมหรือฟอนหญาก็ใชได (ดูรูป
ที่ ๑๙) จะใชใบกลวยมุงก็ได แตใบกลวยสดมักจะฉีกเร็วเปนริ้วๆ กอนใชควรจะอังไฟใหตายนึ่งเสียกอน
โดยกอไฟขึ้นบนแผนหินใหญหรือจุดบนลานหินกอนเล็กๆ เมื่อหินรอนดีแลวก็เอาใบกลวยนาบลงบนแผน
หินรอนนั้นจนกระทั่งใบกลวยเปลี่ยนเปนสีคล่ํากระดางและเปนมัน จึงนําไปใชมุงหลังคาได หรือเอาใบ
กลวยลนไฟก็ได
เวลามุงใหมุงแบบมุงกระเบื้องเอาปลายใบลงดานลาง เริ่มตนมุงจากดานลางขึ้นไปกอนเพื่อที่
น้ําฝนจะไดไหลลงไดตลอดไมติดคาง คายพักแบบนี้กันน้ําฝนไดอยางสมบูรณ หลังจากสรางคายพักเสร็จ
แลว ควรขุดทางระบายน้ําเล็กๆภายใตชายคาของคายพัก และควรใหระบายลงไปตามเนินเขาเพื่อทําให
พื้นที่พักที่พักใตเพิงแหงอยูเสมอ
คายพักแบบเพิงหมาแหงน
บางครั้งก็อาจเปนการดีที่จะสรางคายพักแบบนี้ ถาโชคดีไปพบถ้ําหรือเงื้อมผาเขา
เตียงนอน
เพื่อใหรางกายไดรับการพักผอนที่แทจริง ควรจะนอนบนเตียงเปนนิจสิน นอกจากนั้นยังชวยให
พนจากมด แมงมุม ทาก แมงปอง และแมลงตางๆที่มารบกวนไดดวย
เตียงที่ดีพอประมาณนั้นสามารถทําไดบนพื้นดินที่เตียนๆ โดยปูลาดดวยกิ่งไมและแขนงไมเล็กๆแลวใช
ใบไมพวกหมากหรือใบไมใหญๆปูทับขางบนอีกชั้นหนึ่ง
อาจทําเตียงที่ดีกวาตามกลาวมาแลวนั้นโดยใชไมไผหรือไมชนิดอื่นผูกเปนโครงขึ้น แลวใชใบไม
จําพวกหมากชนิดที่ไมมีหนามปูทับขางบนประมาณ ๔-๕ ขั้น (ดูรูปที่ ๒๕)
ในเวลากลางคืนอากาศหนาวเย็น ดังนั้นไมควรจะทิ้งผาหมและเสื้อหนาวที่มีติดตัวไปเสียกอน
เปลนอนนั้นอาจทําขึ้นไดจากรมชูชีพ
๔๒

รูปที่ ๒๓ แสดงการสรางที่พักอยางงายๆ
๔๓

รูปที่ ๒๔ วิธีมุงหลังคาแบบตัว A
๔๔

รูปที่ ๒๕ เตียงไมไผ
๔๕

บทที่ ๓
การหาน้ําและการเตรียมอาหาร

งานอันดับแรกที่ผูรอดชีวิตจะพึงกระทําคือ หาน้ํา น้ําดื่มเปนของจําเปนสําหรับการยังชีพในปา


เปนอยางยิ่ง อาหารยามฉุกเฉินที่ไดรับมาจะไมมีประโยชนอันใดเลย ถาไมมีน้ําดื่มดวย เพียงแตน้ําเปน
อยางเดียวคนเราสามารถดํารงชีวิตอยูได ๓ สัปดาห แตถาปราศจากน้ําโดยเฉลี่ยแลวคนเราจะทนอยูได
ไม เกิ น ๒-๓ วั น โดยเฉพาะอยา งยิ่งในที่แหงแลงอากาศรอน ซึ่งทําใหรางกายตองสูญ เสียน้ําไปเปน
จํานวนมากในการขับเหงื่อออกมา แมแตในเวลาอากาศเย็น รางกายก็ยังตองการน้ําอยางนอยที่สุดวันละ
ไมต่ํากวาครึ่งแกลลอน ถาไดรับน้ําในปริมาณนอยกวานี้ จะทําใหออนเพลีย ประสิทธิภาพในการทํางาน
จะลดลง
ในกรณีที่หาน้ํายาก จงดื่มน้ําทีละนอย ควรจะจิบนอยๆ เมื่อเกิดความกระหายมากๆ หรือหลัง
จาการออกกําลังกาย หรือไมก็ดื่มน้ําใหเต็มอิ่มเลยทีเดียว ถาหาน้ําไดปริมาณมากพอก็ควรใหดื่มไดมาก
เทาที่ตองการ เพราะรางกายจะเก็บน้ําไวใชตอไปได ถาทําไดควรจะฆาเชื้อโรคในน้ํานั้นทุกครั้ง
วิธีฆาเชื้อโรคในน้ํา
ในปา แทบร อนนั้น ปริ มาณของน้ําไมสูจ ะเปนปญหามากเทากับ ความสะอาดบริสุทธิ์ภัย อัน
รายแรงที่สุดในการเอาตัวรอดนั้นคือ เชื้อโรคในน้ํา บรรดาน้ําที่ขังนิ่งอยูตองฆาเชื้อโรคเสียกอนโดยวิธีใด
วิธีหนึ่ง ดังตอไปนี้
- ตมทิ้งไวใหเดือดอยางนอยที่สุด ๓ นาที ถาหาภาชนะอยางอื่นไมไดก็ใหใชกระบอกไมไผเปน
ภาชนะ
- ใชยาฆาเชื้อโรคในน้ําที่มีอยูในรวมยา
- ผสมยาไอโอดีน ๒-๓ หยด ตอน้ํา ¼ แกลลอน และทิ้งไวสัก ๓๐ นาที
- ใชดางทับทิม สองสามเกล็ดผสมลงในน้ํา ¼ แกลลอน แลวทิ้งไวประมาณ ๓๐ นาที
อันตรายจาการดื่มน้ําสกปรก
โรคตางๆ ที่อาจติดตอไดโดยการดื่มน้ําสกปรกนั้น ก็มี บิด อหิวาตกโรค และไขรากสาดนอย
พยาธิตางๆ ก็อาจมีอยูในน้ํา ซึ่งไมไดตรวจฆาเชื้อโรคเสียกอน
บิด
อาการของบิดนั้นคือ ทองรวงอยางแรงเปนเวลานาน อุจจาระเปนมูกเลือด มีไขและออนเพลีย
วิธีรักษาโรคนี้คือ ใหรับประทานอาหารบอยๆ และดื่มน้ํามะพราว น้ําตม หรือน้ําตม เปลือกไม โมกหลวง
(Holarrhena antidysenterio) รับประทานขาวตมถาพอจะหาได
อหิวาตกโรค และไขรากสาดนอย
ถาตกอยูในทองที่ที่อหิวาตกโรค และไขรากสาดนอยกําลังระบาดอยูควรพิถีพิถันดื่มน้ําที่ฆาเชื้อ
โรคแลวเทานั้น แมวาจะไดรับการฉีดยาปองกันโรคนี้มากอนแลวก็ตาม
พยาธิในโลหิต ปลิง และพยาธิในลําไส
น้ําที่ไมสะอาด มีพยาธิชนิดตางๆ และปลิงอาศัยอยู
๔๖

พยาธิในตับชอบอยูในน้ํานิ่ง และสกปรก ผลของการศึกษาเมื่อเร็วๆนี้ ปรากฏวาพยาธิชนิดนี้มี


อยูอยางแพรหลายในที่ราบสูงภาคอีสานของประเทศไทย พยาธิใบไมสามารถขยายพันธุไดอยางรวดเร็ว
ถาหากหลุดเขาไปในรางกายคนแตเพียงตัวเดียวก็จะขยายพันธออกไปมากมายอยูในตับของคนเรา
พยาธิในโลหิต (Blood fluke) นั้นเปนที่รูจักกันทั่วๆไปวา ตัวจี๊ด ชอบอาศัยอยูตามหนองและ
บึง เมื่อหลุดเขาไปในรางกายของคนไดแลว ก็จะเขาไปอาศัยอยูในเสนเลือด ทําใหเกิดอาการเจ็บปวด
มาก และบวมตามบริเวณนั้น บางครั้งก็ทําใหสวนนั้นพิการไป หรืออาจทําใหถึงตามไดเหมือนกัน
พยาธิในปอดและตัวจี๊ด มักจะพบในสัตวน้ําจืด เชน หอย ปลาดุก และกุง เปนตน การปองกันที่
ดีที่สุด ก็คือ จงดื่มแตน้ําที่ฆาเชื้อโรคแลวเทานั้น ไมควรกิน หอย ปลา และกุงดิบๆ เปนอันขาด
ปลิ งเข็ ม มี อยู ทั่ว ไปตาม ลําหวย ลําธาร ถากมลงดื่มน้ําจากลําธารโดยตรง และดว ยความ
สะเพราแลว ปลิงเข็มอาจหลุดเขาไปเกาะกินเลือดในลําคอ หรือทางรูจมูกไดดังนั้น ทางที่ดีควรจะใชอุง
มือ หรือภาชนะอื่นใดตักขึ้นมาดื่ม
พยาธิ ปากขอจะไชผา นเขาไปทางผิว หนังโดยเฉพาะบริเวณงามเทา ถาอาบ หรือเดิน ลุย น้ํา
สกปรก หรือน้ําที่ขังอยูตามบึง
การแสวงหาน้ํา
ก. น้ําฝน ถารองเก็บไวในถังที่สะอาด ก็ไมจําเปนตองฆาเชื้อโรค อาจจะรองน้ําฝนไดโดย
๑. ขุดหลุมแลวกรุดวยผาน้ํามัน หรือผาใบ
๒. ทางรางน้ําขึ้นโดยใชผาใบ ใบไมใหญๆหรือบนโครงที่ทําดวยไมไผ หรือกิ่งไม
๓. ใชภาชนะที่สะอาดๆรองรับน้ําฝน

รูปที่ ๒๖ วิธีรองน้ําฝนจากใบไมใหญ
๔๗

ข.น้ําหวย ลําหวยที่มีน้ําไหลแรงมีพื้นลําธารเปนทราย และหิน และไมมีมูลสัตว หรือสิ่งปฏิกูลตางๆ


ตกคางอยู ภายในระยะเวลา ๑ กิโลเมตรขึ้นไปทางตนน้ําแลว น้ํานั้นก็จะสะอาดพอที่จะใชดื่มได
สั งเกตดู ผ ลไม ขนาดใหญ ซึ่งเสน ผาศูน ยกลางเกิน กวา ๕ นิ้ว ขึ้น ไป ผลไมนี้คื อ ลูกขา งแหก
(Nessia altissima) ซึ่งพบหลนอยูทั่วไปตามลําหวยเล็กๆ ทางปกษใตของประเทศไทยการดื่มน้ําในตอน
ใตของลําธารซึ่งมีลูกขางแหกตกอยู จะเกิดอาการคันคอ
จงอยากมลงดื่มน้ําลําหวยโดยตรง แตควรวักน้ําดื่ม หรือใชภาชนะที่สะอาดๆ ตักขึ้นมาเพราะ
สามารถจะมองเห็ น ว า กํ า ลั ง ดื่ มอะไรเขาไปบาง เชน ปลิง และสัตวน้ํ าอื่น ๆ แตอยา งไรก็ตามทางที่
ปลอดภัยที่สุดคือ ฆาเชื้อโรคในน้ําเสียกอนเสมอ
ค. น้ําคลอง น้ําในแมน้ําลําคลองมักจะมีขุนมีโคลนตม บางที่อาจมีเชื้อโรคก็ได ดังนั้นควรจะฆา
เชื้อโรคเสียกอนตามวิธีที่ไดกลาวมาแลวขางตน เกี่ยวกับ “วิธีฆาเชื้อโรคในน้ํา” และเมื่อตักน้ํามาควรทิ้ง
คางคืนไวเพื่อปลอยใหตกตะกอนเสียกอน
ง. น้ําบาดาล เมื่อหาน้ําบาดาลบนพื้นดินไมได ก็จําเปนตองขุดหาน้ําบาดาล
๑. ในทองที่ที่เป น หิน ผา ในทองที่ที่เปน เขาหินปูนมักจะมีน้ําผุ หรือน้ําซับมากกวา
บริเวณที่เปนหินชนิดอื่นๆ ทั้งนี้ก็เพราะหินปูนละลายงาย และน้ําก็จะกัดเซาะหินทําใหเกิดเปนโพรงเปน
ถ้ําใหญๆขึ้น ฉะนั้นตามโพรงหรือถ้ําใหญๆ จึงมักจะมีสิ่งสกปรกเจือปนอยู ตามโครกเขาที่ตัดผานชั้นหิน
ทราย ซึ่ ง มี รู พ รุ น มั ก จะมี น้ํ า ซั บ ปรากฏอยู และเป น แหล ง ที่ ม าของน้ํ า ดื่ ม อย า งดี ในบริ เ วณที่ เ ป น
หินแกรนิต หินปูน หรือ หินทรายเทานั้น ถาตามลาดเขามีหญาเขียวชอุมขึ้นปกคลุม ก็แสดงวาบริเวณนั้น
มีน้ํา ถาขุดตามบริเวณที่มีหญาเขียวชอุมที่สุดนั้น น้ําจะคอยๆ ไหลซึมออกมา
๒. ในทองที่ที่ดินรวน จะมีน้ําอยูทั่วไป และหาไดงายในทองที่ๆที่เปนดินรวนมากกวา
เปนหิน กอนที่จะลงมือขุดหาน้ํานั้น จงสังเกตดูรอยรอยใหแนชัดเสียกอน ใหขุดหาตามพื้นของหุบเขา
ตรงเชิงเขาพอดี หรือขุดหาตรงที่ๆมีหญาเขียวชอุม ซึ่งเปนที่ที่มีน้ําพุในฤดูฝน ในปาตามที่ราบต่ําชายฝง
ทะเล และที่ราบริมแมน้ํานั้น ระดับน้ําในดินตนมาก ขุดลงไปเพียงเล็กนอยก็จะไดน้ําใชอยางพอเพียง
๓. ตามชายฝ ง ทะเล พอจะหาน้ํา ดื่ม ไดต ามเนิน ทรายที่ ลึกเขาไปจากชายฝง หรื อ
แมกระทั่งที่ชายฝงทะเลนั้นเอง ชองแองระหวางเนินทรายนั้น มักจะเก็บน้ําไวอาจขุดหาน้ําได ถาทราย
ยังชื้นๆอยู ตามชายฝงนั้น ก็พอจะหาน้ําได โดยขุดหลุมลงไปในทรายตอนน้ําลง และใหอยูเหนือขึ้นไป
จากแนวระดับน้ําทะเลที่ขึ้นสูงประมาณ ๑๐๐ หลา เมื่อขึ้นลงไปจนกระทั่งถึงระดับน้ําจนมีน้ําไหลซึม
ออกมาแลวก็พอ น้ําจืดมักจะไหลอยูขางบนน้ําเค็มเสมอ แลวถาขุดไมลึกจนเกินไปแลวน้ําที่ไดก็จะไมมีรส
เค็มเลย เพื่อทําใหน้ําที่ไดใกลฝงทะเลจืดสนิทพอดี ใหกรองผานทรายอีกชั้นหนึ่งกอนไมควรดื่มน้ําทะเล
เนื่องจากน้ําทะเลมีปริมาณเกลือผสมอยูมาก อาจทําใหถึงกับไตพิการไปก็ได
จ. ทางดานสัตว ทางเหลานี้โดยมากมักจะผานไปทางแหลงน้ํา แตจงระวังการเดินหลงทางเดิน
ไปตามทางนั้นๆ หรืออาจจะเดินไปพบสัตวรายก็ได
ฉ. น้ําจากพืช ถาหาน้ําบาดาลไมได หรือไมมีเวลาพอจะฆาเชื้อโรคในน้ําได ก็จงหาตนไมที่ใหน้ํา
สะอาด พืชหลายชนิดมีน้ําเลี้ยงที่ใส รสจืดสนิท มีน้ําปนอยูเปนสวนใหญ และพอหาไดไมยากนัก พืช
ตอไปนี้มีน้ําเลี้ยงที่ใชดื่มได
เปาลม หรือ สะเภาลม (Agapetes hosseana) และ เงาน้ําทิพย (Agapetes saxicola)เปนไม
พุมขนาดเล็ก ขึ้นอยูตามลานหินทรายกลางแจง หรือกอนหินทราย พืชพวกนี้มีโคนตนพองใหญ ใบเล็ก
ดอก สี แ ดง แล ะข าว จง ตั ด โ คน ต น แล ว คั้ น ห รื อ เ คี้ ย ว ใ ห แ ล กเ พื่ อ เอา น้ํ า เ ครื อ เข าน้ํ า
๔๘

(Tetrastigmalanceolata) เปนเถาเนื้อแข็งขนาดใหญตนออนมักจะแบนเมื่อโตเต็มที่จะกลม เปลือก


แตกเปนรองลึก ชอหนึ่งมีใบยอย ๓ ใบ พบทั่วๆไป ในปาดิบทั่วภาคพื้นเอเชียอาคเนย ลําตนของเถาวัลย
ชนิดนี้มีน้ําอยูเปนจํานวนมาก จากทดลองตัดเถาวัลย ชนิดนี้เสนผาศูนยกลาง ๔ นิ้ว จะใหน้ําหนึ่งถวย
ในเวลาหนึ่งนาทีครึ่ง
วิธีตัดเถาวัลยเพื่อเอาน้ํา
บากเถาวัลยใหลึกพอสมควร แลวก็ตัดเถาวัลยนั้นโคนชิดกับดิน ปลอยใหน้ําไหลหยดลงในปาก
หรือภาชนะรองรับ
เมื่อน้ําหยุดไหลก็บากตอนบนที่เหนือน้ําขึ้นไปอีก แตตัดเถาวัลยนั้นใหขาดตรงที่บากไวเดิม ทํา
เชนนี้ซ้ําแลวซ้ําอีกจนกระทั่งน้ําไมไหล
เถาวัลยสวนมาก มักจะเก็บน้ําไวในลําตนเปนปริมาณมาก และมีหลายชนิดที่ใชน้ํานั้นดื่มไดเพื่อ
ทดสอบวาน้ํานั้นจะดื่มได หรือไม ใหจุมนิ้วลงในน้ํา แลวเอาไปแตะใตลิ้น ถามีรสขม หรือซาลิ้นก็ไมควร
ดื่ม น้ําเลี้ยงที่มีสีขาวเหมือนน้ํานม หรือขุนๆ ก็ไมควรดื่มเชนกัน
หวายชนิดตางๆ(Calamus , Plectocomiopsis , and Korthalsia spp.)นั้น ลําตนเปนหนาม
และ ผิวแข็ง และมักจะเลื้อยพาดไปตามตนไมอื่นๆ พบขึ้นอยูทั่วไปตามปาดิบชื้น (Tropical Rain
Forest) ลําตนตอนโคนมักจะมีน้ําที่ใชดื่มได
มี ไ ม ไ ผ ห ลายชนิ ด ในประเทศไทย เช น พวก ไผ บ ง(Bambusa spp.)และ ไผ ซ าง
(Dendrocalamus spp.)ลําตนที่แกโดยเฉพาะตอนโคน มักจะมีน้ํา ดูวิธีการเจาะเอาน้ําจากไมไผ ตาม
รูปที่ ๒๗ ตามกลวยปาก็พอจะหาน้ําได
มีพืชจํานวนหมาก (plams) อยูหลายชนิดในประเทศไทยที่พอจะเก็บกาเอาน้ําหวานได เชน พอ
(livistona cochinchinesis)มะพราว(Coconut nuciferal)ตาวหรือชุก(Arenga pimmata)และ จาก
(Nipa fruticans)เปนตน การเก็บหาเอาน้ําหวานจากพืชจํานวนนี้นั้น กระทําไดโดยตัดปลายชอดอกดวย
มีดคมๆ แลวดึงใหโคงลงมา น้ําหวานก็จะหยดลงมา ซึ่งจะไดน้ําหวานวันละประมาณครึ่งกระติกน้ํา
น้ํามะพราวออนมีรสดีกวาน้ํามะพราวแก น้ํามะพราวแกนั้น เปนยาระบายอยางแรง มะพราว
ออนสังเกตไดจากผลมีสีเขียวสด ถาไมจําเปนแลววันหนึ่งไมควรดื่มน้ํามะพราวเกิน ๓-๔ ถวย วิธีปอก
มะพราวโดยไมมีมีดใหญนั้น อาจทําไดโดยปกไมลงดิน เสี้ยมปลายที่โผลขึ้นมาใหแหลมกระแทกผล
มะพราวลงบนปลายขางแหลมนั้นเพื่อฉีกเปลือกออก แลวเอาผลมะพราวที่ปลอกเปลือกออกแลวนั้น ทุบ
กับกอนหินหรือตนไมอีกทีหนึ่ง
ข. น้ําโคลน น้ําขัง และน้ําโสโครกถาหาน้ําไมไดเลยจริงๆ ก็จําเปนตองดื่มน้ําที่ไดจากปลักโคลน
หรือน้ําที่ขังอยูตามแอง ถึงแมวามีกลิ่นเหม็นไมชวนดื่ม น้ําประเภทนี้ไมจําเปนตองมีเชื้อโรคเสมอไป แต
เพื่อความแนใจควรจะกรองเสียกอนแลวจึงฆาเชื้อโรคอีกทีหนึ่ง
การทําน้ําโคลนใหสะอาดปฏิบัติดังนี้
ใสน้ําไวในภาชนะแลวปดฝาตั้งทิ้งไวสัก ๔๕ นาที หรือ
กรองผานทรายที่บรรจุไวในกระบอกไมไผ ทําไดโดยกระทุงขอทั้งสองขางของปลองไมไผออก
จุกรูขางหนึ่งดวยหญาแลวกรอกทรายเขาทางอีกดานหนึ่ง
กรองผานผาและทราย
เพื่อจํากัดกลิ่นเหม็น จงตมน้ําใหเดือด แลวเอาถานไฟใสลงไป ตั้งทิ้งไว ๔๕ นาที กอนดื่ม
๔๙

รูปที่ ๒๗ รองน้ําดื่มจากเถาวัลย
๕๐

รูปที่ ๒๘ รินน้ําจากปลองไผ
๕๑

การแสวงหาอาหาร
แมวาคนเราจะอยูรอดไดโดยไมมีการับประทานอาหารเลยเปนเวลา ๑ เดือนก็ตาม แตถาหาก
หลงทางในปาเขตรอนแลว ก็เปนอันวาไมตองประสบกับการอดอาหารถึงขาดนั้นเลย ทั้งนี้เพราะมีพืช
และสัตวที่จะใชเปนอาหารไดอยางอุดมสมบูรณและหางาย ถาพอมีความรูเรื่องปาอยูบาง
ในทันที่ตนสํานึกวาหลงพวกเขาแลว จงปฏิบัติดังนี้
ตรวจสอบปริมาณอาหาร และน้ํา และประมาณระยะเวลาที่จะตองผจญอยูในปาแต
ลําพัง
แลวแบงอาหารออกเปน สามสวน สองสวนสําหรับใชในระยะเวลาครึ่งแรก และอีก
สวนหนึ่งสําหรับในระยะเวลาครึ่งหลังของการอยูในปาแตลําพัง
หากมีน้ําดื่มวันละไมเกิน ๒ กระติกแลว ไมควรรับประทานอาหารแหงๆที่เปนแปง และมีรสจัด
มาก
อาหารจํ า พวกที่ มี ป ริ ม าณคาร โ บไฮเดรตสู ง ลู ก กวาด และผลไม แ ห ง นั้ น เหมาะสํ า หรั บ
สถานการณเชนนี้
ทํางานหนักแตนอยๆ เพราะการทํางานจะทําใหดื่มน้ํา และรับประทานอาหารมากกวาปกติ
หากกระทําไดควรรับประทานอาหารใหเปนเวลา อยากินจุกจิก ควรกําหนดอาหารเพียงวันละ
มื้อ และเตรียมหุงหาไว การหุงตมทําใหอาหารปลอดเชื้อโรค ยอยงาย และรสดีช วนรับประทานขึ้น
นอกจากนั้นอาหารรอนๆ ยังชวยทําใหรางกายอบอุนไดมาก ในยามที่อากาศเย็นและชื้น อีกประการหนึ่ง
การหุงตมก็ทําใหไดมีโอกาสพักผอนไปในตัวอีกดวย
จงฝกฝนชวยตัวเอง แสวงหาพืช และสัตวมาเปนอาหาร พืช และสัตว สวนมากรับประทานได
แทบทุกชนิด
ปลา
ปลาเปนอาหารที่มีธาตุโปรตีนสูง ปลาน้ําจืดทุกชนิดรับประทานได และมีชุกชุมอยูทั่วไป ปญหา
อยูที่วาจะจับไดอยางไรเทานั้น แตถาหากวาทราบเวลา สถานที่และวิธีจับแลว ก็จะจับปลาไดไมยากนัก
เวลาที่เหมาะสําหรับการจับปลา
โดยทั่วไป เวลาที่เหมาะสําหรับการจับปลา คือ ตอนเชาตรู หรือตอนเย็น แตก็ยากที่จะกลาวให
แนนอนลงไปไดวาเวลาไหนจึงจะดีที่สุด เพราะปลาแตละชนิดออกหากินไมเหมือนกัน บางทีก็การจับ
ปลาตอนกลางคืนเปนดีที่สุด เฉพาะอยางยิ่งถามีไฟสองลอ
เวลาที่เหมาะสําหรับการจับปลาอีกเวลาหนึ่ง คือวันที่มีอากาศครึ้ม และหลังจากฝนตกหนัก
กอนที่น้ําจะหลากขึ้น
สถานที่เหมาะสําหรับการจับปลา
ตามบึง และทะเลสาบนั้น ตรงที่น้ําลึกจะเปนที่จับปลาอยางดีเยี่ยม สวนในลําธารตื้นๆนั้น ดี
ที่สุดก็ตรงแองใตน้ําตก ใตแกง หรือหลังกอนหิน นอกจากนี้ปลายังชอบอาศัยตามขอนไมจมน้ํา แองเวา
ใตฝง และพุมไมที่ยื่นลงไปใตน้ํา
๕๒

วิธีจับปลา
ใชเบ็ดตกปลา
เบ็ดอาจทําขึ้นไดจากเข็มหมุด ลวด หรือเศษโลหะ หรือจะใชหยัก เหลา หวาย หรือไม
ไผก็ได
สายเบ็ดอาจทําขึ้นไดจากเถายานยายเภา เปลือกไม และกาบตนกลวยก็ได ถาจะให
แข็งแรงยิ่งขึ้นก็ทบเขาดวยกัน ขมวดปลายขางหนึ่งไว แลวบิดใหเปนเกลียวไปคนละทาง เสร็จแลวขมวด
ปลายขางที่เหลือเขาดวยกันอีก หรือถามีสายรมชูชีพก็นํามาใชเปนสายเบ็ดได
เมื่อเกี่ยวเหยื่อจนหุมเบ็ดแลว ก็หยอนลงไปทางเหนือน้ํา เพราะปกติปลาจะวายเหนือน้ําอยู
เสมอ ในที่น้ําใสๆ และตื้น ตองเคลื่อนไหวชาๆ เพื่อไมใหปลาตกใจ
หากไมไดผลอยาพึ่งเบื่อหนาย ลองเปลี่ยนวิธีใหมถายังไมไดผลอีก ก็เปลี่ยนเวลาไปตกในตอนค่ํา
เหยื่อ
โดยปกติปลาชอบกินเหยื่อที่ไดมาจากสถานที่ที่เดียวกับที่มันอยู ดังนั้นจึงตองพยายาม
หา ปู ไขปลา ปลาเล็กๆ ตามชายฝง และไสเดือน หรือแมลงบนฝงมาใชเปนเหยื่อลอ ปลาที่กินสัตวอื่น
เปนอาหาร เชน ปลาดุก ชอบกินเนื้อ ตับ ไต ไสพุง และปลาดิบ แตบางทีก็กินแมลงดวยเหมือนกันปลา
ชนิดอื่นๆ มักไมชอบเหยื่อดังกลาวมาแลวนั้น อาจใชลูกไมเล็กๆ หรือเศษอาหารมาใชเปนเหยื่อลอ
พยายามสั ง เกตดู ว า ปลาแต ล ะชนิ ด กิ น อะไรเป น อาหาร ถ า จั บ ปลาได ล องผ า นดู
กระเพาะ ก็จะทราบไดวาปลาชอบกินอะไร แลวก็พยายามหาสิ่งนั้นมาลอ
ปลาจะพวกปละตะโกก และตะเพียน ซึ่งอาศัยอยูลําธารบนเขา ชอบกินลูกไมบางชนิด
เชน ไมตะเคียนทราย และไมไทรตรอก ซึ่งเปนผลไมปา แตการลอดวยเหยื่อเทียมไมเคยปรากฏวาไดผล
เลย
เบ็ดราว
ลักษณะของเบ็ดราว เปนเชือกเสนยาวๆ มีเบ็ดแขวนเปนระยะๆ การวางเบ็ดราวอาจ
ใชเชือกขึงไวกับกิ่งไมเตี้ยๆ ซึ่งจะโคงออนเวลาปลากินเหยื่อ วางเบ็ดใหจมอยูในน้ําตลอดเวลา แลวคอย
ตรวจดูเปนครั้งคราว เพื่อปลดปลาที่มาติดเบ็ด และเปลี่ยนเหยื่อใหม
ลักษณะเบ็ดที่ดีที่สุดสําหรับการทําเบ็ดราว ไดแก เบ็ดตะกาง เวลาเกี่ยวเหยื่อควรพยายามให
เบ็ดฝงมิดอยูในเหยื่อ เวลาปลากลืนเบ็ดเขาไป ตะกางจะเขาไปขวางขัดอยูในกระเพาะ
๕๓

รูปที่ ๒๙ เบ็ดตกปลา
๕๔

ลอบ
ลอบเปนเครื่องมือจับปลาที่ใชจับปลา และสัตวน้ํา ทั้งในน้ําจืด และน้ําเค็ม อาจทําขึ้นไมไผสอง
ลํา ลําหนึ่งยาวประมาณ ๑ ฟุต อีกลําหนึ่งยาวประมาณ ๒ ฟุต ดังแสดงในรูปที่ ๓๒ ผาจักปลายขาง
หนึ่งของไมไผออกเปนซี่เล็กๆ จนกระทั่งถึงปลายอีกขางหนึ่ง แลวดึงใหถางออกเปนรูปกรวยทั้ง ๒ ลํา
มัดรวบปลายกรวยอันเล็กเขาดวยกัน และเปดใหพอเปนชองไว แลวสวมเขาไปในกรวยอันใหญ ใชเชือก
หรือหวายผูกใหติดกัน แลวเอาเหยื่อลอไวในลอบ เหยื่อนี้อาจใชเนื้อเนา หรือขาวสุกสักกํามือหนึ่งก็ได
การใสเหยื่อตองระมัดระวังใหมากขึ้น อยาใหปลามากินทางนอกลอบได เมื่อใสเหยื่อแลว เลือกวางลอบ
ไวในบริเวณที่มีน้ําลึก และไหลชา แลวหากิ่งไม โคลน เลน มากองสุมเปนทํานบขวางไว เวลาลงลอบนั้น
จะหันปากลอบไปทางไหนก็ได ถาลงลอบไวซัก ๒-๓ อัน ก็จะพอจับปลาเปนอาหารไดโดยไมเสียเวลา
และแรงงานมากนัก
การจับปลาไหล อาจทําไดงายๆ โดยใชลันที่ทําขึ้นไดจากไมไผยาวสัก ๒ ปลอง ตัดขอทางปลาย
หนึ่งออก สวนอีกปลายหนึ่งคงเหลือไว เจาะขอกลางใหทะลุเปนชอง แลวใชไมไผซีกเล็กๆผูกติดกันเปน
กรวย สอดเขาไวทางปลายขางที่เปด ใชเนื้อหอยหมักใหเนาประมาณ ๑ คืน เปนเหยื่อลอใสไว แลวเอา
ไปวางไวริมหนองบึง ในตอนค่ํา ถามีปลาไหลอาศัยอยูในหนอง หรือบึงนั้นเมื่อไปกูลันตอนเชาก็จะได
ปลาไหลหลายตัว
วิธีดักปลาในลําธารตื้นๆ และแคบอีกวิธีหนึ่งก็คือ เลือกหาบริเวณที่แคบที่สุด แลวใชไมหลักปก
เปนวงกั้นขวางลําธาร เปดทางแคบๆ สําหรับใหปลาวายเขาไป ( ดูรูปที่ ๓๒ ) แลงลงไปเดินย่ํา หรือใชไม
ตีเหนือน้ําตอนปลาลงมา ปลาจะวายหนีเขาไปในคอกที่กั้น จากนั้นอาจใชมือจับ หรือ ตีดวยไมไดโดยงาย
สวิง
สวิง อาจใชผาบางๆ เสื้อกลาม เปลญวน หรือสิ่งที่มีลักษณะคลายๆ กันนี้ มาเย็บเปนถุงกนปด
เลือกตนไมเล็กๆ ตัดเอามาขดเปนวงทําขอบแลวเย็บถุงสวิงใหติดกับขอบนี้ ใชสวิงที่ทําขึ้นนี้ชอนทวนน้ํา
ไปมารอบๆ กอนหิน หรือตามหนอง
เครื่องมืออีกแบบหนึ่งซึ่งใชชอนปลา ทําจากไมไผลํายาวๆ ผาปลายเปนซี่เล็กๆ ลงไปจนเกือบถึงโคลน ดึง
ใหหางออกจากกันแลวใชเถาวัลย หรือหวายสายใหเปนรูปชอนกลายๆ แลวทําดามสําหรับจับ
๕๕

รูปที่ ๓๐ เบ็ดตกปลาแบบไมขัด
๕๖

รูปที่ ๓๑ ลอบดักปลา
๕๗

รูปที่ ๓๒ โพงลาง

วิธีนี้เหมาะสําหรับจับปลาในปลักหนองเล็กๆ ซึ่งมีน้ําขังอยูบางโดยการเดินไปลงย่ํา หรือใชไม


กวนตมตามกนหนองน้ํา ปลาก็จะหนีขึ้นมาอยูที่น้ําใสตามผิวน้ําซึ่งอาจใชมือจับ หรือไมตีไดงาย
ยาเบื่อ
น้ําเลี้ยงของพืชบางชนิดใชเบื่อปลาไดดี เชน หางไหล (Derris elliptica)ซึ่งเปนไมเถาขึ้นอยู
ตามริมธาร หรือที่ชื้นแฉะ ลําตนเมื่อทุบใหแตกช้ําแลวเอาไปแชน้ําไว ยาพิษจะละลายออกมาเปนสีขาว
ขุน
พืชอื่นๆซึ่งใชเปนยาเบื่อไดก็มีตน ชะคราม(Tephrosia purpurea)และ จิกเล (Barringtonia
asiatica) ชะครามเปนไมพุมดอกเล็กๆสีมวงแดง พบทั่วๆไปตามขางทางเดิน สวนจิกเลนั้น พบมากตาม
ปากน้ํา และชายหาด ดอกใหญสีชมพูลูกใหญลักษณะเปนพู ๔ พู
นอกจากนี้ก็มี ตามตุมทะเล( Excoecaria agallocha)เปลือกมีน้ํายางสีขาวขึ้นตาปาเลนน้ําเค็ม
ขมิ้นเครือ(Anamirta Cocculus)เปนไมเถาขึ้นตามปาดิบ สะแกดง(Cocculus laurifolius)ไมพุมพบ
ขึ้นตามปาดิบ และ ถอน (Albizzia orocera)ไมตนพบขึ้นตามปาเบ็ญจพรรณ เปนตน
๕๘

การใชยาเบื่อควรใชน้ํานิ่ง หรือไหลชาๆ ถากระแสน้ําไหลแรงควรหากิ่งไมมากั้นเปนทํานบเพื่อ


ชวยใหน้ําไหลชาลง แลวจึงคอยวางยาเบื่อลงไป ปลาตัวเล็กก็จะตาย แตตัวใหญจะเมายาและจับได
โดยงาย
หากจับปลาไดมาก ควรขังไวในที่กักกันดังแสดงไวในรูปที่ ๓๓ เพราะปลาเปนๆเก็บเอาไวได
นานวัน และไมมีทางเสียได เมื่อถึงคราวจึงคอยแบงจับเอามารับประทาน
กุง ปู และหอย
ปู และกุงตางๆ มีอยูมากมายในน้ําจืดทั่วทุกแหงประเทศ และรับ ประทานไดทุกชนิด กอน
รับประทานอาหารควรทําความสะอาด โดยดึงเอากระเพาะซึ่งอยูตรงสว นหัวออกเสียกอน มิฉะนั้น
อาจจะทําใหคลื่นเทียม
กุงนางมีมากในแมน้ํา และลําธาร โดยเฉพาะอยางยิ่ง ที่มีน้ําไหลชาๆนั้น จะมองเห็นวาย หรือ
เกาะอยูตามกอนหินตามทองน้ํา หรือกิ่งไมที่ยื่นระอยูในน้ํา เครื่องมือที่ใชจับกุงนั้นมีคันยาว ตรงปลายผูก
สายเชือกที่มีปลายเปนบวงทําดวยเชือกปอ หยอนบวงลงไปคลองหัวกุง และกระตุกโดยเร็ว กุงจะติด
ขึ้นมา ในที่น้ําขุนๆก็ใชเบ็ดตก และใชไสเดือนเปนเหยื่อลอ
กุงหลายชนิดชอบออกหากินในเวลากลางคืน และจับไดงายกวาตอนกลางวัน ฉะนั้น หากใชไฟ
สองลอไวใกลๆ ผิวน้ํา เมื่อกุงขึ้นมาเลนแสงไฟ ก็ชอนจับดวยสวิง
ตามปาชายเลนน้ําเค็ม เปนที่อยูอีกแหงหนึ่งที่มีกุง หอย ปู ปลากชุกชุม เวลาน้ําลง จะเห็น หอย
กะพงหอยแมลงภู เกาะอยู ต ามราก และกิ่ ง ไม ต่ํ าๆ หอยนางรม เกาะอยู ต ามก อนหิ น และรากไม
หอยแครง และหอยโลกัน ฝงอยูในโคลนตม เนื้อหอยโลกันรสดีกวาหอยแครง ปู และปลา จะจับได
ตอนน้ําขึ้น ปูมักอยูตามกิ่งไม รากไม หรือบนเลน ไมควรจะรับประทาน แมงดาทะเล เพราะเคยปรากฏ
วาบางชนิดมีพิษถึงตาย เชน ชนิดที่เรียกกันวา เหรา หรือ แมงดาถวย เปนชนิดที่มีขนตามกระดอง สวน
หอยแจง นั้น อยูตามโคลน และตามรากไม ตมใหสุกและแคะออกจากเปลือกเสียกอน ก็รับประทานไดดี
เหมือนกัน หอยชนิดที่ดาษดื่นที่สุด ก็คือ หอยโขงหอยขม
อาหารที่ชาวบานชอบรับประทานอีกอยางหนึ่งก็คือ ตัวเพรียง ซึ่งลําตัวมีลักษณะคลายวุนเจาะ
ไชอยูตามโคนตนโกงกาง
พวก กุ ง ปู เหล า นี้ จ ะตาย และเนาเสีย เร็ว และมักมีตัว พยาธิอยูดว ย จึงควรทําใหสุกกอ น
รับ ประทาน อย ารั บ ประทานหอยที่เก็บ จากที่ที่น้ําทวมไมถึง หรือจากที่สัตวเปน โรคปะปนอยู อยา
รับประทานหอยแมลงภู ซึ่งเกาะอยูตามหลัก ไมตาตุมทะเล เพราะจะทําใหอาเจียน และทองรวง
กบ เขียด มีอยูทั่วๆไป ตามหนอง บึง และตามลําธารบนเขา
ขนาดของสัตวจําพวกนี้แตกตางกันไปตามชนิด เชน อึ่ง ตัวเล็ก แต กบเขา ตัวโตมาก สวนกบ
ธรรมดาพบอยูทั่วไป ในประเทศ และเนื้ออรอยมาก
๕๙

ถาจับกบ เวลาที่เหมาะที่สุด คือ ในตอนกลางคืน หลังฝนตก จะไดยินเสียงรองระงม ทําให


ทราบไดวามีอยูที่ไหนบาง อาจจับไดโดยใชไมตี แทงใชบวงคลอง หรือใชมือจับก็ได แลวถลกหนังกอนจะ
นําไปปรุงอาหาร
สัตวเลื้อยคลาน
สัตวเลื้อยคลานชนิดที่รับประทานได มีมากมายหลายชนิด แตกอนนําไปปรุงอาหารนั้นควรตัด
หัว ถลกหนัง และควักเครื่องในทิ้งเสียกอน
งู
การจับงูไมใชของงายนัก มีหลายชนิดชอบนอนตากแดด และหากินตามริมธาร งูน้ําจืดหลาย
ชนิดอาศัยอยูตามหนอง ตามแมน้ําลําธารซึ่งมีน้ําไหลชาๆ และตามฝงที่มีกองขยะและกิ่งไม การจับงูใช
ไมงามยาวๆกดลงที่คอ แลวใชบวงคลอง
เนื้องูรับประทานไดแตตองตัดเอาหัวที่มีถุงน้ําพิษออกเสียกอน และทางที่ดีควรจะตัดสวนที่ถัด
จากหัวเขามาสัก ๒ นิ้ว เพราะงูพิษบางชนิดถุงน้ําพิษอยูถัดลงมา
ชาวจีน และชาวบานบางทองถิ่นชอบรับประทาน งูเหลือม ยิ่งกวางูชนิดอื่นๆแตชาวเหนือชอบงูสิงห
และนิยมรับประทานงูเหา เปนยาบํารุงกําลัง
ตะกวดและแย
ในประเทศไทย ยังไมเคยปรากฏวาสัตวเลื้อยคลานประเภทนี้มีพิษ แมชาวปกษใตจะเชื่อกันวา
งูเหาชาง(Varanus sp.)กัดถึงตาย
นอกจาก งูเหาชาง ดังกลาวแลวนั้นก็มี ตะกวด ( Varanus nebulosus)และ เหี้ย (Varanus
salvator) ที่เปนสัตวในกลุมเดียวกัน
ตะกวดและงูเหาชาง เปนสัตวปา ชาวบานชอบรับประทานไขตะกวด และชอบรับประทานแย
แย ชอบอยูตามที่โลงบนบก เนื้ออรอยมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งตอนหาง เอามาถลกหนังออกลางให
สะอาด แลวนําไปปรุงอาหารรับประทาน
จระเข หรือจะเข ชอบอยูในน้ําจืด และน้ํากรอย พบตามตนน้ําตามบึง และตามปาเลนน้ําเค็ม
ชาวเวียดนามชอบรับประทานมาก สัตวพวกนี้ยังตองยางลนไฟเสียกอน จึงจะถลกหนังไดงาย
เตา ตะพาบน้ําเนื้อ และไขรับประทานได สําหรับตะพาบน้ํานั้น ถาตัวเล็กก็ดีจับเอาตัวใหญๆ ก็
ใชเบ็ดตกได ควรระวัง ตัวโตใหดี เพราะสัตวน้ําพวกนี้ปากคมมาก ตะพาบน้ํามีสามชนิด คือ ตะพาบน้ํา
และมานลาย ไขตะพาบน้ํามีลักษณะกลม เปลือกตึง สีขาว สวนเตาทะเล คือ เตาตะนุ และ เตากระ นั้น
จะขึ้นมาวางไขตามหาดทรายชายทะเล ไขเตาทะเลเปลือกนิ่ม และหนาคลายหนัง รับประทานไดเปน
อยางดี
แมลง
ดวงตางๆ ตั๊กแตน แมลงเมา ฯลฯ มีคุณคาทางอาหาร และมีรสดีถาปรุงใหถูกวิธี ดวงมักพบอยู
ตามขอนไม และหนอไม ดวงหนอไม ตัวอวบขาว รับประทานได ใชตัวออนของแมลงเหลานี้ตมกับผักทํา
เปนแกงจืดไดดี สวน ตั๊กแตน และจิ้งโกรง เอามายาง หรือนึ่งหรือคั่วแลวหักเขา แลวเด็ดปกทิ้งไปกอน
รับประทาน สําหรับจิ้งโกรงนั้น ควรเด็ดกนดึงเอาไสออกเสียกอนนําไปปรุงอาหารทั้งนี้เพราะไมเอาไส
ออกจะทําใหรสชาติ และกลิ่นไมนารับประทาน สวน ดักแด ของแมลงจู จีจี้ขี้ชาง นั้นก็ใชตมแกงมีรสดี
เหมือนกัน แมลงขาวตอก เปนตัวออนของจักจั่นชนิดหนึ่งก็รับประทานไดเชนกัน
๖๐

นก
นกทุกชนิดรับประทานไดทั้งนั้น มีเพียงสองสามชนิด เชน นกแรง นกเหยี่ยว เทานั้นที่มีรสไม
ชวนรับประทาน
นกเปนสัตวที่มี ประสารท หูและ ตาดีมาก แตการสัมผัสกลิ่นไมคอยดี ในฤดูวางไข แมนกหวง
รังมาก หากเราสังเกตเห็นมันบินไปทางไหน และติดตามไปก็จะพบรังไข ไขนกทุกชนิดรับประทานได
การดักนกก็ทําไดงายดังที่แสดงในรูป นกที่นิยมเปนกีฬา คือ นกงุม นกเขาไกปาไกฟา และนกยูง เปนตน
สัตวเลี้ยงลูกดวยนม สัตวปาซึ่งนิยมลาเปนกีฬา มีหลายชนิดดวยกัน เชน ชาง เสือ แรด กระทิง
วัวแดง หมี หมูปา กวาง สวนสัตวเล็กๆก็มี เมน ลิงลม ชะมด และอีเห็น ลิงคาย กระรอก กระตายปา
ฯลฯ
การลาสัตว
สถานที่ ที่ จ ะเห็ น สั ตว ป า ออกมาปรากฏตัว เสมอๆ คือ ที่ใกลห นองน้ํ า ที่โ ลงในปา ชายป า
ละเมาะ หรือตามบริเวณเดินโปง แตสัตวปาบางชนิดก็ชอบขุดรูอยูใตดิน หรืออยูตามโพรงไม
สัตวปาสวนมากลาลําบาก จะตองมีความชํานาญ และอดทนพิเศษ จงสังวรไววา เมื่ออยูในแดน
ขาศึกนั้น การใชปนนั้นตองพิถีพิถันมากๆ
การนั่งหาง เปนวิธีที่ดีที่สุดสําหรับผูที่เพิ่งหัดลาสัตว พยายามใหอยูใตลม เพราะสัตวจะไมได
กลิ่นแลวคอยจังหวะอยูอยางเงียบๆ จงกระทั่งสัตวเขามาในระยะยิง หรือเขาไปติดกับที่วางไว (วิธีดัก
สัตวจะไดกลาวถึงในตอนตอไป)
เวลาเชาตรู และเวลาเชิงพลบ เปนเวลาที่เหมาะสมที่สุดสําหรับการฆาสัตว พยายามสังเกตดู
รองรอยของสัตว เชน ทางดานสัตว รอยเหยียบย่ํา ทางเดิน แองน้ํา หรือโปงการสอดหาสัตวนั้นตอง
กระทําโดยการเคลื่อนไหวอยางชาๆ เงียบๆ ใหใชที่กําบังมากที่สุด และพยายามใหสัตวอยูทางเหนือ
ลมเสมอ เมื่อจะเปลี่ย นที่กําบังจากแหงหนึ่งไปสูอีกแหงหนึ่งนั้น ควรกระทําในขณะที่สัตวกมลง กิน
อาหาร หรือหันหนาไปทางอื่น แตถาสัตวหันมาทางที่ตนอยูแลวตองหยุดนั่งทันที
หากมีอาวุธอยู และไดโอกาสเหมาะก็ใหผิวปากดังๆ เพื่อใหสัตวหยุดชะงักเปนเปานิ่งใหยิง ถา
เปนสัตวใหญ ตําแหนงที่ควรจะเล็งยิงก็ คือ คอ ปอด หรือ หัว ถาหากสัตวนั้นเพียงไดรับบาดเจ็บและหนี
ไปได จงติดตามรอยเลือดไป ถาสัตวนั้นบาดเจ็บสาหัส ไมชาก็จะลงนอนหมดกําลัง และลุกไมขึ้น ก็ให
ตามไปชาๆ แลวซ้ําใหตาย เมื่อสัตวตายตองรีบชําแระทันที ตัดตอมกลิ่นซึ่งอยูระหวางโคนขาหลังเสีย
และระวังอยาใหกระเพาะปสสาวะแตกได
สําหรับสัตวที่อยูในรู หรือโพรงไม ใหใชไมยาวแยงลงไปดุวามีสัตวอยูหรือไม แลวปดทางออก
เสียใหหมด เวนแตเพียงครูเดียว ใชไมแยงไลใหสัตววิ่งออกมา หรือใชไฟสุมตามโคนไมใหสัตวรีบออกมา
จากโพรง คอยเอาไมตี หรือใชบวงแรว ดักตอนที่วิ่งออกมาได
๖๑

การวางกับดัก
การดักนก และสัตวใหญ ทําไดยากกวาการดักสัตวเล็กๆ เชน พวกหนู และกระตายปา ซึ่งมี
ขอบเขตการหากินจํากัดกวา
ดังนั้น กอนจะวางกับดักตองตัดสินใจเสียกอนวา จะดักสัตวชนิดไหน แลวจึงเลือกชนิดกับดัก
และเหยื่อที่ใชลอสัตวนั้น
การวางกับ ควรวางหลังจากจัดสรางที่พักเรียบรอยแลว และกอนค่ําใหวางกับไวตรงทางแคบๆ
ตรงที่มีรอยสัตวเดินใหมๆ หรือหมูสัตวสดๆหรือที่ใกลๆหนองน้ํา และโปงสัตว
เวลาวางกับดักสัตวนั้น อยาแผวถางรอบๆบริเวณ โดยไมจําเปน ไมควรใชไมสดทํากับ ตามรอย
บากก็ควรจะใชฝุนทาปดเสียดวย ระวังอยาใหเศษไมที่ถากตกเรี่ยราดอยู อยาคุยกวาดพื้นดินเปนอันขาด
พยายามใหทุกสิ่งที่อยูรอบๆอยูในสภาพธรรมชาติใหมากที่สุด เพราะสัตวมักระแวงกลิ่นที่
ผิดปกติ และรองรอยเล็กๆ นอยๆ ที่ผิดธรรมชาติ แลวแผวทางใหสัตวเดินเขาสูกับที่กับดักไดโดยสะดวก
ถาใชบวงดักสัตวก็
ตองกะใหพอดีหัวสัตวจะลอดเขาไปได แตอยาไมใหโตเกินไปจนกระทั่งสัตวเดินรอดผานไปไดทั้งตัว
กับบวง
กับชนิดนี้ ลักษณะเปนบวงหอยลงมาจากกิ่งไม หรือทอนไมที่ปกขึ้นไว ตองทําบวงประมาณให
โตกวาหัวสัตวเล็กนอย แตไมโตกวาลําตัว เพราะจะทําใหสัตวหนีรอดไมได และใหหอยอยูในระยะที่หัว
สัตวจะลอดเขาไป
กับบวงเหมาะสําหรับดักกระตาย ขาดของบวงประมาณ ๔ นิ้ว หอยใหสูงจากพื้นดินประมาณ
๑ ½ -๓ นิ้ว แลวนําไปวางตามทางสัตวเดินใกลพุมไม เมื่อกระตายผานมาถูกบวงเขา หัวของมันก็จะเขา
ไปติดอยูกับบวง ยิ่งดิ้นก็ยิ่งถูกรัดแนนเขาทุกที
แรวตอ
กับดักแบบนี้มีไกติดกับตัวบวง เมื่อสัตวผานเขามาไปถูกบวง ก็จะปลดใหไกหลุดออกจากที่หาม
ทําใหคันแรวดีดตวัดขึ้น การวางไก ควรวางในตําแหนงที่หลุดออกไดสะดวก แตอยาใหหลุดงายจนเกินไป
เพราะไกจะหลั่นหลุดไปเสียกอนที่สัตวจะเขาติดบวง ไมคันแรวตองแข็งแรง และดีดดีนอกจากนั้นเมื่อดีด
เอาสัตวขึ้นไปแขวนอยูแลวก็ตองไมอยูใกลกับพุมไม หรือกอนหินที่จะชวยใหสัตวนั้นอาศัยดิ้นรุดจากบวง
ไปได
กับเหยื่อ
กับดักแบบนี้ก็เชนเดียวกับแบบกอน คือ ใชไมคันแรวที่สามารถดีดกลับขึ้นไปได แตคันแรวจะ
ดีดก็ตอเมื่อมีสัตวมางับดึงเหยื่อ กับดักชนิดนี้สามารถจะรัดขา หรือลําตัวเทานั้น สัตวจะไมตายทันที และ
ดังนั้นจึงดิ้นรน และพยายามกัดเสนเชือก ฉะนั้น ทางที่ดีที่สุดจึงควรเฝาดูอยูใกลๆ ดวย เพื่อฆาสัตวนั้น
เสียกอนที่จะหนีรอดไปได
กะตํา
กับชนิดนี้เหมาะสําหรับดักสัตวตั้งแตขนาดกลางถึงขนาดใหญ และควรเลือกวางในที่ๆมีสัตวชุก
ชุม จึงจะคุมกับเวลา และแรงงานที่จัดทําขึ้น
๖๒

สรางกะตําไวตามทางเดินของสัตว ใกลๆ ลําธาร หรือตามสันเขา ตรวจดูใหดีวาทอนไมที่จะ


เลื่อนลงมาทับสัตวนั้น เลื่อนลงมาไดสะดวก และเร็วพอ และเหยื่อลอนั้น ตองวางไวใหหางพอสมควรพอ
กับเวลาที่ทอนซุงเลื่อนลงมาทับไดกอนที่สัตวจะหลบหัวออกไปทัน
ลวงนก
กับแบบนี้ทําขึ้นไดงาย ใชเหยื่อผูกลอไวตรงกลางบวง นกยางเขามาจิกเหยื่อก็จงกระตุกปลาย
เชือกอีกขางหนึ่งทําใหบวงรัดขานกไวแนน

รูปที่ ๓๓ กับบวง
๖๓

รูปที่ ๓๔ แรวดักสัตว

รูปที่ ๓๕ แรวดักสัตว
๖๔

รูปที่ ๓๖ แรวดักสัตว
๖๕

รูปที่ ๓๗ แรวดักสัตวอีกชนิดหนึ่ง
๖๖

รูปที่ ๓๘ แรวดักสัตวใชเหยื่อลอ
๖๗

รูปที่ ๓๙ กะตํา

รูปที่ ๔๐ ลวงนกชนิดหนึ่ง
๖๘

วิธีกอไฟ
ไฟเปนสวนหนึ่งที่ชวยใหเราอบอุนใจ ชวยปองกันมิใหสัตวปาเขามากล้ํากราย และควันไฟยัง
ชวยไลลิ้นใหหนีไปอีกดวย นอกจากนี้ไฟยังชวยใหความอบอุน ชวยทําใหเสื้อผาแหง ชวยในการหุงหา
อาหาร และตมน้ํา และยังใชในการสงสัญญาณไดอีกดวย
เมื่อมีไมขีดไฟก็ควรจะกอไฟขึ้นใหได ไมวาอากาศจะแปรปรวนอยางใด เมื่อยามปฏิบัติการอยูใน
ที่เปลี่ยวๆนั้น ควรจะใชไมขีดไฟติดตัวไปพอสมควร และหอเก็บไวมิใหเปยกได กอนที่จะประสบกับ
สภาวะจะเอาชีวิตรอดนั้น จึงเปนการสมควรที่จะตองฝกหัดขีดไมขีดไฟ และปองกําบังไฟในขณะที่มีลม
พัดจัดไวบาง เพราะวันหนึ่งจะชวยใหเอาชีวิตรอดไปได
อุปกรณที่ใชในการกอไฟ
เชื้อเพลิง เชื้อเพลิงที่ดี และหาไดงายนั้น ก็คือ ตนไมที่ยืนตนตาย กิ่งใบไมแหงหรือไมไผขอนไม
และกิ่งไมใหญๆ ที่ตกอยูตามพื้นดินนั้น เมื่อดูเผินๆ จะเห็นวาเปยกชื้นอยู แตขางในอาจจะแหงสนิท
อยาบังควรใชไมไผสดๆ เปนเชื้อเพลิงเปนอันขาด เพราะจะไหมปะทุแตกเปนสะเก็ดกระเด็นมาถูกทําให
บาดเจ็บได ไมแหงผาหรือหักออกไดโดยงาย โดยใชฟาดลงกับกอนหิน ในที่ๆไมมีตนไมขึ้นอยูเลยก็ใหใช
ฟอนหญาแหง แตก็ตองระมัดระวังใหมากในการติดไฟ และเติมเชื้อเพลิง
ในปาดิบชื้นนั้น ไม สังเครียด( Aglaia spp ) สดๆติดไฟไดดีในปาดิบแลง กิ่งสดๆขนาดเล็กของ
ไม กันเกรา
( Fagraea frarans )และเปลือกสดๆของไมสองสลึง(Lophopetaiurn duppereanam )จะติดไฟลุก
และใชเปนเชื้อเพลิงไดเปนอยางดี ในปาเบ็จพรรณ ทางภาคเหนือนั้น ไมตะแบก( Lagerstroemia spp )
เปนเชื้อเพลิงที่ดีเพราะเนื้อผางาย และติดไฟดี ไมสัก( Tectona grandis)ก็เปนเชื้อเพลิงไดอยางดีอีก
ชนิดหนึ่งในปาดิบเขา ไมกอ( Quercus spp Castanopsis spp Lithocarpus spp )ไมสนรอย(
Beckia frutes) แหงๆก็ใชไดนอกจากนี้ผลรากและเนื้อไมโคนตนของสนเขาแหงๆ ก็เปนเชื้อเพลิง ดี
เชนกัน
สรุปแลว อาจใชพันธุไมเกือบทุกชนิดทําเชื้อเพลิงได แตอยาไดใชมีพิษเปนเชื้อเพลิงเปนอันขาด
เพราะแมแตควันไฟก็เปนพิษกอใหกิดการระคายเคืองได
ยางและชันตางๆ หรือน้ํามันไมก็เปนเชื้อเพลิงอยางดี เมื่อจะกอขึ้นไฟในที่เปยกชื้น
เชื้อติดไฟ เชื้อติดไฟที่ดีที่สุด และหาไดงายดาษดื่นนั้นก็คือ เยื้อไมผุ เยื้อไมแหงๆนั้น อาจหามา
ไดแมแตในฤดูฝน โดยถากทุบขอนไมผุๆ ดวยมีดพรา ทอนไมหรือแมแตใชมือเปลาๆ แกะฉีกเอา เชื้อติด
ไฟที่หาไดตามธรรมชาติก็คือ ไมแหงซีกเล็กๆ เปลือกไมแหง สะเก็ดไม ใบไมแหงกิ่งไม ตะไครน้ําแหง
หญาแหง ผักกูดแหง รังนก เยื่อไม และขี้มอด ขี้หนอนที่มักพบอยูตามใตเปลือกตนไมตายนั้น
๖๙

กอนกอไฟใหเตรียมเชื้อติดไฟ เชื้อเพลิง และไมขีดไฟไวใหพรอมมูล และตรวจสอบดูใหแนใจวา


ทุกสิ่งแหงดี เชื้อเพลิงก็ตองมิใหมากพอที่จะใชปอนใหไฟลุกอยูเรื่อยๆเมื่อไดกอไฟใหติดดีแลว
กองเชื้อติดไฟใหกายกันเปนรูปปรามิดต่ําๆ เพื่อใหติดจากเชื้ออันหนึ่งไปยังอีกอันหนึ่งไดสะดวก
และเวนชองวางเล็กๆตรงฐานไวสําหรับจุดไฟ
แลวหาเศษไมชิ้นเล็กๆ หรือเชื้อเพลิงอื่นใดมาคอยๆ สุมเติมลงไปบนกองเชื้อติดไฟ กอนที่จะจุด
ไฟ หรือหลังจากที่เชื้อติดไฟเริ่มติดไฟแลว เมื่อไฟติดดีพอสมควร จึงเติมเชื้อเพลิงชิ้นเล็กๆ ตอไปอีก แลว
จึงวางชิ้นใหญ ลงไปภายหลัง ไมควรใชไมทอนใหญๆกอน เพราะจะทับไฟที่เริ่มติดลุกดีใหมอดลง การ
กรองแบบคอกหมูก็เปนอีกวิธีหนึ่งสําหรับวางเชื้อติดไฟ และไมฟนทอน ดังแสดงในรูปที่ ๔๓ นั้น
เมื่อไฟติดลุกดีแลวก็เติมไมสดๆหรือทอนไมผุลงไปเพื่อใหไฟลุกชา
สถานที่สําหรับกอกองไฟ
ใหเลือกที่อยูหางจาเชื้อเพลิงอื่นๆ และเปนที่กําบังลมเพื่อปองกันไมใหไฟลุกลามไปถึงไดและให
เก็บกวาดใบไม กิ่งไม หญาแหงตางๆออกใหหมด
ที่นั้นตองแหง หาเปนฤดูฝนก็หาที่ใตรมไม หรือที่เวาตามตลิ่ง หาพื้นดินแหงก็ใหเก็บกวาดเศษ
กิ่งไมออกไปใหหมด หากพื้นดินเปยกก็ใหกอไฟบนกองไมหรือกองหิน
เพื่อใหไฟติดลุกอยูตลอดเวลา จงกอไฟในหลุมตื้น ขี้เถาจะชวยใหถานไฟติดคุอยูเสมอ และจะ
กอไฟขึ้นไดอีก เมื่อถึงคราวตองการ หรือจะใชดินกลบๆไวบางๆ ก็ชวยรักษาใหไฟติดอยูไดเหมือนกัน
อยากอไฟใหกองใหญจนเกินไป จะทําใหเปลืองเชื้อเพลิงมาก และระวังยาก ถาประสงคจะกอ
ไฟกองใหญๆ ก็ใหกอไฟกองเล็กๆ ขึ้นไวกอน เมื่อตองการไฟกองใหญจึงคอยเติมเชื้อไฟลงไปทีหลัง
วิธีจุดไฟ
ใชไมขีดไฟหรือชุดไฟ
หากมีไมขีดไฟอยูแลวก็ควรใชอยางประหยัดที่สุด และถามีความชํานาญพอ อาจใชไม
สองอันถูกันแรงๆ หรือตีเหล็กไฟใหติดกับชุดไฟ แตวิธีดังกลาวนั้นจะไมไดผลถาขาดความชํานาญ
ฉะนั้นจึงควรเก็บถนอมไมขีดไฟไวสําหรับจุดไฟ และถาไมเทียนไขก็ใชเศษไม หรือกิ่งไม
แหงๆผูกเปนกําหลวมๆขึ้นใชตางเทียน ถาอยูในปาที่มีสนเขาก็ถากเอาราก หรือเนื้อไมโคนตนมาใชจุดไฟ
ไดดี
เวลาจุดเชื้อติดไฟนั้น ใหจุดทางดานที่ลมโกรกใกลๆพื้นดิน และปองลมไดดี
๗๐

รูปที่ ๔๑ กองฟน
๗๑

รูปที่ ๔๒ กองซุง
๗๒

ใชแสงแดดผานเลนส
แวนขยายที่ถอดออกจากกลองถายรูปก็ดี จากกลองสองทางไกลทั้งชนิด ๒ ตา และตาเดียวก็ดี
หรือกระจกไฟฉายก็ดี ในวันที่มีแดดจัดอาจนํามาใชเปนเครื่องรวมแสงแดดสําหรับจุดใหลุกไหมได
ใชหินเหล็กไฟ
วิธีนี้เปนวิธีที่ดีที่สุดวิธีหนึ่ง สําหรับใชจุดในยามที่ไมมีไมขีด ดังนั้นจึงควรหาหินเหล็กไฟ
หรือหินแข็งๆ กอนเล็กๆ ใสไวในกลองเก็บไมขีดไฟ ซึ่งกันน้ําไดติดตัวไวเสมอ เวลาจะตีใหถือหินเหล็กไฟ
ไวใกลๆชุดใหมากที่สุดเทาที่จะมากได แลวใชสันมีดหรือชิ้นเหล็กกลาเล็กๆตีลงไปแรงๆจะทําใหเกิด
ประกายไฟแลบติดชุดขึ้นได
ถ า ได ห ยดน้ํ า มั น ก าดลงไปบนชุ ดสั ก ๒-๓ หยด จะช ว ยให ไฟติ ดง ายขึ้น เพื่ อความ
ปลอดภัยควรเอียงศีรษะไปขางใดขางหนึ่งเสียกอน
เมื่อชุดติดกรุนๆใหพัด หรือเปาเบาๆ จนกระทั่งลุกโพลงแลวจึงนําไฟจุดกองเชื้อเพลิงที่
เตรียมไวใหแรงเสียดสี การกอไฟโดยวิธีนี้ใชกันมาก และไดผลดีที่สุดในการใชแรงเสียดสี เครื่องมือที่ใชมี
ดังนี้
๑. ไม คัน ธนู ทําขึ้นดว ยกิ่งไมแข็งๆยาวประมาณ ๒ ½ ฟุต มีเชือกผูกโยงหยอนๆ ที่
ปลายทั้งสอง
๒. ไมแหงกลมยางประมาณ ๑ ¼ ฟุต ปลายขางหนึ่งมน สําหรับปน
๓. แผนเชื้อไฟสองอัน อันหนึ่งเจาะรองไวที่ริมใหพอดีกับปลายขางของบนของไมปน
เขาไปได
๔. ไมเนื้อแข็งแผนเล็กๆ เจาะรูตรงกลางใหโตพอที่จะสอดปลายดานบนของไมปนเขา
ไปได
เมื่ อเตรี ย มเครื่ องมื อเสร็จ แล ว นํ า มาประกอบเข า ทีแ รกเอาสายเชือ กที่ผู ก ติด กั บ
แผนกระดาษสําหรับติดไฟ เอาชุดวางลงตรงรอยหยักระหวางกระดาษ
ชักไมคันธนูใหสีไปมาทํานองเดียวกับการสีซอ ก็จะทําใหไมปนหมุนไปดวย ครั้งแรกๆ
ใหสีชาๆแลวคอยๆเร็วขึ้นๆ เมื่อเริ่มมีควันออกมา ถาเห็นมีควันก็มักจะมีประกายไฟเกิดพรอมๆกันไป ทํา
ใหชุดติดไฟ แลวคอยๆ เติมชุดลงอีกทีละนอย แลวเปาคอยๆ จนกระทั่งไฟลุกโพลงขึ้น
๗๓

รูปที่ ๔๓ วิธีจุดไฟจากแสงอาทิตยดวยเลนซ
๗๔

รูปที่ ๔๔ วิธีจุดไฟดวยหินเหล็กไฟ
๗๕

รูปที่ ๔๕ วิธีจุดไฟดวยการเสียดสี
๗๖

โดยวิธีชักเชือก
ใชเสนหวายแหงๆ ยาวประมาณ ๒ ฟุต เสนผาศูนยกลาง ¼ นิ้ว เปนเชือกและกิ่งไม
แหงขาดยอมๆกิ่งหนึ่ง ใหปกกิ่งไมลงในดิน และใชกอนหินค้ําทางดานหนึ่งไว (ดูรูปที่ ๔๗) แลวผาปลาย
ไมขางที่อยูพนพื้นดินขึ้นมาเอาลิ่มขัดไวใหเอาออก แลวดึงชักเสนหวายไปๆมาๆความรอนจากการเสียดสี
ของหวายกับไมจะทําใหชุดติดไฟได
โดยวิธีสีไม
วิธีนี้ใหใชไม ๒ ชิ้น ชิ้นหนึ่งสําหรับใชเปนไมสี (ดูรูปที่ ๔๘) ไมสี ควรใชไมเนื้อออนหรือ
ไมไผซีก สวนอีกชิ้นหนึ่ง ใชกาบหุมชอมะพราวแหงๆ ที่โคนทางตนชก หรือตาว และเหยื่อแหงโคน
ทางมะพราวเปนชุด วิธีนี้นิยมใชกันมากเหมือนกัน
ขอแนะนําที่เปนประโยชน
อยาพยายามใชไมขีดจุดไฟที่กองไวไมเรียบรอย
อยาใชไมขีดจุดบุหรี่ แตใหใชจากกองไฟ หรือใชแวนขยาย ทั้งนี้ เพื่อสงวนไมขีดไวใชใน
เวลาตอไป
อยาจุดไฟเลนเสียเปลาๆเพราะจะทําใหเปลืองเชื้อเพลิงโดยใชเหตุ
พยายามหัดกอไฟดวยวิธีโบราณใหเปน กอนที่ไมขีดจะหมด
นําชุดไฟแหงๆ ติดตัวไวบาง โดยเก็บไวในที่ๆกันน้ําได และเมื่อมีโอกาสควรเอาออกมา
ตากแดดเปนครั้งคราว และทางที่ดีควรเอาถานปนใสลงไปในหีบที่เก็บชุดไฟดวย เพราะจะชวยทําใหแหง
ดีขึ้น เมื่อพบชุดไฟดีๆ ควรเก็บรวบรวมไวเสมอ ชุดอาจจะทําไดในปา โดยใชไมมีดขูดผิวไมไผแหงซึ่งจะ
ออกมาเปนฝอยๆและใชเปนชุดไฟไดเปนอยางดี
ควรเก็บสะสมเชื้อเพลิงไฟไว ในขณะเดินทางไปกอนที่จะตั้งคาย และควรเก็บเชื้อติดไฟ
แหงไวใตชายคา ไมฟนที่เปยกชื้นก็นําไปกองไวขางๆ กองไฟเพื่อจะใชไดตอไป แลวแบงเก็บเชื้อติดไฟ
และเชื้อเพลิงเพื่อไวใชในตอนเชาไดรวดเร็วขึ้น
เมื่อตองการจะผาไมทอนใหญๆ สุมวางไวขางบนไฟ ก็จะไหมเขาไปจนถึงแกน เมื่อไฟ
ไหมจนเปนถานลุกแดงแลวก็เอาขี้เถากลบลงบางๆ แลวใชดินแหงโรยทับอีกชั้นหนึ่งไฟจะคุกรุนๆ ไป
จนถึงเชาวันรุงขึ้น
เมื่อจะยายไฟไปที่อื่นก็ใชไมผุๆที่ติดอยู ที่ติดอยู กาบมะพราวไหมไฟ หรือถานไฟที่คุกรุนอยูนั้น
เปนเชื้อสําหรับจุดไฟกองใหม
เมื่ อ จะออกจากที่ พั ก ต อ งดั บ ไฟให เ รี ย บร อ ยเสี ย ก อ น อาจใช น้ํ า ราด เขี่ ย ขี้ เ ถ า ให
กระจายออกแลวกระทืบถานไฟใหดับมอด หรือใชดินเปยกกลบทับก็ได
๗๗

ในที่แหงแลว ไฟปาจะเกิดขึ้นไดงาย จึงควรใชวิธีดับไฟทั้งสามวิธีนี้แลวก็ไดเดินทาง


ตอไปดวยความปลอดโปรงวาจะไมเกิดไฟไหมปาขึ้นไดภายหลัง

รูปที่ ๔๖ จุดไฟโดยใชไมเสียดสีกัน
๗๘

การใชไฟผิง
กองไฟเล็กๆเหมาะสําหรับใชผิงใหอบอุน เพราะไมรอนจัดจนเกินไป ถึงกับตองทําใหเปลี่ยน
อิริยาบถบอยๆ ไมเปลืองเชื้อเพลิง และสะดวกในการควบคุม
เพื่อใหรับความรอนจากกองไฟกองเล็กๆ อยางเต็มที่นั้นก็ใหเอาเสื้อชั้นนอกหรือ เครื่องใชสอย
ชิ้นใหญๆ หรือทอนไมสดๆ ไปกั้นกําบังใหความรอนสะทอนกลับมา การกอไฟกองเล็กๆ ขึ้นรอบตัวนั้น
ยอมทําใหอบอุนสบายกวาไฟกองใหญๆ แตการนี้ควรระมัดระวัง อยาใหไฟนั้นเปนกับดักตนเองเขาได
การใชไฟหุงตม
กองไฟเล็กๆเหมาะที่สุดสําหรับการหุงตม กองกายไมฟนเขาดวยกันใหดีแลวจุดเผาใหไหมโทรม
ลงเปนถานไฟก็จะไดไฟหุงตมที่มีความรอนสูง
การทําเตาวิธีงายๆโดยใชทอนไมหรือกองหินวางก็ได หรือจะขุดเตาเปนหลุมแคบๆก็ไดแลวหา
กิ่งไมยาวๆ พาดเปนคานเขากับไมงามเพื่อแขวนภาชนะที่ใชหุงตม ปงปลา หรือนกที่ตองการเหนือกอง
ไฟนั้น
ไฟที่ใชในการปงนั้น ใหกอขึ้นในหลุมและรอจนกระทั่งเชื้อเพลิงไหมโทรมลงเปนถานเสียกอน
๗๙

รูปที่ ๔๗ วิธีกองไฟอยางายๆเพื่อหุงตมอาหาร
๘๐

รูปที่ ๔๘ การทําหลุมยางปลา
๘๑

การประกอบอาหาร
การเตรียมอาหารสําหรับหุงตม
ปลา
หลังจากจับปลาไดใหรีบฆาใหตายทันที โดยแทงตัดกระดูกสันหลังและเสนเลือดใหญที่
อยูใกลๆกันนั้นใหขาด แลวขอดเกล็ด ผาทองควักไสออก และลางน้ําใหสะอาด จึงตัดหัวทิ้งเสีย นอกจาก
กวาจะตองการใชไมเสียบอยางไฟ
ปลาดุก และปลาไหลนั้นไมมีเกล็ด ใหลอกหนังทิ้ง หรือลางขูดหนังใหสะอาดเสียกอน
ปลาที่มีขนาดนอยกวา ๔ นิ้ว ไมตองเอาเครื่องในออก แตตองขอดเกล็ดหรือลอกหนัง
ปลาตัวเล็กๆ จําพวกปลาซิว ปลาสรอยนั้น ไมตองทําความสะอาดมากนักก็ได เพราะเกล็ดหลุดงาย
เพราะสามารถลางออกทันทีหลังจากจับมาได กระเพาะ และลําไสอาจจะใชนิ้วควักออกมาได

รูปที่ ๔๙ วิธีแทงปลา
๘๒

รูปที่ ๕๐ วิธีขอดเกล็ดปลา

รูปที่ ๕๑ วิธีผาทองปลา
๘๓

รูปที่ ๕๒ วิธีลอกหนังปลา

เปด ไก นก
เปด ไก นก เปนๆ นั้น ใหตัดหัวเสีย เลือดก็จะไหลออกจนตาย ถาสัตวนั้นตายมากอน
แลวใหรีบตัดหัวออกทันที แลวลวกดวยน้ําเดือดๆ เพื่อจะถอนขนไดงาย ยกเวน เปดน้ําซึ่งถอนขนออกได
งายโดยไมตองลวกน้ํา ผาเอาเครื่องในออก แลวลางดวยน้ําที่สะอาดๆใหเก็บคอ ตับ และหัวใจ ไวตมแกง
สัตวเลี้ยงลูกดวยนม
ใหรีบถลกหนังใหเร็วที่สุดหลังจากสัตวนั้นตาย เพราะทิ้งไวนานจนเกินไปจะทําใหได
ยากมาก ในการถลกหนัง สัตวขนาดเล็ก และขนาดยอมๆนั้นใหแขวนซากสัตวไวกับกิ่งไมเอาหัวหอยลง
เชือดใหตกในภาชนะรองรับแลวก็นําไปตมใหสุกดี เลือดมีคุณคาทางอาหารสูง และยังมีพวกเกลือแร
ตางๆ ที่เปนประโยชนตอรางกาย
เชือดควั่นผิวหนังรอบๆเขา และขอพลับ แลวกรีดตัดผิวหนังใหขาดออกไปตามขาหลัง
ทั้งสองขาง และกรีดตัดออกไปตามหนาทองขึ้นไปคาคอหอย แลวกรีดตัดตอไปตามขาหนาทั้งสองขาง
ตอจากนั้นใหเชือดเปนวงรอบๆ อวัยวะสืบพันธุ และตัดออกใหหมด ถลกหนังจากขาหลังลงไป ผาทอง
๘๔

แลวใชไมถางออก ควักเครื่องในออกไปใหหมด ถลกหนังจากขาหลังลงไป ผาทองแลวใชไมถางออก ควัก


เครื่องในออกใหหมด โดยเริ่มจากหลอดลมลงไปถึงชองทวารหนัก
ตอมตางๆ ลําไสใหญบริเวณทหารนัก และอวัยวะสืบพันธุ ใหตัดทิ้งไปเสียคงเหลือไวแต
พวก ไต ตับ หัว ใจ ไขมันที่หุมอยูรอบๆลําไส มันสมอง ตา และลิ้น เพราะอวัยวะเหลานี้ใชเปนอาหารได
ควรเก็บเอาหนังไวดวย เพราะเมื่อตากแหงแลวเบา และใชปูนอนหรือทําเครื่องนุงหมไดเปนอยางดี

รูปที่ ๕๓ วิธีถลกหนังสัตว

สัตวใหญกวานี้ก็ทําไดโดยวิธีดังกลาวนั้น แตบางที่การยกสัตวขึ้นแขวนอาจทําไมได เพราะขาด


เครื่องมือชวยยก ในกรณีเชนนี้อาจถลกหนังบนพื้นดินทีละขาง แตระวังอยาใหเนื้อสัตวสกปรกโดยวาง
เนื้อบนแผนหนังนั้น หรือใชหนังสัตวนั้นหอไว
หนูชนิดเล็ก และใหญใชเปนอาหารไดดีเชนกัน โดยเฉพาะตมแกง ใหถลกหนัง และเอาเครื่องใน
ออก แลวตมในน้ําเดือดประมาณ ๑๐ นาที โดยไมตองเอาตับทิ้ง
กระตายนั้นดักจับ และฆาใหตายไดงาย เนื้อก็มีรสดี แตไมมีไขมัน วิธีการถลกหนังทําไดดังนี้ก็
คือกรีดหนังทางดานหลังหัวใจขาดเปนแผล หรือตัดหนังออกใหเปนชองกวางพอที่จะสอดนิ้วมือเขาไปจับ
ยึดไดแนน แลวจึงลอกถลกหนังลงไปทางหาง เวลาจะควักเอาเครื่องในออกนั้น ใหผาชองทองออกไป
ตามลําตัว ถางออกใหกวางแลวเขยาแรงๆ เครื่องในจะหลุดออกมา ที่หลงเหลืออยูก็ขูดลางออกเสียให
หมด พวกลิง หรือคางนั้น กอนถลกหนังออกควรจะนําไปเผาไฟใหขนไหมเสียกอน เพราะถาไมทําเชนนั้น
เมื่อถลกหนังออก ขนจะหลุดติดเนื้อและลางออกไดยาก
๘๕

สัตวเลื้อยคลาน
งูตางๆยกเวนงูทะเล สัตวจําพวกตะกวด เหี้ย และแยนั้น ก็รับประทานได ใหตัดหัวและถลก
หนังเสียกอน กอนที่จะใชเปนอาหาร ถาจะใชงูพิษเปนอาหารแลว ควรตัดสวนหัวเลยเขามาในลําตัว
ประมาณ ๒ นิ้ว เพื่อจะเอาตอมและทอน้ําพิษออกเสียกอน เนื้องูนั้นอาจจะตมหรือทอดก็ได
วิธีประกอบอาหาร
๑. การตมแกง
การตมแกงนั้นถือเปนวิธีการประกอบอาหารที่ดีที่สุด เพราะจะไดนําแกงไวสําหรับซดกลั้วคอ
และเกลือแรที่ละลายอยูในน้ําแกงนั้นไมไดสูญเสียเปลาดวย
วิธีนี้เหมาะที่สุดสําหรับเนื้อเหนียวๆ หรืออาหารที่ตองใชเวลาปรุงนานๆนอกจากนี้ยังอาจตม
อาหารหลายๆอยางรวมกันเลยทีเดียว เพราะรสชาติอาหารดีๆ ก็จะแทรกซึมเขาไปในเนื้ออาหารบาง
ชนิดที่มีรสดอยกวาดวย
กระบอกไมไผอาจใชเปนภาชนะสําหรับตัก และเก็บน้ําไดอยางดีเวลาใชหุงตม จะไมไหมเกรียม
และรั่ว นอกจากจะใชมาหลายๆครั้ง กระดองเตา และเปลือกหอยทะเลก็ใชเปนภาชนะในการหุงตมได
เปนอยางดีเชนกัน
ถาตองการใชน้ําเปนจํานวนมาก ก็หาไมไผลํายาวๆ กระทุงขออก เวนขอสุดทายเอาไปพิงยาง
เอาไว
ถาตองการหุงตมอาหารจํานวนไมมากนัก ก็ใชกระบอกไมไผเพียงปลองเดียว เจาะรูทางดานบน
แลวเอาหวาย หรือเถาวัลยรอยผูกแขวนไวเหนือกองไฟ หรือวางพิงไวขางกองไฟก็ได
ถาหาไมไผไมได อาจทําภาชนะขึ้นไดจากเปลือกไม หรือใบไม โดยใชหนามหรือไมกลัดเย็บให
ติดกัน ภาชนะนี้ตอนใตระดับน้ําจะไมไหมไฟ แตควรทําใหภาชนะสวนที่อยูเหนือระดับน้ําเปยกอยูเสมอ
เพื่อไมใหไฟติดไหมลามลงมา ควรใชไฟออนๆโดยใหมีเปลวไฟแตเพียงเล็กนอยเทานั้น
๘๖

รูปที่ ๕๔ วิธีตมน้ําดวยกระบอกไมไผ
อาจตมน้ําใหเดือดไดในแองดิน เหนีย ว หรือโพรงไมบนไมซุงโดยเผากอนหินใหรอนจัด แลว
หยอนลงไปในน้ําในแองนั้นๆ ในการหุงตมอาหารนั้นก็ใหใชหินเผาใหรอนแดงๆ เติมลงไปเรื่อยๆ จนน้ํา
เดือด แลวใชใบไมโตๆ ปดทิ้งไวประมาณ ๑ ชั่วโมง หรือจนกระทั่งอาหารสุก
๘๗

๒. การยาง
การยางเปนวิธีที่รวดเร็วสําหรับอาหารจําพวกผัก หรือเนื้อที่ไมเหนียว เครื่องใชที่จําเปนไดแก
ไฟ และสิ่งที่ใชเสียบ หรือรองอาหารในการยาง การยางเนื้อโดยใชเสียบเนื้อวางไวใกลๆ ถานไฟหรือใชไม
ที่เปนงามค้ําไว การยางทําใหเนื้อขางนอกสุกเกรียม เปนการชวยเก็บกักน้ําภายในไมไผไมใหไหลออกมา
วิธีนี้เหมาะที่จะใชกับปลา กอนเนื้อ หรือ สัตวเล็กๆ ทั้งตัว
๓. การอบปง
การอบปงอาจทําไวในหลุม หรือใชใบไม หรือดินเหนียวหอหุม การอบปงในหลุมนั้น ใหใสกอน
ถานไฟลงไปในหลุมกอน เอาอาหาร และน้ําใสภาชนะที่ปดฝาสนิท หยอยลงไปในหลุม และเอาถานวาง
ลงบนภาชนะอีกครั้งหนึ่ง แลวจึงเอาดินปดทับดานบน ถาทําไดควรเอาหินกรุรอบๆหลุมเสียกอน แลวจึง
ใสถานไฟเพื่อจะใหหินเหลานั้นเก็บความรอนไว การอบปงแบบนี้ยังปองกันไมใหแมลงวัน และแมลงอื่นๆ
ลงไปในอาหารได และทั้งยังจะพรางแสงไฟไดในเวลากลางคืนอีกดวย
การอบปงดวยวิธีใชดินเหนียวหุม เปนวิธีประกอบอาหารของพวกยิปซี และใชไดกับเนื้อบาง
ชนิดเทานั้น ใหใชโคลน ถาจะใหดีก็ใชดินเหนียวหอหุมอาหาร หรือเนื้อใหมิดแลววางบนกองไฟ เมื่อ
คะเนวาอาหารสุกแลวก็กะเทาะดินออก จะไดอาหารและก็พรอมที่จะรับประทานไดเลย
วิธีนี้นับวามีขอดีอยูหลายประการ แรกทีเดียว อาหารจะไมไหมเสียหาย เมื่อกะเทาะเอาดินที่หุม
ออก เกล็ดปลา ขนเมน หรือขนนก ก็จะหลุดติดออกไปกับดิน มันฝรั่ง หอยกาบ และอาหารชนิดอื่นก็
อาจประกอบเปนอาหารไดดวยวิธีนี้เชนกัน บางที่ก็จะอบอาหารไดโดยใชใบหมาก หรือใบกลวยหอให
หนาสักประมาณ ๓ – ๔ นิ้ว ทั้งนี้เปนการเผื่อไวใหชั้นนอกๆไหมไฟเมื่อนําไปอบปง
๔. การปง
อาจนึ่งอาหารโดยไมตองมีภาชนะใสอาหาร แตก็เหมาะสําหรับอาหารประเภทที่ไมตองใชเวลา
ในการหุงตมมากนัก เชน หอยและปู เปนตน ใหเอาหินที่เผารอนแลววางลงไปในหลุมประมาณครึ่งหลุม
แลวเอาไมสดๆ วางทับ เอาอาหารวางลงไปในใบไมนั้น แลวเอาใบไมคลุมทับลงไปอีกชั้นหนึ่ง ใชกิ่งไม
หรือไมไผลําเล็กๆ หรือตนออปกใหทะลุใบไมลงไป จนถึงชั้นอาหารแลวเอาดินโรยทับใหแนนอีกชั้นหนึ่ง
ดึงกิ่งไมออกแลวคอยๆ เทน้ําลงไปตรงชองรูไมนั้น ถาใชไมไผ หรือตนออก็ใหเทน้ําลงไปตามรูไมไผ หรือ
ตนออนั้น
๘๘

รูปที่ ๕๕ วิธีรมควัน
๘๙

การประกอบอาหารวิธีนี้คอนขางจะชา แตก็นับวาเปนวิธีการที่ดีวิธีหนึ่ง โดยไมทําใหคุณคาของ


อาหารเสียไป หรือจะสูญเสียไปเปนสวนนอย และทําใหรสดีขึ้นอีก
อาจนึ่งขาวไดในกระบอกไมไผโดยกรอกขาวสารลงไปในกระบอกไมไผประมาณครึ่งกระบอก
แลวเทน้ําลงไปใหระดับน้ําสูงขึ้นมาประมาณสามในสี่ของกระบอก จุกปากกระบอกดวยใบไม แลวนําไป
วางพิงไวขางกองไฟ ใหพลิกกระบอกไมไผบางเปนครั้งคราว ขาวจะสุกในเวลาประมาณ ๒๐ นาที
๕. การคั่วแหง
การคั่วแหงนี้นับเปนวิธีประกอบอาหารที่ใชไดดี กับอาหารจําพวกเมล็ดพืชบางชนิด อาหารที่
ประกอบสุกดีแลวจะมีรสดีขึ้น ยอยงาย กับทั้งยังรับประทานไดปลอดภัยกวาอาหารดิบๆ สัตวปา ปลา
หอย และพวกกุงตางๆนั้น ควรจะหุงตมใหสุกเสียกอน ไมควรรับประทานปลาน้ําจืดดิบๆ หรือดวยการ
รมควัน และปลาพวกนี้มักจะมีพยาธิตัวตืด และพยาธิในตับอาศัยอยู วิธีทํา ใหวางอาหารลงไปในภาชนะ
ที่เปนโลหะแตใชไฟออน คนอาหารนั้นบางครั้งคราว จนกระทั่งอาหารสุกเกรียม ในกรณีที่ไมอาจหา
ภาชนะใดๆได ก็อาจจะใชแผนหินแบนๆที่เผาใหรอนจัดแทนได
๖. การรมควัน
อาหารที่รมควันแลว เราอาจจะเก็บไปเปนเดือนๆ และยังมีน้ําหนักเบาอีกดวย เมื่อลาสัตวปาตัว
ใหญๆมาได ก็จะไดเนื้อสัตวเหลือเฟอ การรมควันจะปองกันไมใหเนื้อเนาเสียหายไปเปลาประโยชนและ
ยังมีเนื้อเก็บสํารองไวใชในยามที่หาสัตวลาไมได หรือในกรณีที่ไมสามารถออกไปลาสัตวได วิธีรมควันเนื้อ
ดูหัวขอการถนอมอาหารหนา ๙๐ ประกอบ
วิธีการเตรียมอาหารจากเนื้อผัก และ เนื้อสัตว
คําแนะนําขางลางนี้เปนแนวทางทั่วๆไป ในการเตรียมอาหาร รายละเอียดตางๆ จะกลาวไวใน
ภาคผนวกของหนังสือนี้วาดวย พืชและสัตวที่ใชเปนอาหารได และที่เปนพิษ
ผักสด
ใหตมใบ ลําตนหนอ ของพืช จนกระทั่งสุกนิ่ม ควรเปลี่ยนน้ําที่ตมบอยๆ โดยเทน้ําตมเกาทิ้งเสีย
จะชวยใหรสขม และรสที่ไมนารับประทานอื่นๆ ของผักนั้นหายไปได แตวิธีนี้จะทําใหคุณคาทางอาหาร
ของผักนั้นๆเสียไป
รากและหัวของพืช
สวนที่เปนราก หรือหัวของพืชนั้น นอกจากจะใชวิธีตมแลว ยังมีวิธีงายๆ อีกวิธีหนึ่งคือ ปง หรือ
ยาง ใหหมกของที่จะปง หรือยางลงไปในกองไฟ หรือวางไวบนกองไฟแลวแตกรณี ทิ้งไวจนกระทั่งสุกนิ่ม
เสียกอน แลวจึงลอกเอาเปลือกออกทิ้งก็ใชเปนอาหารได
ผลไม
ผลไมมีหลายชนิดที่รับประทานไดสดๆ ชนิดที่เนื้อเหลวๆนํามาตม และชนิดที่มีเปลือกหนา
เหนียวก็นํามาปง หรือยางไดเหมือนกัน
ผลไมเปลือกแข็ง
ผลไมเปลือกแข็งสวนมากรับประทานไดสดๆ แตก็มีบางชนิด เชน ผลกอ นั้นตองทุบ และคั่ว
แหงเสียกอน ผลเกาลัดและกอหนามนั้น ถาคั่วนึ่ง หรืออบนึ่งเสียกอนก็จะมีรสชาติอรอย
เมล็ดพืช
พวกเมล็ดพืชถานําไปคั่วแหงเสียกอน ก็จะมีรสชาติดีขึ้น แตจะรับประทานสดๆก็ได
น้ําเลี้ยงพืช
๙๐

น้ําเลี้ยงของพืชบางชนิด มีรสหวานก็อาจเคี่ยวทําเปนน้ําเชื่อมไดโดยตมพอเดือดเปนเวลานานๆ
เพื่อใหน้ําระเหยออกไปเสียบาง
เห็ด
เห็ดที่กินไดชนิดตางๆ นั้น มักจะมีตัวหนอนกัดกินอยูแมวาเห็ดที่ยังออนอยูจะไมถูกตัวหนอนกัด
ทําลายก็ตามที เมื่อเก็บมาไดควรแชทิ้งไวในน้ําเกลือ สัก ๒-๓ ชั่วโมง ตัวหนอนก็จะออกจากเห็ด ลอย
ขึ้นมาอยูบนผิวน้ํา
สัตวขนาดกลางและขนาดใหญ
สัตวที่ขนาดโตกวาแมวบางเทานั้น ควรจะตมเสียกอนที่จะนําไปยาง ถาหากเนื้อสัตวนั้นเหนียว
มาก ใหตมผสมกับผักจนเปอย ยางเนื้อสัตวใหสุกโดยเร็ว เพราะถาใชไฟออน จะทําใหเนื้อเหนียวถา
ตองการยางจงใชน้ํามันทาเสียกอน
สัตวขนาดเล็ก
นกหรือสัตวเล็กนั้นๆ นําไปปรุงอาหารไดเลยทั้งตัว จะดวยวิธีตมเปอย อบ ยาง ทอด หรืออบปง
ก็ได ถาไมแนใจวาเนื้อสัตวนั้น จะเปนพิษหรือไม ก็ใหตมเสียกอนแลวจึงยางหรือตมแกงตอไปนกที่กิน
ซากสัตวเปนอาหาร เชน นกแรงนั้น ควรจะตมสัก ๒๐ นาทีกอนแลว จึงนําไปประกอบอาหาร นก หรือ
ไกนั้น ถาไปประกอบอาหารทั้งหนังก็จะชวยรักษาคุณคาทางอาหารไวไดเปนอยางดีถาหกผูใดทํากับขาว
เปน ก็อาจทําใหเนื้อของนก หรือไกนั้น มีรสชาติมากขึ้น โดยยัดใสดวยเนื้อ มะพราว ผลไม เมล็ดพืช
เผือก มัน หรือผักก็ได
ปลา
ปลานั้นจะนําไปประกอบอาหารไดทุกที แตเพื่อกําจัดตัวพยาธิ ของปลาน้ําจืดใหหมดไป จงตม
สุกกอนที่จะรับประทาน หรือกอนที่จะไปประกอบอาหารวิอื่นๆ เพื่อกําจัดกลิ่นคาวปลาใหหมดไป จงตม
น้ําใหเดือดเสียกอน แลวจึงใสปลาลงไป
จะยางปลาโดยใชกรับ หรือใชไมสดๆทําไมตับ หรือจะปงอบโดยใชน้ํา หรือดินเหนียวหอได
สัตวเลื้อยคลาน และกบ เขียด
กบ เขียด งูตัวเล็กๆและแย ก็ไมทําใหตับยางได จงถลกหนังกบ เขียด และงู กอนที่จะนําไป
ประกอบอาหาร เพราะเหตุวา หนังอาจเปนพิษได เคยปรากฏวาคางคก ถากินทั้งตัวอาจทําใหถึงตายได
เนื้อที่ดีที่สุดของแยก็คือ ตอนขาหลัง และโคนหาง เนื้อกบสวนที่ดีที่สุดก็คือ ขาหลัง งูตัวใหญๆ ปลาไหล
เตา และตะพาบน้ํานั้น นําไปตมแกงเปนดีที่สุด กอนที่จะนําเตา และตะพาบน้ํานั้นไปตมแกงนั้น ควรจะ
เผาเสียกอน เพราะจะทําใหตายโดยเร็ว และควรจะลางน้ําใหสะอาด เพราะถาทําสะเพราแลว จะทําให
เนื้อเตามีกลิ่นเหม็นไมนารับประทาน
กุง ปู
ปู กุง ตางๆ และสัตวจําพวกเดียวกัน ตองทําใหสุกเพื่อฆาพยาธิเมื่อจับหามาไดแลวตองรีบนําไป
ประกอบอาหารทันที จงใชพวกนี้ประกอบอาหารเมื่อยังเปนๆอยู โดยหยอนลงไปในน้ําเดือดๆ
แมลงตางๆ
ตั๊กแตน ดวง ปลวก มด และแมลงชนิดอื่นๆนั้น จับหาไดงาย และพอที่จะใชเปนอาหารประทัง
ชีวิตอยูได เมื่อถึงคราวคับขันจริงๆ อาจใชตมแกงได ตั๊กแตนตองทําใหสุกดี เพื่อฆาตัวเบียฬในตัวใหตาย
จนสิ้น
๙๑

ไขตางๆ
ไขสัตวทุกชนิดรับประทานไดทุกระยะ และเปนอาหารที่ปลอดภัยที่สุด อาจจะตมใหสุกแข็งเพื่อ
เก็บไวไดนานหลายๆวัน ไขเตา และตะพาบน้ํา ไขเหี้ยและแลน จะตม หรือยางใหสุกก็ได แตไขจะขาวไม
สุกแข็งเหมือนไขสัตวอื่นๆ
เครื่องปรุง
เครื่องชูรส เกลือ นับวาเปนของจําเปนที่ทําใหอาหารมีรสชาติ และจําเปนตอความเปนอยูของ
รางกาย อาจจะหาได โดยการเอาน้ําทะเลตมเคี่ยวไปจนกระทั้งในที่สุดจะเหลือแตเกลือ และเกลือแร
อื่นๆอยู ขี้เถาหรือใบจากมีเกลืออยู เมื่อนํามาละลายน้ําและปลอยทิ้งไวใหน้ําละเหยออกไปก็จะไดเกลือสี
ดําๆเหลืออยู
น้ําสมในผลสม และมะนาว ใชดองปลา และเนื้อสัตวได เพราะมีกรดน้ําสมอยู ใหผสมน้ํามะนาว
๒ สวนกับน้ําเกลือ ๑ สวน เขาดวยกัน แลวนําเนื้อสัตว หรือปลาแชไวสักครึ่งวัน หรือนานกวานั้นก็ได ถา
จะใหดีแลวควรทําปลา หรือเนื้อสัตวดองนี้ใหสุกกอนรับประทาน

การถนอมอาหาร
ถาโอกาสอํานวย ควรนําเอาอาหารสํารองติดตัวไปดวยเสมอ จงหอผลไม ผัก และเนื้อดวยใบไม
ถาอยูบนเขาสูง ก็อาจใชหญามอสและแฟกนัมแทนก็ได ปลาที่ทําความสะอาดแลวก็แขวนไวบนปลายไม
การทําผักแหง
พืชที่เปนอาหารทําแหงได โดยผึ่งลม ตากแหง หรือยางไฟที่มีควันหรือไมก็ได หรือจะใชวิธีตางๆ
นี้ดวยกันก็ได
กลวย สาเก เผือก มัน ผักยอด ละผลไมตางๆ หรือวาที่แทจริงแลวพืชเปนอาหารเกือบทุกชนิด
ทําแหงไดทั้งนั้น ใหหั่นฝานเปนชิ้นบางๆ แลวจึงนําไปตากแดด หรือยางไฟก็ได
เห็ดตางๆ ตาก หรือยางใหแหงไดงาย และสามารถเก็บไวไดนานมาก เวลาจะใชเปนอาหารก็
นําไปแชน้ําเสียกอน
การทําเนื้อสัตวแหง
เนื้ อ สั ตว อาจทํ า ให แห ง ไดด ว ยการยา งไฟออ น หรือตากแดด ใหหั่น เนื้อ ตามขวางเปน ชิ้น ๆ
พอประมาณ ¼ นิ้ว แลวนําไปยาง หรือตากก็จะเปนเนื้อหลอด ถายางไฟก็ใหวางชิ้นเนื้อไวบนตะกรับ
และยางจนแหงกรอบ (ดูรูปที่ ๕๗) อยาใชไมที่มีน้ํามันทําตะกรับหรือทําฟน เพราะจะทําใหเนื้อนั้นมีกลิ่น
เหม็น
วิธีรมควันเนื้อ ใหขุดหลุมลึกประมาณ ๓ ฟุต กวาง ๑ ฟุตครึ่ง กอไฟกองเล็กๆ ขึ้นที่กนหลุม
และเมื่อไฟติดดีแลว ก็สุมไฟสดลงไปเพื่อทําใหเกิดควันวางตะกรับไมใหสูงจากกนหลุมขึ้นมาประมาณ
สามในสี่สวนของความลึกของหลุม แลวจึงวางเนื้อบนตะกรับ เอากิ่งไมแขนงไม และใบไมวางปดหลุมให
มิด แลวทิ้งไวประมาณ ๓๐ นาที ถึง ๑ ชั่วโมง
วิธีถนอมอาหารจําพวกปลา และนก ก็ใชวิธีเดียวกันกับเนื้อ การเตรียมปลา เพื่อรมควันก็ใหตัด
หัวออกทิ้ง และชําแระเอากางกลางตัวออกเสียดวย และแบะตัวปลาใหแบนออกใชไมตับหนีบไว ตับ
หนีบปลานี้ ถาจะใหดีจงใชกิ่งแขนงของไมไคนุน หรือสนุน โดยลอกเอาเปลือกออกใหหมด นํา ปลาที่
หนีบแลวไปรมควันไฟ หรือตากบนหินรอนๆ หรือแขวนตากแดดไวตามกิ่งไม ถามีน้ําทะเลหรือน้ําเกลือก็
เอามาทาใหทั่งเสียกอน อยาเก็บอาหารทะเลที่ยังไมไดทําตากแหง และไมใหใสเกลือไวเปนอันขาด
๙๒

แขวนเนื้อแหงไวสูงๆ เพื่อใหพนจากสัตวมากัดกิน และเมื่อทําแหงแลวตองหอใหมิดชิด เพื่อ


ปองกันแมลงตอม ถาเนื้อนั้นขึ้นราก็ตองทําใหแหงอีกครั้งหนึ่ง
การถนอมอาหารที่สุกแลวนั้น ตองอุนอาหารนั้นทุกๆวัน โดยเฉพาะในขณะที่มีอากาศรอน

รูปที่ ๕๖ วิธีตากปลา
๙๒

บทที่ ๔
พืชสมุนไพรในการดํารงชีพ

กระทุงหมาบา หรือฮวนหมู (Kra-tung Maba – asclepiadaceae – Wattakata volubilis)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเลื้อยชนิดหนึ่ง ขึ้นพันธุไมอื่นเปนพันธุไมปาแตนํามาปลูกกัน


แพรหลาย ในบางทองที่ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามเถามียางขาวๆใบออนและยอด
ใชเปนผักจิ้มไดสดๆ หรือแกงปนกับผักชนิดอื่น ดอกสีเขียวออนออกเปนกระจุกตามงามใบ ใชเปนอาหาร
ได เชนกัน นิยมนํามาตมใหสุกกินกับผักจิ้ม
สรรพคุณ
- ลําตน แกโรคตา แกหวัด ทําใหจาม พิษงูกัด
- ใบ แกแผลที่ถูกน้ํารอนลวก แกบวม แกฝ วิธีใชโดยการนําใบสด มาตําใหละเอียดแลใชทา
- ราก ทําใหอาเจียน ขับพิษรอน กระทุงพิษ พิษฝ พิษไขหัว ไขกาฬ แกปสสาวะพิการ แกพิษน้ําดีกําเริบ
ชวยใหนอนหลับ
- ผล เปนยารักษาโรคใหสัตว
- เถา เปนยาเย็นขับปสสาวะ
๙๓

เถากนปด (Thao Kon-Pid – Menispermaceae – Stephania hernandifolia)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเถาชนิดหนึ่ง ดอกสีเหลืองออนออกเปนกระจุกตามงามใบ พบ


ทั่วไปตามหมูบานหรือในปาดงดิบและปาผสมพลัดใบ มีหัวใตดิน ซึ่งเปนสารพิษจําพวกปโครทอกซิน
นําเอามาโคลกบีบเอาน้ําใชเบื่อปลาได ถาคนดื่มเขาไปก็ทําใหเสียชีวิตไดเชนกัน

กระทือขาว (Katue-Khao – Zingiberaceac – Boesenbergia sp.)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : จัดอยูในจําพวกขิงปาชนิดหนึ่งพบทั่วไปในปาผสมพลัดใบ และบริเวณ


ขางลําหวย ลําธาร ลําตนสูงประมาณ ๐.๕ – ๑.๐ เมตร และเปนพืชลมลุกชนิดหนึ่งซึ่งจะแหงเฉาไปใน
ฤดูแลงเนื้อออนในลําตนเมื่อลอกกาออกใชเปนอาหารได หนอออนเชนเดียวกัน ไมมีกลิ่นรส แตอยางใด
นิยมนํามาแกง ตม ผัด หรือตมจิ้มน้ําพริก
๙๔

(ผัก) กุม (Phak Kum – Capparidaceae – Crataeva religiosa)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนตนไมขนาดเล็กถึงขนาดกลางสูง ๑๐-๒๐ เมตร ใบมี ๓ แฉก ชอบขึ้นตามขาง


ลําธารแตไมสูจะพบมากนัก ยอดออนใชปรุงอาหารไดแตไมนยิ มนํามาปรุงสดๆ ตองดองน้ําเกลือตากแดด ทิ้งไว
ประมาณ 2-3 วัน แลวจึงนําไปปรุงอาหาร จะผัดหรือแกงได

กระจับ Krachab – Onagracaea – Trapa bicornis

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพันธไมที่ขึ้นในน้ําชนิดหนึ่ง ดอกสีมวง พบทั่วไปในหนองน้ําภาค


กลางของประเทศและบางแหงปลูกพืชชนิดนี้เพื่อเก็บฝกไปขาย กระจับออกฝกมีลักษณะคลายเขาควาย
ซึ่งในฝกแบงอยูเปนจํานวนมาก กินไดสดๆ หรือตมใหสุกเสียกอน
๙๕

(ผัก) กูด (Phak Kut Asclepiadaceae – Athyrium esculentum)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนเฟนชนิดหนึ่ง ขึ้นตามที่ชื้นแฉะบริเวณตนน้ําลําธาร หรือขางลําหวย


พบทั่วไปในปา สวนมากจะพบตามบริเวณดังกลาวแลวซึ่งเปนที่โลง มากกวาเปนปาทึบ ยอดออนและใบ
ออนใชปรุงอาหารได ทั้งแกงหรือผัด

(ผัก) กระสัง (Phank Kra-Sank – Piperaceae – Peperomia pellucida)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพืชลมลุกชนิดหนึ่ง พบทั่วประเทศ โดยเฉพาะในปาดงดิบ ตาม


บริเวณหมูบานหรือตามสวนทั่วไป ลําตนและใบใชเปนอาหารได แตนิยมทําใหสุกเสียกอน โดยตมผัด
หรือนึ่งจิ้ม
๙๖

กลวยปา(Kluai-Pa – Musaceae – musa acuminate)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : มีหลายชนิด เรียกชื่อตางกันตามทองที่ เชน กลวยมน กลวยหก เปนตน


พบทั่วไปในปาดิบแลง ดินชื้น และปาผสมพลัดใบทั่วประเทศเนื้อออนตรงใชกลางลําตน และหัวใจปลีใช
เปนอาหารได อาจจะกินสดๆ แตมีรสฝาดเล็กนอย หรือจะใชแกงก็ได

กะเพราใหญ หรือจันทนขาว (Kaphrao – Yai or Chan – Khao – Labiatae – Ocimum gratissimum)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมพุมเตี้ย ตนสูงประมาณ ๑-๑.๕ เมตร ออกดอกเปนชอตามปลาย


กิ่งสีเขียวออนใบมีกลิ่นฉุนรอนเชนเดียวกับกะเพราทั่วไป ใชเปนเครื่องชูรสไสแกง
๙๗

กราวน้ํา (Wao – Nam – leguminosae – dolichos lablab)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเถาชนิดหนึ่ง ดอกสีมวง พบขึ้นพันไมอื่นทั่วไปปาพลัดใบผสมและ


ปาดิบแลงโดยเฉพาะบริเวณโลง เชน ลําหวย ลําธาร หรือ ตามชายปา ดอกใชตมเปนผักจิ้ม หรือแกงก็ได

กูดกลอง (Kut Kong – Schizaeaceae – Lygodium polystachyum)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : จัดอยูในจําพวกเฟนชนิดหนึ่งชอบขึ้นตามตนลานจึงมีชื่อวาผักกูดลาน
พบในปาดิบแลงหรือขึ้นตามชะงอนหินที่ชื้น ๆ ในปาดิบแลงและปาดิบเขา โดยเฉพาะฤดูฝนไมพบวาขึ้น
ตามพื้นดินแตอยางใบออนและชอออนกินไดสด ๆ เปนผักจิ้มชนิดหนึ่ง
๙๘

(ผัก) กระเฉด (Phak Krachet – Leguminosae – Neptunia oleracea)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพืชที่ชอบขึ้นในน้ําชนิดหนึ่ง ลักษณะเปนพันธุไมเลื้อย ตามเถามีทุน


ลักษณะคลายฟองน้ําเพื่อพยุงพืชใหลอยน้ําได ดอกสีเหลือง พบทั่วไปตามบริเวณหนองน้ํา บางแหงปลูก
กันเปนล่ําเปนสัน เพื่อนําไปจําหนาย ใบและเถาออนใชผักจิ้มไดสด ๆ ผัดหรือแกงกินได

(ผัก) กูดลาน (Phak Kut Lan – Polypodiaceae – Nephrolepis falcate)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : จัดอยูในจําพวกเฟนชนิดหนึ่งชอบขึ้นตามตนลานจึงมีชื่อวาผักกูดลาน
พบในปาดิบแลงหรือขึ้นตามชะงอนหินที่ชื้น ๆ ในปาดิบแลงและปาดิบเขา โดยเฉพาะฤดูฝนไมพบวาขึ้น
ตามพื้นดินแตอยางใบออนและชอออนกินไดสด ๆ เปนผักจิ้มชนิดหนึ่ง
๙๙

(ผัก) กูดดอย (Phak Kut Doi – Polypodiaceae – Dryopteris cochleata)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนเฟนชนิดหนึ่ง พบไมมากนักในปาดิบเขาโดยเฉพาะบริเวณขางลํา


หวยลําธารหรือตามบริเวณตนน้ํา จัดอยูในจําพวกพืชลมลุกชนิดหนึ่ง กลาวคือจะแหงเฉาไปในฤดูแลง
และจะงอกใหมในฤดูฝน ใบออนและชอออนกินไดสด ๆ เปนผักจิ้มหรือตมแกงกินได

กี่นกสาย (Ki Nok Sai – Compositae – Bidens pilosa)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบตามบริเวณไรเกาหรือไรรางหรือที่โลงในปาดิบเขา ปาผลัดใบผสม


และปาดิบแลง หรือตามไรตามสวนในหมูบาน ตนสูงประมาณ ๓๐ - ๗๐ เซนติเมตร ดอกสีขาว ใบออน
และกานออนใชเปนอาหารไดสด ๆ หรือแกงกินก็ได
๑๐๐

กูดเครือ (Kut-Kruea – Schizaeaceae – Lygodium flexuosum)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนเฟนชนิดหนึ่ง ลักษณะเปนเถาเลื้อยพันกับตนไมชนิดอื่น มีชื่อเรียก


ตาง ๆ กันไปมากมาย เชน กูดงอดแงด งอแงหรือกะฉอด เฟนชนิดนี้พบทั่วไปในปาดงดิบและปาผลัดใบ
ผสมทุกภาคของประเทศ ใบออนและยอดออนใชประกอบอาหารได เชนแกง ผัดหรือตม

(หัว) กะบิก (Kua-Kabig – Zingiberaceae – Scaphoclamys sp.)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนขิงขาปาชนิดหนึ่ง พบตามบริเวณปาที่ชื้น ๆ เชนปาดิบแลงหรือดิบ


เขา เปนตน โดยเฉพาะฤดูฝนจะหาไดงายในบริเวณปาดังกลาว ออกดอกเปนชอตรงโคนตนสีแดง หัวกะ
บิกจะงอกหนอออนในฤดูฝนประมาณเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม หนอออนใชเปนผักจิ้มไดสด ๆ หรือจะ
แกงกินก็ได ดอกออนก็นําไปประกอบอาหารไดเชนเดียวกัน
๑๐๑

กะทกรก หรือองนก (Katokrok – Passifloraceae – Passiflora foetida)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเถาชนิดหนึ่ง ดอกสีขาว กนเกสรตัวผูดานในสีมวง พบทั่วไปในปา


ทุกชนิด โดยเฉพาะที่โลง ๆ ขางทาง หรือตามปาละเมาะ สวนใหญจะเห็นขึ้นเลื้อยไปตามพื้นดิน ผลสุกสี
เหลืองสมกินไดหวานยอดออนสดๆ มีกลิ่นเหม็นใชเปนอาหารไดโดยตมหรือแกงใหสุก กลิ่นจะหมดไป
เถากะทกรกหาไดงาย พบทั่วไป

(ไม) กอ (Mai Ko – Fagaceae – Castanopsis spp.)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมยืนตนไมผลัดใบชนิดหนึ่ง พบทั่วไปในปาดิบเขา และพบบางในปา


ผลัดใบผสมและปาเต็งลัง เทาที่พบในประเทศไทยมีมากกวา ๘๐ ชนิด ความสูงของแตละชนิด ผิดแผก
กันไป ตั้งแต ๑๕ - ๓๕ เมตร แตชนิดที่ใชผลเปนอาหารไดมีไมกี่ชนิด ไมกอจะใหผลแกใชเปนอาหารได
ราว ๆ เดือนพฤศจิกายน ขนาดและลักษณะของผลกอแตกตางกันไปตามพันธุเนื้อในมีแปงอยูมาก กินได
แตตองตมหรือคั่วใหสุกเสียกอน ชนิดที่นิยมใชเมล็ดเปนอาหารไดแก กอแปน กอเดือย และกอตี่
๑๐๒

กระโดน (Kradone – Lecythidaceae – Careya spherical)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบทั่วไปในปาแทบทุกชนิด ยกเวนปาดิบเขาตนสูงประมาณ ๘ - ๒๐


เมตร ดอกสีขาวยอดออนใชเปนผักจิ้มไดสด ๆ รสฝาด

กอกเกิ่ม (Kok Kerm – Burseraceae – Canarinm venosum)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : กอกเกิ่มหรือกอกเกลื้อนเปนไมขนาดกลางสูง ๑๗ - ๑๕ เซนิเมตร พบ


ทั่วไปในปาดิบแลง และปาผลัดใบผสม ลักษณะคลายมะกอกทั่วไป ผลจะแกและรวงหลน ประมาณ
เดือนตุลาคมถึงธันวาคม เนื้อบาง ๆ รอบ ๆ เมล็ดถากินสด ๆ จะมีรสฝาด ไมนิยมบริโภคกัน แตชาวบาน
นําไปดองน้ําเกลือประมาณ ๒-๓ วัน รสฝาดจะหายไป
๑๐๓

กลอย(KLoi – Dioscoreaceae – Dioscorea hispida)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนเถาวัลยมีหัวใตดินลึกประมาณ ๑๐ - ๑๕ เซนติเมตร ตามเถาซึ่งจะ


งอกทุกปมีหนามสั้น ๆ พบทั่วประเทศในปาเต็งรัง ปาผสม และปาดงดิบ หัวกลอยใหแปงมากแตมีสาร
พวกไดออสคอรีน ซึ่งมีผลตอระบบประสาทสวนกลางซึ่งอาจทําใหถึงตามได ตองสกัดเอาสารเปนพิษ
ดังกลาวออกเสียกอนจึงรับประทาน วิธีสกัดคือปอกเปลือกทิ้ง แลวฝานบาง ๆ ใสชะลอมไปแชน้ําทะเล
หรือแชน้ําไหล เชน น้ําตก น้ําหวย สัก ๓ วัน หรือไมก็หนักเกลือ นํามาคั้นน้ําทิ้งทําอยูสัก ๓ วันเชนกัน
แลวจึงนํามาปรุง เชน ตม รับประทานได

กัดลิ้น (Kadlin – Meliaceae – Walsura sp.)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมขนาดเล็ก สูง ๔ - ๑๐ เมตร พบในปาดิบแลงและพบมากทางภาค


ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ผลมีขนาดเล็ก ๖ - ๘ มิลลิเมตร ผลดิบสีเขียวออน ผลสุกสีเหลือง
ออน ผลสุกประมาณเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม เนื้อหุมเมล็ดกินไดรสหวานคลายลําไย แตกินมาก ๆ แลว
จะรูสึกสาก ๆ ลิ้น
๑๐๔

(ผัก)กนถุงหรือกานถุง(Phak Kon-Thung or Kan-Toeng – Rhamnaceae – Colubrina asiatica)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ดอกสีเขียวออนออกตามงามใบเปนกระจุก ลักษณะเปนไมพุมเตี้ย สูง ๑


- ๓ เมตร พบตามปาผลัดใบผสม โดยเฉพาะบริเวณขางหวย ลําธาร หรือที่โลง ๆ ใบออนและยอดออนใช
แกง หรือตมกินหรือตมเปนผักจิ้ม

กระทอม (Kra Thom – Rubiaceae – Mitragyna speciosa)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมปา สูง ๑๖ - ๒๐ เมตร พบตามบริเวณที่โลง ๆ ในปาดิบ และปลูก


กันบางไมมากนัก เนื่องจากเปนพืชเสพติดชนิดหนึ่ง การปลูกหรือสูบจึงเปนการผิดกฎหมาย เสนใบ
ดานขางเปนสันนูนชัดเจนสีชมพูออน ดอกคลายกระถินกลม ๆ สีขาวในใบกระทอมมีสารพวกไมตรากี
นิน ซึ่งเชื่อวาสารชนิดนี้ทําใหเกิดอาการเสพติด ชาวบานนําใบสด ๆ มาเคี้ยวแลวกลืน หรือนํามาตาก
แหงขยี้ใหแหลก แลวชงน้ํารอน หรือไมก็ใชสูบจะทําใหเกิดอาการเซื่องซึมมึนงงคลายคนสูบฝน พวกที่ติด
ฝน เมื่อหาฝนไมไดก็ใชใบกระทอมแทน
๑๐๕

ขาแดง (Kha Daeng – Zingiberaceae – Achasma sphaerocephalum)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : จัดอยูในประเภทขาปาชนิดหนึ่ง ดอกออกเปนชอ สูงจากพื้นดินเล็กนอย


ลําตนแตกจากหัวใตดิน สูง ๒ - ๓ เมตร ลักษณะเดน สังเกตงาย คือใบดานลางจะมีสีแดง ดานบนสีเขียว
ชอดอกสีแดง กินได มีรสเปรี้ยวเล็กนอย กลิ่นฉุน กินไดสด ๆ หรือจะยําปนกับอาหารอยางอื่นก็ได

(ผัก) ขาเขียดหรือ(ผัก)ฮิน (PhakHin or Phak Kakiat – Pontederiaceae – Monochoria vaginalis)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพืชชอบขึ้นในน้ํา พบทั่วไปจํานวนมากในนาขาว โดยเฉพาะในฤดูฝน


ขณะที่มีน้ําขังหรือตามบริเวณที่มีน้ําขังตื้น ๆ จัดอยูในประเภทพืชลมลุกชนิดหนึ่ง ใบและกานใชเปนผัก
จิ้มไดสด ๆ
๑๐๖

ขี้เปยลูกฟอน (Khi Pia Luk Fon – Liliaceae – Dracaena angustifolia)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบตามบริเวณตนน้ําลําธารหรือที่ชื้น ๆ ในปาดิบแลงและปาดิบเขา ลํา


ตนเดี่ยว ๆ สูง ๑ - ๒ เมตร เนื้อออนบริเวณคอตนสีขาวกินได นิยมนําเอาไปแกง ตม ผัด หรือใชเปนผัก
จิ้ม

ขาวจี่ (Khao-Chi – Verbenaceae – Gmelina phillipinensis)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมพุมเตี้ยชนิดหนึ่ง พบทั่วไปในปาดิบแลง ปาผลัดใบผสม และปา


เต็งรัง ตนสูงประมาณ ๑.๕ - ๘.๐ เมตร มีหนามตามงามใบเปนคู ๆ ผลมีขนาดโต ๒.๕ - ๓.๒ เซนติเมตร
ใชทําของหวานได โดยปอกเปลือกออกแลวนําไปเชื่อมน้ําตามกินได ขาวจี่ใหผลตอนฤดูฝน คือประมาณ
เดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน
๑๐๗

ขี้เหล็กดง (Khi Lek Dong – Leguminosae – Cassia timoriensis)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบในปาดิบแลง โดยเฉพาะบริเวณที่โลงขางทาง หรือตามไรราง ตนสูง


ประมาณ ๖ - ๑๔ เมตร ออกดอกเปนชอสีเหลือง ดอกและใบออนใชประกอบอาหารได เชนเดียวกับ
ขี้เหล็กบานมีรสขม เชนเดียวกัน ดังนั้นกอนจะนําไปแกงก็ตมเทน้ําขมออกกอนสักสองสามครั้ง

ขี้หนอน (Khi Nom – Santalaceae – Scleropyrum wallichiana)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมไมผลัดใบ สูง ๓ - ๖ เมตร พบทั่วไปในปาดิบแลงและปาผลัดใบผสม


ใบมีลักษณะคลายผักหวาน ซึ่งชาวบานมักเก็บผิดเสมอ ๆ ใบและดอกของไมชนิดนี้ผิดกับผักหวานตรงที่
มีหนามยาว ๆ อยูประปราย วิธีรักษา เมื่อคนกินพืชชนิดนี้เขาไปควรจะลางทองทันที และใหน้ําเกลือ
หากจําเปน ในกรณีที่อาเจียนมาก ๆ ปลอยใหพักผอน เอาเปลือกตนขี้หนอนมาหั่นบางๆ เอามาแชน้ํา
จะเกิดฟองขึ้น
๑๐๘

ขี้เหล็กแมง หรือ แสมสาร (Ki Lek Maeng or Samaesarn – Leguminosae – Cassia garrettiana)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมตนขนาดเล็ก สูง ๘ - ๑๕ เมตร พบทั่วไปในปาผลัดใบผสม และ


ปาเต็งรังออกดอกเปนชอสีเหลือง ในบางทองที่ชาวบานเก็บดอกและใบออนมาแกงเชนเดียวกับขี้เหล็ก
บาน ควรจะตมเพื่อลดความขมลงกอนจะนําไปแกงรากและเปลือกไมชนิดนี้ชาวบานใชเปนยากลางบาน
เปนยาระบายออน ๆ โดยนํามาตมและดื่มน้ํา

เขืองแขงมา (Khueng Khaeng Ma –Leeaceae – Leea acuminate)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมพุมขนาดเล็ก สูงเพียง 2 - 3 เมตร พบในปาแทบทุกชนิด และ


ตามหมูบานหรือขางทางทั่วไป ตามขอและเสนใบของใบออนมีสีแดง ยอดและใบออนตมใหสุกกินเปนผัก
จิ้ม หรือปนกับผักชนิดอื่นแกงกินได
๑๐๙

คอนตีหมา (Khon Tin-Ma – Ancistrocladaceae – Ancistrocladus tectorius)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพวกกึ่งเถาวัลยกึ่งไมพุมในระยะแรก ๆ จะสงลําตนขึ้นมาเปนไมพุม


ขนาดเล็ก แตเมื่อเจริญตอไปจะกลายเปนไมเลื้อย ยอดดอนกินไดแตมีรสฝาด ชาวบานใชเปนผักจิ้ม พบ
ทั่วไปในปาดงดิบแลง

เครือเดา (Krua-Dao – Liliaceae – Smilax china)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเถามีหนามสั้น ๆ หาง ๆ ตามเถาพบในปาผลัดใบผสมและปาเต็ง


รัง หาไดงายในฤดูฝน เนื่องจากปาผลัดใบดังกลาวแลวขางตนมักจะมีๆฟปาไหมอยูเสมอเปนประจําป
ดังนั้นพืชชั้นลางตาง ๆ ตลอดจนเถาวัลย มักจะถูกเผาผลาญไปดวย และจะงอกใหมในฤดูฝน ใบและ
ยอดออนใชปรุงอาหารได นิยมตมใหสุกใชจิ้มน้ําพริก หรือแกงก็ได
๑๑๐

คํานอย (Kham Noi – Zingiberaceae – Zingiber sp.)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพวกขิงขาปาชนิดหนึ่งที่ใชเปนอาหารได ขึ้นไปในปาดิบแลง มีดอก


เปนชอสีแดงออกตรงโคนตน ดอกออนและหนอออนใชตมเปนผักจิ้มหรือแกงกินได

คลายมันปลา (Klai Man Pla – Euphorbiaceae – Breynia sp.)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนตนไมสูง ๘ - ๑๐ เมตร พบทั่วไปไมมากนักในปาดงดิบแลง และปา


ดงดิบเขา ดอกสีเขียวออนออกตามงามใบมีขนาดเล็ก 2 - 3 มิลลิเมตร ใบออนขอบสีน้ําตาลแดงใชเปน
ผักจิ้มสด ๆ หรือยําปนกับผักชนิดอื่นก็ได รสฝาดเล็กนอย
๑๑๑

(ผัก) ไคมด (Phak Khai Mot – Euphorbiaceae – Glochidion sp.)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนตนไมขนาดเล็ก สูง ๘ - ๑๒ เมตร พบในปาผลัดใบผสมดอกสีเหลือง


ออนมีขนาดเล็กออกตามงามใบ ผลมีลักษณะเปนกลีบ ๆ คลายมะยม สีขาวแกมชมพูยอดออนยํากินได
มีรสฝาดเล็กนอย

(ผัก) คาวตอง(Khao-Tong – Saururaceae – Houttynia cordata)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : จัดอยูในจําพวกพันธุไมเลื้อยขนาดเล็ก สูง ๑๕ - ๒๕ เซนติเมตร พบตาม


บริเวณที่ชื้น ๆ ที่มีอากาศเย็น เชนในปาดิบเขา ปลูกไวบริโภคกันบางตามหมูบานภาคเหนือ และภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ใบใชเปนผักจิ้มกินไดสด ๆ
๑๑๒

(ผัก) เค็ด (Phak Khet – Leguminosae – Cassia occidentelis)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมพุมเตี้ยชนิดหนึ่ง สูงประมาณ ๐.๕ - ๒.๐ เมตร ดอกสีเหลือง


ออกลูกเปนฝกพบทั่วไปตามหัวไร ปลายนา และบริเวณขางถนน

(ไม) คึงคาก หรือคางคก (Kueng Kak or Kang Kok – Nyssaceae – Nyssa javanica)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนตนไมขนาดใหญ สูง ๑๕ - ๒๕ เมตร พบในปาผลัดใบผสมและปาดิบ


แลง โดยเฉพาะคามบริเวณขางลําธาร ผลสุกรับประทานได
๑๑๓

แคบาน (Khae Ban – Leguminosae – Agati grandiflora)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมตางประเทศชนิดหนึ่งที่นําเขามาปลูกในเมืองไทยและนํามาปลูก
กันแพรหลายทั่วไป มีสองชนิด ชนิดดอกสีขาย และดอกแดง ดอกแคกินได จะแกง ตม หรือลวกจิ้ม
น้ําพริก แตจะตองเอาเกสรเมียซึ่งมีรสขมจัดออกเสียกอน ยอดออน ฝกออนก็กินไดเชนเดียวกัน ไมแค
ออกผลเปนฝก ลําตนสูง
๕-๑๒ ใหดอกและผลตลอดป

แคหางคาง (Khae Hang Kang – Bignoniaceae - Markhamia stipulate)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบในปาดิบแลงและปาผสมผลัดใบ สูงประมาณ ๒๐ เมตร ออกดอก


ตอนปลายกิ่งในฤดูฝนราวเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน กลีบดอกดานนอกสีมวงออน ๆ ตรงกลางดอกสี
มวงแดงมีฝกเปนขน กลีบดอกและฝกออน ๆ ใชเปนอาหารไดดี แตมีรสขม จึงตองตมใหน้ําขมออก
เสียกอนนําไปปรุงอาหาร หั่นเปนฝอย ๆ แลวคั้นน้ํา สวนมากนิยมนําไปผัดหรือยํา ไมนิยมนําไปแกง
๑๑๔

คอแลน (Kho Lan – Sapindaceae – Nephelium hypoleucum)


เปนไมปายืนตน ไมผลัดใบชนิดหนึ่ง พบทั่วไปในปาดิบแลง และปาพลัดใบผสมทั่วประเทศ มีมากในปา

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : จังหวัดกาญจนบุรี ตนสูง ๑๕ - ๓๐ เมตร ออกลูกดกเปนพวกคลายลิ้นจี่


ผลดิบสีเขียว ผลสุกสีแดง และจะสุกประมาณเดือนเมษายน-พฤษภาคม ในปาดิบไมคอยจะใหผลมากนัก
แตในปาพลัดใบจะออกผลดก ตอนผลสุกจะมองเห็นไดในระยะไกล เยื่อบางๆ หุมเมล็ดชาวบานกินไดรส
เปรี้ยวจัด สวนมากนิยมกินกับน้ําปลา เกลือหรือน้ําปลาหวาน

จอ (Chi Cho – Convolvulaceae – Argyreia sp.)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเถาชนิดหนึ่ง ขึ้นตามปาดิบแลงและปาผสมพลัดใบ มักจะพบขึ้น


พันไมอื่นตามบริเวณขางทาง ขางลําหวย หรือขางปา ดอกสีขาว ตรงกลางสีมวง เถาเมื่อตัดจะมียางสี
ขาวไหลออกมา ยอดออนกินได เปนผักจิ้มชนิดหนึ่งแตนิยมตมใหสุกเสียกอน
๑๑๕

จาก (Chak – Palmaceae – Nipa fruticans)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ชอบขึ้นตามชายฝงทะเลหรือบริเวณตามแมน้ําชายฝงใกลทะเล จัดอยูใน


จําพวกปาลมชนิดหนึ่ง สวนมากจะพบตามชายฝงที่เปนโคลน ออกผลเปนทะลาย ผลแกใชรับประทาน
ไดราวๆ สิงหาคม-ตุลาคม เนื้อในขณะที่ยังไมแข็ง มีรสหวานมักกินไดสดๆ แตเมื่อผลแกจัดจะมีผลแข็ง
และมีแปงมาก ตองนํามาบดเสียกอนจึงนํามาทําอาหารได ชอดอกนั้นหากใชไมประกบนวดใหนุม เชา
เย็นราว ๓ วัน แลวตัดปลายก็จะใหน้ําตาล ใบจากใชมวนบุหรี่และมุงหลังคา อดอกนํามาทําแกงหรือกิน
กับน้ําพริก กานชอดอกปาดเอาน้ําหวานมาทําเปนน้ําตาลได เรียก "โซม"หรือนําไปหมักเปนเหลาและ
น้ําสมสายชู กลีบดอกนั้นนําไปเปนสวนผสมของชาสมุนไพรไดผลจากที่สุกแลว จะมีเนื้อในเมล็ดเปนเยื่อ
สีขาว ใส นุม มีรสหวาน นิยมรับประทานเปนของหวาน เรียกลูกจาก ผลออนที่แตกหนอ จะมีจาวอยู
ขางใน นํามารับประทานไดเชนเดียวกับจาวตาล หรือจาวมะพราว

จมูกปลาหลดหรือจมูกปลาไหล(Chamuk Pla-Lod – Asclepiadaceae – Oxystelma esculentum

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบในปาผสมพลัดใบ และปาเต็งรังทั่วไปในฤดูฝน ลักษณะเปนไมเถา


ขนาดเล็กขึ้นพันไมพุมเตี้ยชนิดอื่น ดอกสีมวง ใบและยอดออนใชเปนผักจิ้ม หรือยํากินได
๑๑๖

จําปูน (Cham Pun – Annonaceae – Anaxagorea javanica)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมพุมขนาดเล็ก สูง ๒ - ๘ เมตร พบทั่วไปในปาดิบชื้น โดยเฉพาะ


ขางลําธาร ดอกมีสามกลีบ กลิ่นหอม ยอดออนของไมชนิดนี้กลิ่นได

จิกน้ํา (Chiknam – Lecythidaceae – Barringtonia edaphocarpa)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมขนาดเล็กสูง ๕ - ๑๓ เมตร พบทั่วไปในปาดิบแลงและปาดิบชื้น


โดยเฉพาะขางลําหวย ลําธาร แกดอกเปนชอหอยยาว ตอนปลายกิ่งสีชมพูอมเขียว ทั้งยอดออนและดอก
ออนกินไดสดๆ เปนผักชนิดหนึ่งรสมัน
๑๑๗

เชียงดา (Phak Chiang – Da – Asclepiadaceae – Gymnema inodorum)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบไมมากนักในปาดิบแลง แตไดนํามาปลูกไวกินในหมูบานทาง


ภาคเหนือของประเทศเปนไมเถาชนิดหนึ่ง ยอดและใบออนใชเปนผักจิ้มสดๆ หรือแกงกินได

ชํามะเลียงปา (Chammaliang Pa – Sapindaceae – Aphania microsperma)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมพุมชนิดหนึ่ง สูง ๒ - ๔ เมตร ปลูกกันทั่วไปตามรองทองสวน และ


ตามหมูบาน สวนมากจะพบตามสวนผลไมในภาคกลาง ออกลูกเปนพวงตามกิ่ง ผลสุกสีมวงดํา กินได รส
หวาน อมฝาดเล็กนอย ยอดออนกินไดเปนผักชนิดหนึ่งหรือจะยํากินก็ได
๑๑๘

ชมพูปา (Chom Poo Pa – Myrtaceae – Eugenia siamensis)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ชมพูปาเทาที่พบในประเทศไทยมีหลายชนิด บางชนิดใหผลขนาดเล็ก แต


ชมพูปาบางชนิดใหผลขนาดใหญ ผลโตเต็มที่ประมาณ ๗ - ๘ เซนติเมตร ตนสูง ๘ - ๑๐ เมตร จะพบ
ตามลําหวย ในปาดิบแลงและปาผสมพลัดใบทั่วไป เนื้อหุมเมล็ดเปนเหยื่อสีขาวๆกินได รสเปรี้ยว
เล็กนอย ใหผลตลอดป

ชาพลู (Cha Ploo – Piperaceae – Piper sarmentosum)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเลื้อยชนิดหนึ่ง มักจะขึ้นเปนกลุมขางลําธาร ในปาดิบแลง แตคน


ไดนํามาปลูกทั่วไปตามหมูบาน ดอกสีขาวๆนวลใบมีกลิ่นฉุนเล็กนอย กินไดสดๆ เปนผักจิ้มชนิดหนึ่งจะ
ลวกใหสุกก็ได
๑๑๙

ดอกครั่ง (Dok krang – Leguminosae – Dunbaria longeracemosa)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : จัดอยูในจําพวกไมเถา พบทั่วไปในปาเต็งรังและผสมพลัดใบ ดอก


ออกเปนชอ ยอดเถาสีมวงเขม รสฝาด พบตลอดป โดยเฉพาะฤดูฝนจะพบมาก ดอกกินได ชาวบานใชกิน
โดยจิ้มน้ําพริก มีรสฝาดเล็กนอย

แดง (Daeng – Leguminosae – Xylia Kerrii)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมยืนตนพลัดใบ พบทั่วไปในปาเต็งรังและปาผสมพลัดใบทั่วประเทศ


ตนสูง ๘ - ๑๕ เมตร ออกลูกเปนฝก แกประมาณเดือน มิถุนายน – สิงหาคม เมล็ดของฝกออนกินได
สวนเมล็ดของฝกที่แก หรือแหงนําไปคั่ว หรือเผาใหสุก กินไดรสมันๆ
๑๒๐

ตําลึง (Phak tamlueng – Cucurbitaeae – coccinia indica)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเลื้อยชนิดหนึ่งปลูกกันทั่วประเทศ และพบขึ้นเองพันตามขอบรั้ว


และตามที่รกรางวางเปลา ดอกสีขาว ยอดออนแกง ผัด หรือตมกินได ผลดิบสีเขียว ผลสุกสีแดง ผัดได
คลายแตงกวา

เตยหนาม (Toei-Nam – Pandanaceae – Pandanus furcatus)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบทั่วไปในปาดิบชื้น ดิบแลง ขางลําหวย และที่ชื้นแฉะทั่วไป เพราะพืช


ชนิดนี้ชอบขึ้นในที่ชื้น ขอบใบเปนหนามตรงคอตนเมื่อปอกเขาไปถึงชั้นในนั้นจะพบเนื้อออนสีขาวอยูตรง
ใจกลางลําตน ใชประกอบอาหารไดแตตองทําใหสุกเสียกอน
๑๒๑

(หญา) ตดหมา (Ya Tod-Ma – Rubiaceae – Peaderia foetida)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเถาชิดหนึ่ง สวนใหญมักจะเห็นขึ้นเลื้อยไปตามพื้นดิน ตามบริเวณ


ที่โลง เชน ขางถนนหรือตามสนามหญาเปนตน ในปาพลัดใบผสม ปาดิบแรงก็พบเชนกันแตไมมากนัก
ใบสดๆ เมื่อขยี้ดมจะมีกลิ่นเหม็น แตเมื่อนําไปตมแลวกลิ่นเหม็นจะหายไป ใบและชอใบออนใชแกงกิน

ตําลึงนกหรือผกแคบนก (Tam-Lueng-Nok – Cucurbitaceac – Melothria heterophylla)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบทั่วไปตามบริเวณไรราง หรือตามหมูบานในภาคเหนือ ภาคกลาง และ


ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปนลักษณะคลายไมเถาตําลึงทั่วไป ดอกสีขาวขนาดเล็กมาก ๓ - ๔ มิลิเมตร
ผลกลมโต ๗-๑๐ มิลลิเมตร ออกตามงามใบ ใบและยอดออนใชแกง
๑๒๒

ตางนก (Tang-Nok – Araliaceae – Aralia armata)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมขนาดเล็ก สูงประมาณ ๒ - ๔ เมตร พบทั่วไปในปาดิบแลงและปา


ดิบเขา ใบออกเปนกระจุกตอนปลายลําตนดอกสีเหลืองออน ออกเปนชอตอนบนสุดของลําตน ยอดออน
และดอกใชเปนผักจิ้มชนิดหนึ่งมีรสขมเล็กนอย นิยมตมใหสุกเล็กนอย

ติ้วแดง (Tiew Daeng – Hypericaceae – Cratoxylon pruniflorum)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมตนชนิดหนึ่ง สูงประมาณ ๑๕ เมตร แตสวนมากจะพบเปน


ลักษณะพุมเตี้ย สูงเพียง ๑-๓ เมตร เทานั้น พบในปาเต็งรัง และปาผสมพลัดใบ ตามลําตนมักจะมีหนาม
กิ่งออนมีขนสีน้ําตาล ใบออนสีแดงมีขนทั้งสองขาง ใชเปนผักจิ้มไดสดๆ
๑๒๓

ตะขบฝรั่ง (Ta Kob Farang – Tiliaceae – Muntingia calabura)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมพุมเตี้ยชนิดหนึ่ง สูง ๓ - ๕ เมตร ปลุกกันทั่วไปในทุกภาคของ


ประเทศ ขึ้นไดดีในที่โลงๆเปนไมพื้นเพเดิมของอเมริกาใต ดอกสีขาวกลมโต ๑๒ - ๑๕ ซม. ผลดิบสีเขียว
พอสุกจะเปลี่ยนเปนสีแดง

เตาราง (Taorang – Palmaceae – Caryota mitis)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : จัดอยูในจําพวกปาลมชนิดหนึ่ง พบทั่วไปในปาดิบทุกแหง ชอบขึ้นใน


บริเวณที่มีความชุมชื้นสูงออกผลเปนทะลาย บางตนเตี้ย แตบางตนสูงถึง ๘ เมตร เนื้อออนขางในตรง
บริเวณคอตนกินได แตตองทําใหสุกเสียกอน เพราะยางของพืชชนิดนี้ เมื่อถูกผิวหนังจะเกิดอาการคัน
๑๒๔

ตําแยไก (Tamyae or Hankai – Urticaceae – Laportia bulbifera)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : สวนมากจะพบตามบริเวณที่วางตามหมูบานในฤดูฝน ปาทึบจะไม


ปรากฏ ถาสวนใดของพืชชนิดนี้ถูกราง จะทําใหเกิดอาการคันอยู ๑๐ นาที ไมจําเปนตองใชยาอะไร

ตะโกไทย (Tako Thai - Ebeanaceae – Diospyros dictyoneura)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมตนขนาดเล็กชนิดหนึ่ง สูง ๖ - ๑๕ เมตร พบในปาดงดิบทั่วไป ผล


โต ๔ - ๖ เซนติเมตร ลักษณะผลกลม ดอกสีเหลือง ผลดิบสีน้ําตาล ผลสุกสีเหลือง ผลสุกประมาณเดือน
เมษายน – มิถุนายน ชาวบานนําผลดิบมาโขลก บีบเอาน้ําใชยอมแห อวน เพื่อทําใหทนทานมากขึ้น
เนื้อหุมเมล็ดในผลกินได รสหวาน
๑๒๕

ตีนจ้ํา (Tin Cham – Myrsinaceae – Ardisia aprica)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมพุมเตี้ย พบทั่วไปในปาดิบแลง ดอกเหลืองออน เปนชอตอน


ปลายกิ่ง ตนสูงประมาณ ๒ - ๖ เมตร ใบออนและยอดใชเปนผักจิ้มไดสดๆ มีรสฝาดเล็กนอย

ตุน (Tun – Araceae – Alocasia indica)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพวกบอนชนิดหนึ่ง มีหัวใตดิน ปลูกกันไมสูจะแพรหลายนักในภาค


กลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ตามกานใบมีผงขาวๆ ลักษณะคลายแปงติดอยู หลังจาก
ลอกเยื่อหุมภายนอกออก กานใบและใบออนใชเปนผักจิ้มไดสดๆ หรือจะแกงสมกินก็ได แตอยางไรก็ตาม
พืชจําพวกบอนนี้แยกชนิดยาก หากไมแนใจจริงๆ ก็ไมควรนํามารับประทาน เพราะมีหลายชนิดที่เปน
พิษ
๑๒๖

เถาสะคานหรือจะคาน (Thoa Sakhan or Thao Chakhan - Piperaceae – Piper sp.)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนเถาวัลยชนิดหนึ่งเลื้อยเกาะกับไมชนิดอื่น พบในปาดิบแลง และพบ


บางในปาผลัดใบผสม เนื้อของเถาวัลยชนิดนี้ ในทองที่บางแหง เชนภาคเหนือและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ใชใสลงในแกงผัก เพื่อใหมีกลิ่นหอมและรสฉุนรอนขึ้นเปนเครื่องชูรสชนิดหนึ่ง
และยังใชเปนสมุนไพรประเภทปลุกกําหนัดอีกดวย

เถาสมมะออก (Thao Som – Ma OK – Ampelidaceae – Cissus sp.)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบทั่วไปตามบริเวณที่โลง เชน ขางลําหวย ลําธาร ชายปา หรือบริเวณ


ขางทางเปนตน ดอกสีแดง ตามกานเถามีขนเปนผงขาวๆ คลายแปงหุมอยู ใบออนและยอดออน รส
เปรี้ยว ใชเปนประเภทเครื่องปรุงชูรส เชนใสแกง หรืออาหารประเภทอื่นเพื่อทําใหมีรสเปรี้ยวขึ้น เถาสม
มะกอกพบในปาแทบทุกชนิด โดยเฉพาะพบมากในปาดงดิบ
๑๒๗

เถานมวัว (Thao Nom – Wua – nnonaceae – Anomianthus dulcis)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเถาที่ขึ้นในปาผสมผลัดใบ และปาดิบแลงทั่วประเทศ มักจะพบขึ้น


พันไมอื่นเปนซุม แตถาขึ้นลําพังจะมีลักษณะพุมเตี้ย ออกลูกเปนพวงตามปลายกิ่ง ใบดานบนเปนมัน
ดานลางเปนขนสาก เนื้อหุมผลสุกซึ่งมีสีแดงกินได รสหวาน ผลโตเต็มที่ประมาณ ๕ - ๘ มิลลิเมตร
และจะสุกประมาณเดือนมิถุนายน - ตุลาคม

เนียง (Niang – Leguminosae – Abarema jiringa)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง ๑๐ - ๑๕ เมตร พบทั่วไปในปาดิบชื้น


ทางภาคใต ออกลูกเปนฝก มวนขดงอ มีขายในทองตลาด เมล็ดของไมเนียงเปนอาหารโปรดของชาว
ภาคใต กินเปนผักจิ้มกับน้ําพริก มีกลิ่นฉุนและตองแกะเปลือกหุมเมล็ดออกกอน เมล็ดออนๆ กรอบและ
อรอย อาจเก็บไวกินนานๆ โดยฝงดินหรือดองน้ําเกลือก็ได
๑๒๘

นุน (Nun – Malvaceae – Ceiba pentandra)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมปลูกชนิดหนึ่ง สูง ๑๐ - ๑๕ เมตร ปลูกกันทั่วประเทศ บางแหง


ทําเปนสวน นุนเพื่อนําปุยนุนมาขาย ไมชนิดนี้ผลัดใบในฤดูแลว ประมาณปลายเดือนกุมภาพันธ –
เมษายน ออกลูกเปนฝกยาวๆ ฝกออนมากๆ เนื้อในซึ่งยังไมเปลี่ยนเปนปุยนุนใชเปนอาหารอยางหนึ่ง
จะกินสดๆ หรือจะใสแกงก็ได

นอยโหนง(Noi Nong – Annonaceae – Annona reticulata)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมปลูกชนิดหนึ่งสูงประมาณ ๓ - ๔ เมตร ใหผลตลอดป แตละ


ผลมีเม็ดสีดํายาวๆ ขางในเปนจํานวนมาก ผลกินไดอยางเดียวกับนอยหนา นอยโหนงปลูกกันทั่วไป
แตไมเปนที่นิยมกันมากเหมือนไมผลชนิดอื่นๆ สวนมากปลูกไวกินหรือขายนิดๆ หนอยๆ เทานั้น
๑๒๙

บุก (Buk – Araceae – Amorphophallus spp.)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : มีอยูหลายชนิดในปาของประเทศไทย บางชนิดใชเปนอาหารได แตบาง


ชนิดก็เปนพิษ บุกที่เห็นนี้เรียกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือวา ลอกใหญ ลักษณะที่พอสังเกตเห็นไดแน
ชัด คือ ผิวลําตนเกลี้ยง สีเขียวออน โคนตนมีกระสีเขียวเขมปน ตามลําตนและกานใบมีจุดสีขาวๆ
ทั่วไป ลําตนและใบออนขณะที่แตกยอดออกมาใหมๆ ตอนตนฤดูฝนประมาณเดือนกรกฎาคมนั้น ใช
แกงสมกินได บุกชนิดนี้พบทั่วไปในปาดงดิบแลว และปาผลัดใบผสม

บอนเตา (Bon – Araceae – Alocasia sp.)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพืชลมลุกชนิดหนึ่ง ขึ้นตามหนองน้ําหรือตามลําธารในปาชื้นๆ


ทั่วไป ใบและชอดอกใชแกงกินได ชาวบานนิยมถอนเอายอดออนทั้งกานและใบมาแกงสม
๑๓๐

บัวหลวง (Bua Luang – Nymphaeaceae – Nelumbo nucifera)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพืชที่ขึ้นในน้ํา พบทั่วไปตามหนองน้ํา สวนมากปลูกเปนพืชประดับ มี


เงาอยูในดิน เทาที่ปลูกกันแพรหลายนั้นมีอยู ๒ ชนิด คือดอกสีชมพูและดอกสีขาว ออกลูกเปนฝก
ประมาณเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน ในชางระยะเวลาอื่นมีฝกเหมือนกันแตไมสูมากนัก เมล็ดเมื่อลอก
เปลือกออก ดานนอกออกกินไดสดๆ หรือตมกับน้ําตาลทําเปนของหวาน

บัวกินสาย (Bua Kin - Sai – Nymphaeaceae – Nymphaea lotus)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพืชที่ชอบขึ้นในน้ํา พบทั่วไปในบริเวณที่มีน้ําขัง ดอกสีชมพูเขม


ออกตอเนื่องตลอดป กานดอกใชเปนผักจิ้มไดสดๆ หรือจะผัด ตม หรือแกงกินก็ได
๑๓๑

บัวบกหรือผักหนอก (Buabok or Phak Nok – Umbelliferae - Centella asiatica)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพันธุไมเลื้อยชนิดหนึ่ง ชอบขึ้นบริเวณที่ชื้นๆ และมีแสงสวางมากๆ


ปลูกไวบริโภคกันทั่วประเทศ ใบและเถาออนกินไดเปนผักจิ้มสดๆ หรือยํากินก็ได ชาวบานทั่วไปใช
เปนยากลางบาน โดยเชื่อวาเมื่อนําใบและเถามาโขลกบีบเอาน้ําดื่มแกช้ําในและรอนในไดดี

ผักบั้ง (Phak Bang – Compositae – Emilia sonchifolia)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมลมลุก สูงประมาณ ๓๐ - ๕๐ เซนติเมตร ดอกออกตอนปลายสี


มวง กิ่งกาน ลําตนและใบมีขน ใบคูดานลางสุดดานทองของใบมีสีมวงปนอยู ยอดออนและใบใชเปน
ผักจิ้มสดๆ พืชชนิดนี้พบตามบริเวณที่โลง ในปาผสมผลัดใบ ปาดิบแลง แลปาดิบเขา ตลอดจนใน
สวนตามหมูบานทั่วประเทศ
๑๓๒

บุนนาค (Bunnak – Guttiferae – Mesua ferrea)


ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมตนชนิดหนึ่ง พบทั่วไปในปาดิบแลง และปาดิบชื้น ตนสูง ๑๐-

๒๕ เซนติเมตร ลักษณะเปนพุมใหญไมผลัดใบ ดอกสีขาว หอม นิยมปลูกเปนไมใหรมทั่วไปไมมากนัก


ยอดออนใชเปนผักจิ้มได มีรสเปรี้ยวอมฝาด

บอสําโรง (Po - Samrong – Sterculiaceae – Sterculia foetida)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : บอชนิดนี้พบทั่วไปในหมูบานภาคเหนือ และพบบางในภาค


ตะวันออกเฉียงเหนือ ชาวบานปลูกไวเพื่อลอกเอาเปลือกซึ่งเปนเยื่อเหนียวๆ ไปฟนเปนเชือก ตนสูง ๘
- ๑๐ เมตร เปนไมผลัดใบชนิดหนึ่ง ออกลูกเปนพวง ฝกสีแดง ซึ่งขางในมีเมล็ดสีดํา กลาออนของปอ
ชนิดนี้จะสะสมอาหารตรงคอรากเปนปม ซึ่งมีแปงอยูมาก กินไดสดๆ คลายมันแกว
๑๓๓

ปางปา (Pang – Pa – Liciaceae – Chlorophytum orchidastrum)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : จัดอยูในจําพวกพืชลมลุกชนิดหนึ่ง สูงประมาณ ๓๐ - ๔๐ เซนติเมตร


ดอกสีขาว พบทั่วไปไมมากนักในปาผลัดใบผสม โดยเฉพาะบริเวณขางลําหวย ใบและลําตนจะแหงเฉา
ไปในฤดูแลงจะงอกใหมตอนฤดูฝน โคนตนดานในเมื่อลอกเอาใบออกจะเห็นเนื้อสีขาวๆ ใชเปนอาหาร
ได เชน แกง ผัด ตม เปนผักที่มีรสดีชนิดหนึ่ง สวนใหญจะพบพืชชนิดนี้ตามบริเวณปาไผ

ปุด (Put - Zingiberaceae – Achasma megalocheilos)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : จัดอยูในประเภทขาปาชนิดหนึ่ง ลําตนเดี่ยวๆ แทงขึ้นจากหัวใตดิน สูง


๒ - ๓ เมตร พบทั่วไปในปาดิบชื้น สวนมากจะพบแถวขางลําธาร และที่ชื้นๆ ทั่วไปดอกออกโคนตนสี
แดง ขอบนอก
ของกลีบสีเหลือง ไสกลางของลําตนเมื่อลอกเอากาบชั้นนอกออกหมดจะพบเนื้อในลําตนออนๆ กลิ่น
หอม กินไดสดๆ เปนผัก หรือจะแกง หรือผัดก็ได
๑๓๔

(ผัก) ปูยา (Phak Pu ya - Leguminosae – Caesalpinia mimosoides)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเถาชนิดหนึ่ง พบทั่วไปในปาละเมาะ ปาเต็งรัง และปาผสมผลัด


ใบ มีดอกสีเหลือเปนชอ กานใบสีแดง มีหนามตามกิ่งกานทั่วไป ชาวบานเก็บดอกออน ใบออนมากิน
จิ้มน้ําพริก ซึ่งมีรสฝาดอมเปรี้ยวเล็กนอย

(ผัก) ปุมปลา (Phak Pum-Pla - Campanulaceae – Spsenoclea zeylanica)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพืชที่ชอบขึ้นในน้ําประเภทหนึ่ง สูงประมาณ ๑๕ - ๒๐ เซนติเมตร


ออกดอกสีมวงออนตอนปลายฤดูฝน หลังจากใหเมล็ดแลวจะแหงตายในฤดูแลง คือประมาณเดือน
ธันวาคม – มกราคม ผักปุมปลานี้จะพบทั่วไปตามที่ชื้นแฉะ และตามทุงนาในฤดูฝนทั่วไป ลําตนและ
ใบใชเปนอาหารได เปนผักจิ้ม ยํากิน หรือทําใหสุกเสียกอน มีรสขมเล็กนอย
๑๓๕

ปดเตาะ (Pid - Taw - Euphorbiaceae – Breynia sp.)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมพุมเตี้ยขนาดเล็ก สูงเพียง ๑ - ๒ เมตรเทานั้น พบไมมากนักใน


ปาผสมผลัดใบ ดอกขนาดเล็กสีเขียวออนออกตามงามใบ กิ่งออนสีแดง ใบและยอดออนก็มีสีแดงดวย
เชนกัน และใชเปนผักจิ้มไดสดๆ รสขมเล็กนอย รากและลําตนใชเปนยากลางบาน ฝนกินแกพิษเบื่อ
เมาอาหารตางๆ

ปรง (Prong – Cycadaceae – Cycas siamensis)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบทั่วไปในปาเต็งรัง เปนพืชพื้นลางที่กระจัดกระจายอยูทั่วปาชนิดนี้


พบบางตามชายปาผสมผลัดใบ ในฤดูแลงทุกปมักจะถูกไปปาเผาผลาญจนใบแหงหมด คงเหลือหัวใต
ดินและงอกใหมเมื่อฤดูฝนมาถึง ชอออนที่งอกขึ้นมาใหมกลางลําตนนั้นจะมีขนนุมๆ หอหุมอยูสวน
ออนๆ ตรงใจกลางนี้ใชเปนอาหารได แตตองทําใหสุกเสียกอน
๑๓๖

ปุมเปง (Phum Phaeng - Palmaceae – Phoenix acaulis)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ปุมเปง หรือเปงดอย เปนพวกปาลมชนิดหนึ่ง สูงประมาณ ๑-๓ เมตร


พบทั่วไปในปาเต็งรัง เนื้อออนดานในตรงคอตนใชเปนอาหารได อาจปรุงเปนอาหารอยางอื่น หรือกิน
ไดสดๆ มีรสหวานมัน ออกผลเปนทะลาย ตอนดิบสีเขียว ผลเมื่อแกะเปลือกออกมีเนื้อขางในซึ่งมีรส
มันๆ ผลสุกสีดํา กินได รสหวาน ปุมเปงนี้เปนแหลงอาหารประทังชีวิตที่พอจะหาไดในปาที่มีสภาพ
แหงแลงอยางปาเต็งรัง
ผักปง (Phak Pang – Chenop[odiaceae – Basella rubra)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนเถาวัลยอุมน้ําชนิดหนึ่ง ปลูกกันมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


และภาคเหนือ ดอกออกตามงามใบสีขาวเปนพวง เมล็ดแกจะมีสีมวงดํา เมื่อใชมือขยี้จะมีสีมวงติดมือ
ดอกออนและลําตนตลอดจนใบใชปรุงอาหารได สวนมากชาวบานนิยมใชแกงสม
๑๓๗

ผักตบไทย (Phak Top - Thai - Pontederiaceae – Monocharia hastate)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพืชที่ชอบขึ้นในน้ํา ผิดกับผักตบชวาตรงที่ผักตบไทยไมไดลอยอยูบน


ผิวน้ํา แตจะขึ้นในบริเวณที่น้ําไมลึกนักเชนตามทองรองในนาที่ชื้นแฉะมีรากหยั่งถึงดิน ดอกสีมวง
เหมือนผักตบชวา พบทั่วไปในบริเวณเชนเดียวกับผักตบชวา กานใบ ใบออน ชอดอก ใชแกงกันได
โดยมากนิยมแกงสม

ผักแวน (Phak Waen - Marsiliaceae – Marsilea crenata)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพืชชนิดหนึ่ง พบทั่วไปตามหนองน้ําที่ชื้นแฉะ และในนาหนาฝน


ทั่วไป ลักษณะเลื้อยเปนเถา ใบและกานใบกินไดเปนผักจิ้มชนิดหนึ่ง
๑๓๘

ผักหนาม (Phak Nam - Araceae – Lasia spinosa)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบทั่วไปตามหนองน้ํา ขางลําธาร ชอใบออนๆ ที่แตกออกมาจากลํา


ตนหรือกอนั้น ใชปรุงอาหารได สวนมากใชแกงสม หรือผัดก็ได

ผักชีฝรั่ง (Phak Chi - Farang - Umbelliferae – Eryngium foetidum)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพืชจากอเมริกาใต แตนําเขามาปลูกในเมืองไทย และแพรหลาย


ทั่วไป เนื่องจากพืชชนิดนี้ ขยายพันธุไดเร็ว ดังนั้น เราจะพบทั่วไปในปาดิบเขาหรือสองขางทางตาม
ลําธาร คนไทยใชใบออนของผักชนิดนี้ซึ่งมีกลิ่นฉุนเปนเครื่องปรุงชูรสประเภทหนึ่ง
๑๓๙

เผือก (Phueak – Araceae – Colocasia esculentum)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพืชปลูกชนิดหนึ่ง มีหัวใตดิน เทาที่ปลูกกันแพรหลายในประเทศ


ไทยนั้นมีหลายชนิด หัวใตดินมีแปงสะสมอยูมาก แตกินสดๆ ไมได เนื่องจากมีสารเปนพิษบางชนิดอยู
ในนั้น ซึ่งเมื่อกินสดๆ จะเกิดอาการคันริมฝปากหรือในลําคอ ควรจะตมหรือเผาใหสุกเสียกอน หัว
เผือกยังทําเปนของหวานไดดวย เชน ทําแกงบวด หรือเชื่อมน้ําตาลหรือชุบแปงทอดกินได

ผักกาดน้ําหรือผักกาดนํา (Phak Kat Nam – Cruciferae – Nasturtium heterophyllum)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพืชเล็ก สูงเพียง ๑๐ - ๕๐ เซนติเมตร ดอกสีเหลืองพบตามบริเวณ


ที่โลง ในปาดิบเขาหรือบริเวณชื้นๆ ที่มีแสงสวางมากๆ ตามปลักควายเกาๆ หรือที่ชื้นแฉะทั่วไป ใบ
และลําตนใชเปนผักไดดีชนิดหนึ่ง กินไดสดๆ หรือจะผัด ตม แกงกินก็ได
๑๔๐

(ไม) ไผ (Bamboo)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพืชในตระกูลหญาชนิดหนึ่ง ขึ้นในปาแทบทุกชนิด ยกเวนปาเลน


น้ําเค็ม และปาพรุ ปรากฏเปนจํานวนนอยในปาดิบเขาและปาเต็งรัง นิยมปลูกกันทั่วไปทุกภาคเพื่อนํา
ไมมาใชประโยชน ตลอดจนใชเปนแนวกันลมตามหมูบาน เทาที่ปรากฏในประเทศไทยมีไมไผมากกวา
๒๐ ชนิด หนอของไมไผแตละชนิดงอกขึ้นมาตอนตนฤดูฝน ประมาณเดือนมิถุนายน – กันยายน ใช
เปนอาหารไดดี ขนาดของหนอไมแตกตางกันไปตามแตละชนิดของไมไผ กอนที่จะนําหนอไมมาปรุง
อาหารนั้น ควรนํามาตมใหสุกเสียกอน เพื่อลดความขื่นขมลงแลวจึงนําไปประกอบอาหารตามชอบใจ
เชน ตม แกง หรือผัด หรือใชเปนผักจิ้มก็ได

ผักหวาน (Pak Wan - Opiliaceae – Melientha suavis)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมยืนตน สูง ๖ - ๑๕ เมตร พบในปาเต็งรัง และปาผสมผลัดใบ


จะแตกยอดออนประมาณกุมภาพันธ – พฤษภาคม ยอดออนกินได แตตองทําใหสุกเสียกอน หากกิน
สดๆ จะมีกลิ่นเหม็นเขียวเล็กนอย ผักหวานนับวามีรสดีและเปนที่นิยมของคนไทยทั่วไป ออกลูกเปน
พวงผลจะสุกราวเดือนเมษายน – มิถุนายน เยื่อบางหุมเมล็ดกินไดมีรสหวาน หรือจะตมใหสุกทั้งผลกิน
ไดทั้งเปลือกและเยื่อหุมเมล็ด
ขอควรระวังในการเก็บผักหวานก็คือ ไมขี้หนอนซึ่งมีลักษณะใกลเคียงกับผักหวาน แตไมขี้หนอนมีพิษ
อาจทําใหผูเขาใจผิดถึงแกความตายได
๑๔๑

ฝอยทอง หรือเครือเขาคํา (Foi – Thong Convolvulaceae – Cuscuta chinensis)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนเถาวัลยขนาดเล็กขึ้นพันไมพุมเตี้ยชนิดอื่น เถามีสีเหลืองในปาไมสู


จะพบเห็นมากนัก แตมีปลูกเลี้ยงไวตามวัดหรือหมูบานทั่วไป เถาฝอยทองใชเปนผักจิ้มไดสดๆ หรือจะ
ลวกใหสุกเสียกอนก็ได

พอคาตีเมีย (Porka Teemia – Selaginellaceae – Selaginella spp.)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนเฟนชนิดหนึ่ง สูงประมาณ ๓๐ - ๔๕ เซนติเมตร พบทั่วไปในปา


ผลัดใบผสม ปาเต็งรัง ทั่วประเทศ จัดอยูในจําพวกพืชลมลุกชนิดหนึ่ง ในฤดูฝนจะงอกลําตนขึ้นมา
ใหมๆ ขณะที่ใบยังไมเจริญเติบโตเต็มที่ตอนตนฤดูฝน คือประมาณพฤษภาคม - มิถุนายน นั้นใชเปน
อาหารได ชาวบานนิยมเก็บไปแกง
๑๔๒

พวงชมพู (Puang Chom - Poo – Polygonaceae – Antigonon leptopus)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเถาประดับชนิดหนึ่ง ออกดอกเปนชอสีชมพู ปลูกเปนไมประดับ


ทั่วไปทุกภาคของประเทศ ดอกใชเปนอาหารได นิยมชุบแปงปนกับไขทอด ออกดอกตลอดป

พังพวยน้ําหรือผักปอด (Phang – Phuai - Nam – Onagraceae – jussieua repens)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ชอบขึ้นในน้ํา เชน ตามทองรอง หนองน้ํา หรือตามบริเวณทุงนาในหนา


ฝน ตนสูงประมาณ ๕-๑๕ เซนติเมตร ใบและลําตนใชเปนผักจิ้มไดสดๆ
๑๔๓

พลองเหมือด (Phong Muead – Melastomaceae – Memecylon edule)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมพุมเตี้ย สูง ๒ - ๓ เมตร พบทั่วไปในปาเต็งรัง และปาผลัดใบผสม


ดอกสีมวง ใบออนใชเปนผักจิ้มไดสดๆ รสฝาด ผลมีขนาดเล็ก ผลดิบสีเขียว ผลสุกสีดํา เนื้อหุมผลสุกเปน
ชั้นบางๆ กินได รสหวาน

พระเจาหาพระองค(PhrachaoHaPra – Ong – Anacardiaceae – Dracontomelum mangiferum)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบทั่วไปในปาดิบชื้น สูง ๑๐ - ๓๐ เมตร ออกลูกเปนพวง ผลแกจัดมี


ขนาด ๒๐-๒๕ เซนติเมตร ผลดิบกินไดรสฝาดอมเปรี้ยวใชจิ้มกับเกลือ ชาวบานในจังหวัดภาคใตใชผล
ออนในขณะเมล็ดในยังไมแข็งใสแกง เพื่อทําใหแกงมีรสเปรี้ยวขึ้น ผลสุกประมาณเมษายน – พฤษภาคม
เนื้อหุมเมล็ดกินไดมีรสหวานอมเปรี้ยว ไมชนิดนี้สวนมากจะพบแถวขางลําธารเปนสวนใหญ
๑๔๔

เพกา (Phaeka – Bignoniaceae – Oroxylum indicum)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เรียกตามภาษทองถิ่นแตกตางกัน เชนมะลิดไม (เหนือ) ลิ้นฟา


(ตะวันออกเฉียงเหนือ) เปนไมขนาดเล็ก สูง ๕ - ๑๐ เมตร ชอบขึ้นตามไรราง ในสวน และตามปาตางๆ
ดอกใหญสีมวงคล้ํา ออกเปนชอตามกิ่งตอนปลาย ผลเปนฝกยาว ๓๐ - ๖๐ เซนติเมตร ฝกออนสีเขียวใช
เปนอาหารได เชนผัดหรือแกง ฝกแกที่ยังไมแข็งตัวจะมีรสขม ใชประกอบอาหารได แตตองทําใหรสขม
หมดไป โดยการเผาไฟใหผิวไหมเกรียม แลวขูดผิดที่ไหมไฟออกเสีย นําไปหั่นเปนฝอยแลวคั้นน้ําหลายๆ
หน แลวจึงใชปรุงอาหารไดตามชอบใจ เชน ผัด แกง ฯลฯ

พะยอม (Payom – Dipterocarpaceae –Shorea talura)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมยืนตนผลัดใบชนิดหนึ่ง พบในปาผลัดใบผสมและปาดิบ ตนสูง


ประมาณ ๑๐ - ๒๕ เมตร จะผลัดใบหมดในฤดูแลง และแตกยอดออนใหม มีดอกเปนชอใหญสีขาวนวล
ประมาณเดือนธันวาคม – กุมภาพันธ ดอกมีกลิ่นหอมเล็กนอย ไมชนิดนี้จะสังเกตเห็นไดงายในปาผลัดใบ
เนื่องจากออกดอกเต็มลําตน ดอกออนกินไดใชผัดกับไข หรือชุบไขทอดก็ได
๑๔๕

มันอีมู (Man L - Moo - Dioscoreceae – Dioscorea pentaphylla)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเถาลมลุกชนิดหนึ่งที่ขึ้นพันไมชนิดอื่น มีหัวใตดินและจะงอกหัว


ตามเถาอีกมากมาย เถาจะแหงเฉาในฤดูแลง พบบางในปาผสมผลัดใบ สวนมากปลูกกันบางไม
แพรหลายในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หัวมันที่งอกตามเถานั้นมีลักษณะกลม
ผิวขรุขระสีน้ําตาล เมื่อตมใหสุก ลอกเปลือกทิ้งแลวกินได ถากินสดๆ จะเกิดอาการคันคอ

มะเดื่อเกลี้ยง (Maduea – Moraceae – Ficus fistulosa)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : มีหลายชนิด บางชนิดใชเปนอาหาร มะเดื่อชนิดนี้เปนไมขนาดเล็ก สูง ๖-


๑๒ เมตร ขนาดลําตนโตไมเกิน ๒๐ เซนติเมตร พบทั่วไปในปาดงดิบแลง และปาดงดิบชื้นทางภาคใต
ออกผลตามลําตน ตามกิ่งกานทั่วไป ขนาดของผลเล็ก โตไมเกิน ๓ เซนติเมตร เมื่อผาออกดานในจะมีสี
แดง ชาวบานในภาคใตนิยมเก็บยอดออนและผลมากินสดๆ หรือใชเปนผักจิ้ม มีวางขายในตลาดทั่วไป
รสฝาดเล็กนอย บางคนใชใบทําหอหมกแทนใบยอ
๑๔๖

เมาะ (Moh – Araceae – Alocasia odora)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนบอนชนิดหนึ่งใบโต ลําตนใหญ บางตนอาจสูงถึง ๓ เมตร พบทั่วไป


ในปาดิบชื้นทางภาคใต พบบางในปาดิบแลงตามบริเวณที่ชื้นแฉะขางลําธาร กานใบใชเปนอาหารได แต
ตองเผาไฟใหสุกเสียกอนแลวจึงลอกเอาผิวนอกออก จึงนําไปปรุงอาหารตอไป ไมเชนนั้นหากนําไปปรุง
อาหารจะมีอาการคันคอ ควรตมเปลี่ยนน้ําสัก ๒ - ๓ ครั้ง กอนนําไปปรุงอาหาร

มันเสา (Mon - Sao – Dioscoreaceae – dioscorea alata)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เรียกตามทองถิ่นแตกตางออกไป เชนมันเหลี่ยม มันหลวง มันหวาย


ลักษณะเดน คือเถามีลักษณะรูปเหลี่ยม ใบมีลักษณะเปนรูปหัวใจ ออกเปนคูๆ ตามขอ เสนใบมี ๗ เสน
เปนเสนนูน และเสนบนสุดทั้งสองดาน จะแตกแขนงออกเปนเสนคู หัวของมันชนิดนี้อยูลึกราว ๓๐
เซนติเมตร ถาขึ้นในปาดินรวนจะมีขนาดโต ใชเปนอาหารได แตตองนึ่งหรือตมใหสุกเสียกอน มันเสานี้
พบทั่วไปในปาดิบแลง ปาผลัดใบผสมมันที่ขึ้นในปาผลัดใบผสมนั้น เถาจะแหงทุกฤดูแลง
๑๔๗

มะกอกฝรั่ง (Ma-Kok-Farang – Anacardiaceae – Spondias cythera)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : มะกอกชนิดนี้ปลูกกันไวกินและขายแตไมสูจะแพรหลายนัก ลักษณะ


โดยทั่วไปคลายมะกอกปา แตผลมีขนาดโตกวา เมล็ดมีขนเปนเสี้ยน เนื้อหุมเมล็ดกินไดทั้งขณะดิบๆ หรือ
สุกแลว รสเปรี้ยว ใชจิ้มเกลือ ตนสูง ๖ - ๑๖ เมตร ใหผลประมาณเดือนมีนาคม – กรกฎาคม ใบและ
ยอดออนใชเปนผักจิ้มสดๆ รสเปรี้ยว

มะเขือเครือหรือแตงกะเหรี่ยง (MaKuaKrua or TaengKaren – Cucurbitaceae – Sechium edule)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพืชปลูกชนิดหนึ่ง มีถิ่นเดิมอยูในแถบอเมริกาใต ลักษณะเปนเถา


เลื้อย ชอบขึ้นบริเวณที่มีอากาศหนาว โดยเฉพาะทางภาคเหนือของประเทศ ชาวบานและชาวเขานิยม
ปลูกกันทั่วไป ดอกสีเหลือง ผลมีลักษณะยาวรี ผิวขรุขระ ดานในไมมีเมล็ด สืบพันธุโดยนําผลไปปลูก
เนื้อในของผลออนใชแกง ผัด หรือตม แตไมควรตมนานเกินไป เพราะเนื้อมะเขือเปอยงาย ยอดออนและ
ใบออนใชแกง ตน หรือตมจิ้มน้ําพริกได รสอรอยดีอยางหนึ่ง
๑๔๘

มะมวงนอย (Ma – Muang - Noi – Rutaceae – Evodia glomerata)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบในปาดิบแลง ปาดิบเขาและปาผสมผลัดใบ ตนสูงประมาณ ๘ - ๑๕


เมตร ใบและกิ่งออนเปนขน ใบออนใชเปนผักจิ้มหรือยากินได มีกลิ่นและรสฝาดเล็กนอย

มะเกวนใหญ (Ma – Kwen - Yai – Flacourtiaceae – Flacourtia rukam)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : มีลักษณะเหมือนกับมะกอกเกวนมาก ผิดกันแตวาผลโตกวา คือโต


ประมาณ ๒๐-๒๕ เซนติเมตร ผลมีลักษณะกลม เมื่อสุกจะมีสีแดงหรือมวง กินได รสหวาน ผลดิบมีรส
ฝาด ใหผลประมาณเดือนสิงหาคม – ตุลาคม ไมชนิดนี้ไมผลัดใบ ตนสูงประมาณ ๑๐ - ๑๕ เมตร พบ
ทั่วไปในปาดิบแลง และปาผสมผลัดใบทั่วประเทศ
๑๔๙

มะกล่ําตาชาง (Maklam – Ta - Chang - Leguminosae – Adenanthera pavonina)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมตนขนาดใหญชนิดหนึ่ง ผลัดใบในฤดูแลง สูงประมาณ ๒๐ - ๓๐


เมตร พบตามปาดิบชื้น ปาดิบแลง และปาผลัดใบผสม ออกลูกเปนฝก เมล็ดขนาดเล็กสีแดง เนื้อในเมล็ด
กินไดรสมันๆ ยอดออนสีแดงใชปรุงอาหารไดเชนกัน เชน ตม หรือแกง รสขมเล็กนอย หรือตมจิ้มน้ําพริก
ก็ได

มะขามปอม (Makham - Pom – Euphorbiaceae – phyllanthus emblica)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมขนาดเล็กสูง ๔ - ๙ เมตร ผลกินไดสดๆ พบทั่วไปในปาผสมผลัด


ใบและปาเต็งรัง ออกผลดก บางชนิดจะใหผลมีขนาดโตประมาณ ๓ เซนติเมตร แตสวนมากพบชนิดที่มี
ผลขนาดโต ๑๕ - ๒๐ เซนติเมตร ใหผลประมาณเดือนตุลาคม – พฤษภาคม มีรสฝาด แตเมื่อนําไปดอง
น้ําเกลือรสฝาดจะหายไป
๑๕๐

มะเกลือ (Ma – Kluea – Ebenaceae – Diospyros mollis)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนตนไมไมผลัดใบ สูงประมาณ ๑๕ - ๒๕ เมตร พบในปาดิบแลงและ


ปาผสมผลัดใบทั่วประเทศ ใหผลกลมขนาด ๑๕ – ๒๓ เซนติเมตร ประมาณเดือนมิถุนายน – ตุลาคม
ผลมะเกลือใชประโยชนไดหลายอยาง โดยนําเอามาโขลกและบีบเอาน้ําใชยอมผาใหเปนสีดํา หรือปนกับ
กะทิดื่มเปนยาขับถายพยาธิไดเปนอยางดี เนื้อในของผลดิบกินไดมีรสมันๆ

มะเกวนนก (Ma Kwen Nok – Flacourtiaceae – Flacourtia indica)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมตนขนาดเล็ก สูงประมาณ ๔ - ๘ เมตร พบในปาดิบแลง และปา


ผสมผลัดใบ ตามลําตนและกิ่งมีหนามแข็ง แหลมยาว ผลสีแดง โต ๑๐ - ๑๕ เซนติเมตร ขางในมีเมล็ด
เล็กๆ มาก ผลจะสุกประมาณเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม กินได รสหวานอมฝาด
๑๕๑

มะนอด (Manot – Moraceae – Ficus semicordata)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : จัดอยูในจําพวกไทรชนิดหนึ่ง พบตามบริเวณที่โลงๆ เชน ขางลําธาร


หรือขางทางในปาดิบแลง และปาผลัดใบผสม หรือในปาใสออน ตนสูง ๑๐ - ๑๕ เมตร ออกลูกเปนพวง
ยาว ตรงโคนตน ผลดิบสีเขียว ผลสุกสีแดง กินไดสดๆ รสเปรี้ยว แตบางตนก็มีรสหวาน

มะมวงหิมพานต (Ma Muang Him Ma Pan – Anacardiaceae – Anacardium occidentale)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พันธุไมเดิมของอเมริกาใตนํามาปลูกกันแพรหลายในเอเชีย สูง ๖ - ๑๐


เมตร ประเทศไทยปลูกกันมากในจังหวัดภาคใต นอกนั้นปลูกกันบางเล็กนอย ออกดอกมกราคม –
กุมภาพันธ ผลจะแกประมาณเดือนพฤษภาคม ดอกและยอดออนของไมชนิดนี้กินได มีรสฝาด ใชเปนผัก
จิ้มกับอาหารประเภทอื่น ผลเมื่อแกจัดจะมีกลิ่นหอมรสหวานอมฝาดกินได ยางของผลไมประเภทนี้มีพิษ
อาจทําใหเกิดแผลพุพอง ถูกปาก ลิ้น จะมีอาการคันคอ ไหมคอ เมล็ดในเมื่อแกะเปลือกออกกินได แต
ตองคั่ว ทอด หรือแกง บางคนใชทําของหวาน ตมกับน้ําตาล
๑๕๒

มะมวงกอม (Ma muang Kom – Staphyleaceae – Turpinia pomifera)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ตนสูงประมาณ ๔ - ๖ เมตร พบในปาดิบแลง และปาดิบเขาทั่วไป กาน


ของใบออน สีมวงแดง ยอดออนใชเปนผักจิ้มหรือยํากินได รสฝาดเล็กนอย ผลมีลักษณะขรุขระไมมี
สัณฐานแนนอน ลักษณะเบี้ยวๆ บิดๆ และกินไมได

มะเดื่อน้ํา(Maduea Nam – Moraceae – Ficus saemocarpa)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพันธุไมเตี้ยชนิดหนึ่ง สูง ๐.๕ - ๑.๐ เมตร มักพบเปนกลุมๆ ตาม


ชะงอนหินหรือขางลําหวย ลําธารทั่วประเทศ ยอดและผลออนใชเปนผักจิ้มไดสดๆ มีรสฝาดเล็กนอย ผล
ใชใสแกงไดเหมือนมะเดื่อชนิดอื่น
๑๕๓

มะพูด (Ma Phud – Guttiferae – Garcinia xanthochyma)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบทั่วไปไมสูมากนักในปาดิบแลงและปาดิบชื้น สูง ๖ - ๑๕ เมตร ผลดก


ออกตามกิ่งลักษณะกลมโต ๖-๘ เซนติเมตร ผลดิบสีเขียว ผลสุกสีเหลืองสม จะสุกประมาณเดือน
เมษายน – กรกฎาคม เนื้อในหุมเมล็ดของผลสุกกินไดรสหวาน ไมชนิดนี้ชาวบานไดนํามาปลูกกันบางใน
ภาคกลางของประเทศ แตไมสูจะแพรหลายนัก

มะไฟ (Ma Fai – Euphorbiaceae – Baccaurea sapida)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมขนาดเล็ก สูง ๖ - ๑๒ เมตรขึ้นไป และหาไดงายในปาดิบแลง


และดิบชื้นทั่วประเทศ ในทองที่บางแหงก็นําพันธุที่มีรสหวานมาปลุกกันตามสวนผลไม มะไฟออกลูกเปน
พวงตามกิ่งกานและลําตน ผลมีขนาดโตประมาณ ๒๐ - ๒๕ เซนติเมตร เปลือกนอกเมื่อแกเต็มที่สีเหลือง
ออน เนื้อในของผลสุกเปนกลีบๆ กินได รสหวานอมเปรี้ยว ผลมะไฟจะสุกประมาณเมษายน –
พฤษภาคม
๑๕๔

มะคาโมง (Ma Kha Mong - Leguminosae – Afzelia xylocarpa)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมขนาดใหญ สูง ๑๕ - ๒๐ เมตร พบทั่วไปในปาดิบแลง ออกฝกใน


ฤดูฝน เมื่อฝกแกจะแตกเมล็ดที่อยูขางในจะหลนลงบนพื้นดิน เมล็ดของฝกสดที่ยังไมแกนั้นกินได มีรส
หวานมันแตตองแกะเยื่อบางๆ ที่หุมเมล็ด ซึ่งมีรสฝาดออกเสียกอน หรือตมใหสุก เนื้อในเมล็ดจะหลุด
ออกมาเอง บางคนนิยมเอามาตมน้ําตาลทําเปนของหวาน สวนเมล็ดแกแลวจะแข็งมาก และจะพบหลน
เกลื่อนอยูตามโคนตน นําเมล็ดเหลานี้มาเผาไฟใหเปลือกกานนอกไหม แลวรีบโยนลงไปในน้ําแชทิ้งไว
ประมาณคืนหนึ่งก็พอ ใชเปนอาหารได

มะมุด หรือสมมุด (Ma Mud or Som Mud – Anacardiaceae – Mangifera foetida)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ใบและผลคลายมะมวง นิยมปลูกกันในจังหวัดภาคใต ผลดิบกินไดมีรส


เปรี้ยวจัด แตบางตนก็จืดๆ หรือรสฝาดอมเปรี้ยวเล็กนอย หรือจะใสแกง หรือปนกับอาหารประเภทอื่น
เพื่อทําใหมีรสเปรี้ยวขึ้น ผลสุกก็ยังคงมีสีเขียว กลิ่นหอมมาก รสหวาน ยางของผลมีพิษเล็กนอย
กลาวคือถาใชปากกัดจะทําใหปากเปนแผลได ถูกผิวหนังออนจะเกิดพุพอง เขาตาอาจทําใหเปนแผลใน
ตาได โดยเฉพาะผลออนมียางมาก ผลดิบนํามาดองน้ําเกลือเก็บไวกินไดนานๆ เชนเดียวกับมะมวง
๑๕๕

มะเฟอง (Ma Fueang – Caraniaceae – Averrhoa carambola)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมขนาดเล็ก เรือนยอดแนนทึบ สูง ๘ - ๑๒ เมตร ปลูกกันทั่ว


ประเทศใหผลตลอดป บางชนิดรสหวาน บางชนิดรสเปรี้ยว ผลกินไดทั้งในขณะสด หรือสุกแลว สวนมา
ใชจิ้มกับเกลือกิน หรือจะคั้นเอาน้ําผลสุกกินก็ได

มะปอง (Mapong – Guttiferae – Garcinia thorelii)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมไมผลัดใบ พบทั่วไปในปาดิบแลง แตไมสูมากนัก สูง ๑๕ - ๒๕


เมตร ออกผลขนาดโต ๕-๗เซนติเมตร ตอนฤดูฝน และผลจะสุกระหวางเดือนตุลาคม – ธันวาคม เนื้อใน
ผลมีลักษณะคลายมังคุด มีกลิ่นหอม ผลสุกมักจะเนาคาตนและหลนลงสูพื้น ตนมะปองขนาดเล็กสูง ๑๐
- ๑๕ เมตร มักจะไมออกลูก เนื้อหุมเมล็ดรับประทานได มีรสหวานอมเปรี้ยว ผลดิบมีรสเปรี้ยวจัด
๑๕๖

มะคอม (Makom – Tiliaceae – Grewia paniculata)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมขนาดเล็กถึงขนาดใหญ สูง ๓ - ๒๕ เมตร ไมผลัดใบ ออกลูกเปน


พวงตอนปลายกิ่ง พบทั่วไปตามปาดิบแลง และปาผลัดใบผสม ผลดิบสีเขียว ผลสุกสีดํา ผิวหุมเมล็ดสุก
แลวกินได รสหวาน ซึ่งจะใหผลราวเดือนพฤศจิกายน – มกราคม

มะเมาหลวง (Ma Mao Luang – Euphorbiaceae – Antidesma bunius)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมขนาดกลาง สูง ๑๐ - ๑๗ เมตร พบในปาดิบแลงทั่วไปในประเทศ


แตไมสูงมากนัก ดอกออกเปนพวงตอนปลายกิ่ง ขนาดผลโตกวามะเมาเล็กอื่นๆ คือโตประมาณ 5
มิลลิเมตร ผลดิบสีเขียว ผลสุกสีดํา ผลดิบรสเปรี้ยวจัด ผลสุกรสหวานอมเปรี้ยว ซึ่งจะใหผลสุกตอน
ปลายฤดูฝน หรือประมาณเดือนตุลาคม – ธันวาคม
๑๕๗

มะตูม (Matum – Rutaceae – Aegle marmelos)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบในปาผลัดใบผสม ปาเต็งรัง และปลูกกันทั่วไป สูงประมาณ ๕ - ๑๕


เมตร เปนไมผลัดใบในฤดูรอน ลําตนมีหนามใหผลสุกราวๆ เดือนมีนาคม – เมษายน ผลดิบสีเขียว ผลสุก
สีเหลือง โตประมาณ ๗ - ๑๐ เซนติเมตร ใบออนใชกินโดยจิ้มน้ําพริกหรือกินเปนผักได ผลดิบเมื่อนํามา
หั่นบางๆ ตากแดดใหแหง และเอาไปเผาไฟพอเกรียมๆ ใชชงน้ํารอนแทนใบชาได มีกลิ่นหอม เนื้อของ
ผลสุกเมื่อแคะเอาเมล็ดซึ่งมียางเหนียวๆ ออกก็รับประทานได มีรสหวาน สวนมากมักพบไมชนิดนี้ตาม
สวน หรือหัวไรปลายนา ทางภาคเหนือเรียกไมชนิดนี้วา มะปน

มะเมาเล็ก (Mamao Lek – Euphorbiaceae – Antidesma ghaesembilla)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมพุมขนาดเล็ก สูง ๑ - ๒ เมตร พบทั่วไป ใบและผลซึ่งออกตลอดป


กินไดมีรสเปรี้ยวเล็กนอย ชาวบานมักจะเก็บผลที่ออกเปนพวง กินเลน และใบออนเอาใสแกงเพื่อทําใหมี
รสเปรี้ยว
๑๕๘

มะขวิด (Makhwit – Rutaceae – Feronia limonia)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนตนไมสูง ๑๕ - ๒๒ เมตร ปลูกกันบาง แตไมสูจะแพรหลายนัก ผลมี


ขนาดโตกลม ๑๐ - ๑๕ เซนติเมตร เปลือกแข็งหนา ผลดิบสีเขียวออน ผลสุกสีน้ําตาลเขม เนื้อในผลดิบ
จิ้มเกลือกินได รสฝาดมันๆ เนื้อในผลสุกรสหวาน กินได จะสุกประมาณ ตุลาคม – ธันวาคม
.

มะดัน (Ma Dan – Guttiferae – Garcinia schomburgkii)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพันธุไมปาชนิดหนึ่ง ลักษณะเปนไมกึ่งไมเลื้อยและไมพุม พบในปา


ดิบแลง แตไมสูมากนัก ชาวบานนํามาปลูกกันทั่วไป ใหผลตลอดป ดอกสีเหลืองออนมีกระสีชมพู ผลมีรส
เปรี้ยวจัด ใชแทนมะนาวไดดี หรือนําไปดองน้ําเกลือเพื่อทําใหรสเปรี้ยวลดลง และสามารถเก็บไวได
นานๆ
๑๕๙

มะขามเทศ (Ma Kam Thet – Leguminosae – Pithecellobium dulce)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมพื้นเพเดิมในแถบศูนยสูตรของทวีปอเมริกา แตไดนํามาปลูกกัน


แพรหลายในยานเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยนํามาปลูกเปนรั้ว หรือขึ้นเองทั่วไป ตนที่ไมตัด ปลอยให
เจริญเติบโต จะสูง ๕ - ๘ เมตร ตามกิ่งกานมีหนามสั้นๆ ออกลูกเปนฝกตลอดป เนื้อเยื่อสีขาวหุมเมล็ด
กินได

มะกอกน้ํา (Ma Kok Nam – Elaeocaepaceae – Elaeocarpus madopetalus)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมตนที่พบขึ้นอยูตามริมน้ํา ตามชายฝงทะเล ตามปาโกงกาง ปาพรุ


ตนสูง ๓ - ๑๒ เมตร ผลมีลักษณะรูปยาวรี ใหผลระหวางเดือนมิถุนายน – พฤศจิกายน เนื้อหุมผลรส
เปรี้ยว ใชดองน้ําเกลือเปนผลไมดอง หรือนําไปเชื่อมน้ําตาล เปนผลไมเชื่อม
๑๖๐

มะแฟน (Mafan – Burserceae – Protium serratum)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูง ๑๕ - ๒๕ เมตร พบในปาผลัดใบผสม


ปาดิบแลงทั่วไป ออกผลเปนพวง บางทีก็ออกเดี่ยว ลักษณะของผลไมแนนอน อาจเปนรูปกลมหรือเบี้ยว
บิดก็ได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับจํานวนเมล็ดที่อยูขางในเปลือก เนื้อรอบเมล็ดกินได ถาเปนผลดิบสีน้ําตาลปนเขียว
มีรสเปรี้ยวจัด ผลสุกงอมจะมีสีมวงดํา รสหวาน ผลจะแกประมาณเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน

ยานาง (Phak Ya - Nang – Menispermaceae – Tiliacora triandra)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเถาชนิดหนึ่ง ขึ้นพันไมอื่น พบทั่วไปในปาผสมผลัดใบ และปาดง


ดิบ ดอกสีขาว ออกตามงามใบเปนกระจุก ใบใชใสแกงหนอไมเปนเครื่องชูรสไดดีชนิดหนึ่ง
๑๖๑

ยอบาน (Yor Ban – Rubiaceae – Morinda citrifolia)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมปลูกชนิดหนึ่ง สูง ๓ - ๘ เมตร ปลูกกันทั่วไปทุกภาค ใบออนใช


เปนอาหาร โดยใสแกง หรือทําหอหมก มีรสขมเล็กนอย ไมนิยมกินสดๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
บางจังหวัดจะเอาผลที่แกจัดใกลสุกมาทําสมตํากินได

ระยอมตีนหมา (Rayom Teen Mha – Apocynaceae – Rauwolfia serpentine)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพันธุไมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ขึ้นตามหัวไรปลายนา แตไมสูจะพบมาก


นัก อกดอกเปนกระจุกสีแดงตอนปลาย รากโตหยั่งลึกลงไปในดิน ๑๕ - ๓๐ เซนติเมตร ชาวบานนําราก
มาหั่นตากแดดใหแหงแลวปนใหละเอียดใชเปนยาเบื่อสุนัข โดยปนอาหารใหกิน จะทําใหเกิดอาการมึน
เมา และจะตายภายในเวลา ๓-๕ ชั่วโมง หากคนบริโภคเขาไปจะทําใหถึงแกความตายได
๑๖๒

รําเพย (Ram Phoei – Apocynaceae – Thevetia peruviana)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมตางประเทศที่นําเขามาปลูกกันแพรหลายในเมืองไทย เปนไม


ประดับตามบริเวณบานหรือสวน หรือตามสุสาน ออกดอกออกผลตลอดป ทุกสวนของลําตนมียางขาว
ซึ่งเปนพิษตอหัวใจ วัวควายกินใบรําเพยเขาไปประมาณ ๖ - ๑๐ ใบ จะทําใหตายได บางครั้งคนอาจ
เผลอกินเขาไป ก็ทําใหเสียชีวิตไดเชนกัน

รักใหญ (Rak Yai – Anacardiaceae – Melanorrhoea usitata)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมขนาดกลางถึงขนาดใหญ ผลัดใบในฤดูแลง สูง ๑๕ - ๒๐ เมตร


ออกดอกสังเกตเห็นไดงาย เปนพวงขาวๆ ในเดือนพฤศจิกายน พบทั่วไปในปาผลัดใบผสมและปาเต็งรัง
ในฤดูออกดอกจะมองเห็นไดแตไกล เพราะเปนสีขาว ลักษณะเดนของไมชนิดนี้คือแมลงจะไปไขไวตาม
ใบ และจะมีตุมกลมๆ จํานวนมากตามดานบนและลาง ใบยางรักเปนพิษตอผิวหนัง อาการแพจะมีมาก
นอยตางกัน เมื่อถูกผิวหนังจะเกิดอาการคันทั่วตัว อาจกลายเปนแผลเนาเฟะก็ได อาการจะปรากฏ ๒ -
๗ วัน บางคนอาจเปนเดือน ชาวบานแกโดยเอาเปลือก และใบสักมาตมอาบ
๑๖๓

ลีลาว (Lilao – Liliaceae – Aspidistra sutepensis)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบทั่วไปในปาดงดิบแลง และปาดงดิบเขา ตามขางลําธารหรือที่ชื้นๆ


ทั่วไปในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอกตอนปลายฤดูฝน ประมาณเดือนสิงหาคม –
พฤศจิกายน เปนชอยาวสีมวง ชอดอกใชประกอบอาหารไดแตตองทําใหสุกเสียกอน

ตาวหรือลูกชิด (Tao or Luk - Chid – Palmaceae – Arenga pinnata)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนปาลมชนิดหนึ่ง พบในปาดิบแลง สูงประมาณ ๑๕ เมตร มีเยื่อสีดํา


ตามกาบใบโดยตลอด ทางใบยาวประมาณ 3 เมตร ทองใบสีขาว ออกผลเปนทะลาย ผลแกราวเดือน
มกราคมถึงกุมภาพันธ เนื้อในของผลกินได แตตองตมใหสุกเสียกอน แลวใชไมประกับหนีบผลที่ตมแลว
นั้น เนื้อในผลจะทะลักออกมา ชาวบานนิยมนําไปเชื่อมน้ําตาล เนื้อออนตรงคอตนใชเปนอาหารได
นอกจากนั้นทางใบเมื่อผาแบงครึ่งก็นําไปมุงหลังคาได
๑๖๔

เลียบหรือผักเฮือด (Liap or Phak Heurt – Moraceae – Ficus lacor)


ลักษณะทางพฤกษศาสตร : อยูในจําพวกไทรชนิดหนึ่ง พบทั่วไปในปาผลัดใบผสม หรือปาแถบ

ชายทะเล ปาโลงๆ ขางถนน ในปาทึบๆ ไมคอยพบ เปนไมผลัดใบชนิดหนึ่ง สูง ๘ - ๑๕ เมตร จะผลัดใบ


หมดประมาณเดือนธันวาคม – มกราคม และจะแตกใบใหม ยอดออนประมาณเดือนกุมภาพันธ –
เมษายน ยอดออนจะมีปลอกหุมระยะแรกใบออนและยอดออนใชเปนอาหารได เปนจําพวกผักจิ้มกิน
สดๆ หรือใชแกงคั่วหรือตมกะทิก็ได มีรสเปรี้ยว ใชตมกะทิกับปลาเค็มเปนที่นิยมกันในภาคใต

ลําโพง (Lampong – Solanaceae – Datura metel)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมพุมชนิดหนึ่งพบตามที่โลง ๆ หรือตามสวนทั่วประเทศ มีชื่อเรียก


กันแตกตางออกไป เชน มะเขือบา เปนตน ลักษณะใบและผลคลายกับมะเขือ แตผลเปนหนามขรุขระมี
เมล็ดเล็ก ๆ ขนาดโต ๒ - ๓ มิลลิเมตร อยูขางในจํานวนมาก ผลโต ๔ - ๕ เซนติเมตรสวนที่เปนพิษมาก
ที่สุดคือ เมล็ดและใบ ถากินเขาไปจะทําใหเกิดคอแหง ลิ้นแข็ง หัวใจเตนเร็ว เสียสติ คลายกับคนบา
อาการจะปรากฏภายในเวลา ๕-๑๐ นาที หลังจากกินเขาไปแตไมทําใหถึงเสียชีวิต และจะแสดงอาการ
อยู ๒ - ๓ วัน
๑๖๕

ละหุง (Lahoong – Euphorbiaceae – Ricinus communis)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพืชตางประเทศนําเขามาปลูกแพรหลายในเมืองไทย เปนพืชไรที่ปลูก


กันประจําปทุกสวนของพืชชนิดนี้มีพิษ โดยเฉพาะเมล็ดเมื่อกินเขาไปจะทําใหเกิดอาการ เจ็บคอ ปวด
ทอง อาเจียน ชักกระตุก ซึ่งถากินเขาไปมาก ๆ จะทําใหตายได

โศกน้ํา (Sok Nam – Leguminosae – Saraca bijuga)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมไมผลัดใบ สูง ๘-๑๕ เมตร พบทั่วไป โดยเฉพาะตามบริเวณขางลํา


ธาร หรือปาบริเวณใกลน้ําตก ออกดอกเปนพวงสีสม คลายดอกเข็ม ดอกใชเปนอาหารจําพวกผัก หรือ
จะแกงสมก็ได นิยมใชดอกที่ยังไมทันบาน มีรสเปรี้ยวเล็กนอย
๑๖๖

สันตะวาหรือใบพาย (Santawa or Baipai – Hydrocharitaceae – Ottelia olismoides)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพืชที่ชอบขึ้นในน้ําชนิดหนึ่ง ดอกสีเหลือง กานใบมีลักษณะรูป


สามเหลี่ยม พบทั่วไปในหนองน้ํา หรือบริเวณที่มีน้ําขังอยูเปนประจํา ใบออนและชอดอกกินไดสด ๆ
เปนผักจิ้ม หรือจะแกงสมก็ได

สาคูดํา (Saku-Dum – Marantaceae – Maranta arundinacea)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนพันธุไมลมลุกชนิดหนึ่ง มีเงาใตดิน พบขึ้นตามปาดิบแลงทั่วไป ปลูก


กันไมมากนัก ลักษณะของใบสีมวงแดง เงาตมกินได มีรสมัน ๆ อรอย สวนมากมักจะพบขึ้นเปนกอ สูง
๑ - ๒ เมตร
๑๖๗

สลิด หรือขจร (Salit or Kachon – Asclepiadaceac – Telosma minor)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเถาชนิดหนึ่ง พบทั่วไปไมมากนักในปาดิบแลง ปาละเมาะ บาง


แหงก็ปลูกเปนไมประดับ ดอกสีเขียว เหลือง กลิ่นหอมออน ๆ ออกเปนพวงตามขอหรืองามใบ ดอกกิน
ไดสด ๆ หรือตมใหสุก หรือจะผัดใสไขก็ได

(ผัก) เสี้ยน (Phak Sian – Capparidaceae – Gynandropsis pentaphylla)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมพุมเล็กชนิดหนึ่ง สูงประมาณ ๖๐ - ๘๐ เซนติเมตร พบทั่ว


ประเทศ ตามสวนหรือตามบริเวณบาน ชอออนของผักชนิดนี้ใชเปนอาหารได แตตองดองน้ําเกลือ ทิ้งไว
ประมาณ ๒ - ๓ วัน เพราะถานําไปปรุงสด ๆ จะมีรสขม
๑๖๘

(เถา) สมปอย (Thao-Som-Poi – Leguminosae – Acacia concinna)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมเถามีหนามชนิดหนึ่งขึ้นปกคลุมไมพุมเตี้ยอื่น ๆ โดยเฉพาะบริเวณ


ขางลําหวยลําธารและขางทางในปาดิบแลง และปาผสมผลัดใบ ออกลูกเปนฝกใบออนใชเปนเครื่องปรุงชู
รสชนิดหนึ่ง เชน ใสแกงหรือใสอาหารประเภทอื่นเพื่อใหมีรสเปรี้ยวขึ้น ชาวบานใชใบออนเปนยา
กลางบาน โดยตมเอาน้ําผสมน้ําผึ้ง กินเปนยาขับถายปสสาวะ

สานเปลา หรือ สานพลู หรือมะตาด (San Plao or Matad – Dilleniaceae – Dillenia indica)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : พบทั่วไปในปาดงดิบ ตามขางหวย ลําธาร ผลหลนลอยมาตามน้ํา ตนสูง


๑๐ - ๒๕ เมตร ดอกสีขาว ใหผลตอเนื่องกันเปนระยะเวลานานตั้งแตเดือนตุลาคม-มีนาคม ลักษณะผลมี
5 กาบ ชาวบานใชใสแกงเพื่อทําใหรสเปรี้ยว หรือจะกินสด ๆ ก็ได ผลแกจัดจะมีรสหวานอมเปรี้ยว
เล็กนอย กลิ่นหอม นิยมใชกาบสองกาบขางในสุด กาบขางนอกสามกาบมีรสเปรี้ยวอมฝาด ผลของเปลา
ชนิดนี้สามารถเก็บไวไดนานเปนเดือนโดยไมเสียหาย
๑๖๙

สมงวง (Som Nguang – Guttiferae – Garcinia sp.)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมตนชนิดหนึ่ง สูง ๑๐ - ๒๐ เมตร พบในปาดิบแลง ปาดิบเขา ปา


ดิบชื้น ปาผลัดใบ ผสมที่ชื้น ๆ ลักษณะผลคลายมังคุดโต ๕ - ๖ เซนติเมตร ผลดิบสีเขียว ผลสุกสีเหลือง
ใหผลประมาณเดือนกรกฎาคม-กันยายน เนื้อหุมเมล็ดของผลสุกกินไดรสหวานอมเปรี้ยวเล็กนอย

สายเดน (Sai Den – Annonaceae – Polyalthia sp.)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมตนขนาดเล็กสูง ๘ - ๑๒ เมตร พบในปาเต็งรัง และปาผสมผลัดใบ


ออกลูกเปนกระจุกตามปลายกิ่ง ประมาณเดือน กรกฎาคม-สิงหาคม ผลมีขนาดเล็ก ประมาณ 8
มิลลิเมตร ผลดิบสีเขียว ผลสุกสีแดง รสหวานอมฝาด
๑๗๐

เสี้ยวดอกแดง (Sieo Dok Daeng – Leguminosae – Bauhinia purpurea)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมตางประเทศที่นําเขามาปลูกเปนไมประดับในเมืองไทย จนกระทั่ง


แพรหลายไปทั่วประเทศ ตนสูงประมาณ ๗ - ๑๒ เมตร จะพบตามขางทาง ตามหมูบาน หรือตาม
สถานที่ราชการเปนไมที่ผลัดใบในฤดูแลง แตกใบใหมประมาณเดือน มกราคม-กุมภาพันธ ใบออนของไม
ชนิดนี้ใชตม หรือแกงกินได

สะเดา (Sadao – Meliaceae – Azadirachta indica)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมปลูกชนิดหนึ่ง สูงประมาณ ๘ - ๑๕ เมตร พบในปาดิบแลงและ


ตามหัวไรปลายนา ปลูกกันทั่วไปทุกภาค จะผลัดใบในฤดูแลง และจะผลิใบออนและมีดอกตอนปลาย ๆ
ฤดูรอน ดอกออนและใบออนกินไดแตมีรสขมเล็กนอย ตองนํามาตมหรือลวกน้ํารอนกินกับน้ําปลาพริก
หรือน้ําปลาหวาน หรือใสลงในอาหารประเภทอื่นเพื่อใหมีรสขมในกรณีที่บางคนชอบรสขม บางทีลวก
น้ํารอนแลวตากแหงเก็บไวกินไดนาน ๆ
๑๗๑

สมอไทย (Samo Thai – Combretaceae – Terminalia chebula)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูง ๑๕ - ๒๐ เมตร พบทั่วไปแต


ไมมากนักในปาดิบแลง และปาผสมผลัดใบ พบบางในปาเต็งรัง มีคนเอามาปลูกบางตามหมูบาน ผลแก
จัดจะรวงหลนในปลายฤดูฝน หรือตนฤดูหนาวประมาณเดือนพฤศจิกายน-มกราคม ผลถากินสด ๆ มีรส
ฝาด ชาวบานนิยมใชดองน้ําเกลือ และเก็บไวไดนานซึ่งรสฝาดจะหายไป

สบูดํา (Sabu Dam – Euphorbiaceae – Jatropha curcas)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมพุมขนาดเล็ก สูง ๒ - ๓ เมตร พื้นเดิมอยูในทวีปอเมริกา ชาว


โปรตุเกส นํามาปลูกเผยแพรกันทั่วไป สวนมากนิยมปลูกตามรั้วบานหรือสวน ยางและน้ํามันในเมล็ดพืช
ชนิดนี้เปนพิษตอผิวหนังออน ถาถูกเขาอาจพุพองไดในเมล็ดมีสารเคอรซีน ซึ่งเปนพิษ หากกินเขาไปมาก
ๆ จะทําใหเกิดอาการรอนไหมในลําคอ วิงเวียนศีรษะ ทองรวง หมดแรงและอาจทําใหถึงตายได เมล็ดแก
จัด แกะผิวหุมออกแลวเอาเมล็ดมาเสียบไมตอ ๆ กัน ใชจุดแทนเทียนไขไดดี และไมมีควัน
๑๗๒

บทที่ ๕
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับงู
ตามธรรมชาติ งูจ ะไม เ ที่ย วไลกัดคน มัน จะกัดก็ตอเมื่อถูกรบกวนอยางหนัก งูมองเห็น เวลา
กลางคืนไดดีกวากลางวัน ดังนั้นจึงไมใครพบงูในที่สวางหรือโลงแจง งูไมมีอวัยวะรับเสียงทางอากาศ การ
ที่งูเหาสายหัวไปมาไปตามจังหวะปของหมองูนั้น เปนเพราะมันมองตามปของหมองู และงูจะรูทันทีเมื่องู
มีฝเทาเขามาใกล เพราะเหตุวามันไดรับความกระเทือนจากพื้นที่ที่มันนอนอยู ลิ้นเปนอวัยวะสําคัญ
สําหรับนํากลิ่น
งูกินสัตวเปนอาหาร งูจงอางชอบกินงูเปนๆนั้น งูน้ํากินปลา งูชนิดอื่นๆกินหนู กบ แมลง งูกิน
สัตวที่มันฆาเองใหมๆ เทานั้น เมื่อกินมื้อหนึ่งแลวงูจะอดอาหารไปหลายวันงูสวนมากออกไข แตงูจําพวก
โลหิตเปนพิษ ( viper ) บางชนิด เชน งูแมวเซา จะออกลูกเปนตัว งูจะลอกคราบเปนระยะๆบอยครั้ง
เมื่อยังออนอยู ภายหลังลอกคราบใหมๆงูจะมีสีสดใสวองไว
พิษงู
งูพิษมีเขี้ยว๒ เขี้ยวที่ขากรรไกรบนดานหนา เขี้ยวคือฟนรูปโคงที่เปนรอง หรือมีโพรงตลอด
ความยาวของเขี้ยว เขี้ยวแตละอันติดตอโดยมีทอเชื่อมกับตอมพิษหนึ่งตอมที่ตั้งอยูเบื้องหลังของตาตอม
พิษทั้งสองขางนี้เทียบไดกับตอมน้ําลาย เมื่องูกัดพิษจะถูกขับออกมาจากตอม ไหลเขาไปทางแผลรอย
เขี้ยว พิษมีประโยชนตองูสําหรับชวยฆาสัตวเปนอาหาร และชวยในการยอยอาหารดวย
พิษงูมีลักษณะเหลวใส สีเหลืองออน พิษงูที่รีดออกมาเมื่อทําใหแหงจะเปนเกล็ดสีเหลือง พิษงูที่
แหงจะมีคุณภาพอยูคงทน และละลายน้ําไดงาย พิษงูใชเปนประโยชนสําหรับฉีดมา เพื่อทําเปนเซรุมแก
พิษงู และใชในการวิจัยดวย
อาการเมื่อถูกงูพิษกัด
เมื่อถูกงูพิษกัดตรงที่กัดจะมีรอยเขี้ยว ๒ เขี้ยว และจะมีอาการภายใน ๑๐ นาที ถางูไมมีพิษจะ
พบแตรอยฟนเปนแถว
อาการของผู ถูกงูกัดนั้ น แลว แตชนิดของงู พิษงูเหาจะทําลายตอมระบบปราสาท สวนพิษงู
จําพวกชนิดพิษโลหิต(vipers ) เชน งูแมวเซา ทําอันตรายตอโลหิต และหลอดโลหิต เมื่อถูกงูเหากัด
บริเวณที่ถูกงูเหากัดจะปวดบวมเล็กนอยภายใน ๑๐ นาที อาการทั่วไปจะเกิดขึ้นภายหลังประมาณครึ่ง
ชั่วโมง ผูถูกกัดจะมีอาการออนเพลีย เดินไมไหว หนังตาตก พูดออแอ กลืนลําบาก และหายใจไมสะดวก
ในที่สุดเปนอัมพาตทั่วรางกาย และถึงแกความตาย เพราะการหายใจหยุด เมื่อถูกงูจําพวกพิษโลหิต เชน
งูแมวเซากัด อาการบริเวณที่ถูกกัดจะเห็นเดนชัด มีอาการปวด และบวมมาก บริเวณที่ถูกกัดจะมีอาการ
เลือดไหลซึมจากปากแผลที่ถูกกัด อาการทั่วไปมีโลหิตออกจากทางผิวหนัง และเหยื่อมูก เชน โลหิตออก
ตามไรฟน เลือดกําดาวออก และมีโลหิตปนออกมากับปสสาวะ อุจจาระ และอาเจียน หมดสติ แตไมมี
อาการอัมพาต และถึงแกความตายเพราะหัวใจวาย ในรายที่ถูกงูกะปะกัด บริเวณที่ถูกกัดเนื้อจะเปอย
เนาเนื้อตาย อาจถึงกับตัดสวนที่ถูกงูกัดทิ้ง ในรายที่ถูกงูสามเหลี่ยมกัด จะมีอาการทางปราสาทคลาย
๑๗๓

งูเหากัด และมีอาการชักกระตุก และปวดในชองทองดวย เนื่องจากโลหิตออกภายในบริเวณที่ถูกกัดจะ


ไมมีอาการแตอยางใด
การรักษาผูถูกงูพิษกัด
การปฐมพยาบาล ใหรีบรัดเหนือแผลใหแนน พอที่ปองกันไมใหพิษงูซึมจากแผลเขาสูรางกายได
รวดเร็ว จะใชสายยาง เชือก หรือผารัดก็ได แลวรีบไปรับการฉีดเซรุมแกพิษงู การไปฉีดเซรุมไดเร็ว
เพียงใดยอมเปนความปลอดภัยตอชีวิตมากเทานั้น
การรักษาดวยเซรุมแกพิษงู เมื่อพิษงูซึมเขาไปในรางกายแลว เซรุมแกพิษงูเทานั้นจะแกพิษได
โดยตรง เพราะในเซรุมแกพิษงู จะมีสารที่แกพิษงูไดทันที ควรใชเซรุมแกพิษงูเฉพาะชนิดที่ตรงกับงูพิษที่
กัด ( แพทยควรจะวินิจฉัยอาการของผูที่ถูกงูพิษกัดไดวา เปนงูพิษชนิดใดกัด ตามอาการที่กลาวมาแลว
ขางตน )เซรุมแกพิษงูที่ผลิตในประเทศ มี ๖ ชนิด คือ เซรุมแกพิษงูเหา งูจงอาง งูสามเหลี่ยม งูแมวเซา งู
กะปะ และงูเขียวหางไหม เซรุมแกพิษงูเหลานี้จะมีอยูตามสถานพยาบาลตางๆ ทั่วราชอาณาจักร เพื่อผู
ที่ถูกงูพิษกัดจะไดรับการรักษาดวยเซรุมโดยเร็วที่สุด
เมื่อถูกงูไมมีพิษ หรือมีพิษออนกัด ซึ่งทําใหเกิดอาการปวดบวมเล็กนอยตรงบริเวณที่ถูกกัด
เทานั้น โดยมีอาการทั่วไป ในรายเชนนี้อาจไมตองฉีดเซรุมก็ได แตใหการรักษาตามอาการที่เกิดขึ้น เชน
ระงับอาการปวด หรือประคบ เพื่อใหอาการบวมยุบลงก็เปนการเพียงพอแลว การใชเซรุมตองกระทํา
โดยระมัดระวัง เพราะอาจเกิดอาการแพเซรุมได แตเมื่อมีความจําเปนจะฉีดเซรุมแกพิษงู ก็ไมควรรั้งรอ
เพราะอาจเกิดอันตรายตอชีวิตได
งูพิษ และงูไมมีพิษที่คนพบในประเทศไทย
ลักษณะทั่วไปของงูในประเทศไทย
งูเปนสัตวเลือดเย็นอาศัยอยูทั้งบนบกและในน้ํา งูไมมีขา มีลําตัวลักษณะยาวเรียว มีเกล็ดปก
คลุมผิวหนัง เคลื่อนที่ไดโดยเกล็ดใตทอง และโครงกระดูก งูไมมีหู งูไมมีหูจึงไมสามารถรับเสียงทาง
อากาศได แตรับรูไดโดยการสัมผัส การสั่นสะเทือนของพื้น โดยประสาทรับรูที่เกล็ดใตทอง และผิวหนัง
งูไมสามารถออกเสียงได เพราะไมมีกลองเสียง งูสามารถมองเห็นไดในที่มืดไดดีกวาที่สวางโลงแจงนั้น
ฉะนั้นเราจึงไมคอยคนพบเห็นงูในที่สวาง งูมีลิ้นสองแฉก ไมสามารถรูรส เพราะงูใชลิ้นเปนสื่อในการนํา
กลิ่น สามารถอาปากไดกวาง ๑๘๐ องศา เหมือนเปนเสนตรง และสามารถกลืนเหยื่อที่ใหญกวาขนาด
ลําตัวของมันเองได๓-๕ เทา งูจะลืมตาตลอดวัน เพราะไมมีมานตา ทําใหไมสามารถหลับตาได และ
ธรรมชาติโดยทั่วไปงูจะไมกัดคน ยกเวนในกรณี ดังตอไปนี้ ถูกรบกวน ถูกทําใหเจ็บ คิดวาเปนอาหาร
ตกใจ
การแบงประเภท และสกุลของงูในประเทศไทย
๑. แบงตามประเภทของงู สามารถแบงได ๓ ประเภทดังนี้
๑.๑ ประเภทงูไมมีพิษ จะมีแตฟน ไมมีเขี้ยว กัดไมตาย มีบาดแผลเล็กนอยเทานั้น
๑๗๔

๑.๒ ประเภทงูพิษไมรายแรง จะมีเขี้ยวพิษเล็กๆ อยูบริเวณขากรรไกรบนสวนลาง กัดไมตาย แต


ปวดขาเล็กนอยเทานั้น
๑.๒.๑ ประเภทงูพิษรายแรง จะมี ๒ เขี้ยว อยูบริเวณขากรรไกรสวนหนา เขี้ยวจะโคง
งอเขาหาปากเล็กนอย มีรูปลอยน้ําพิษอยูที่ปลายเขี้ยวดานใน โดยจะสงพิษออกมาจากตอมน้ําพิษ ซึ่งอยู
บริเวณหลังตาเล็กนอย น้ําพิษจะถูกปลอยออกมาเมื่อเกิดการรัดตัวของกลามเนื้อที่ตอมน้ําพิษ ถาถูกงู
พิษรายแรงกัด จะมีรอยเขี้ยว ๒ เขี้ยว ลักษณะรอยแผลจะฉีกขาดเปนรอยขนาน ถาเปนรอยฉีกขาดเขา
หากันจะเปนรอยแมลงอื่นกัด
๒. แบงตามสกุล งูในประเทศไทยสามารถแบงสกุลได ๖๔ สกุล แบงยอยออกเปน ๑๗๖ ชนิด โดยแยก
ออกเปนงูพิษรายแรง ๙ สกุล
๒.๑ งูแสมรัง ๒.๒ งูคอออน ๒.๓ งูชายธง ( งูทะเล )
๒.๔ งูเหา ๒.๕ งูจงอาง ๒.๖ งูแมวเซา
๒.๗ งูสามเหลี่ยม ๒.๘ งูกะปะ ๒.๙ งูเขียวหางไหม
๓. รูปราง ลักษณะ นิสัย ของงูชนิดตางๆและอาการหลังถูกงูกัด
๓.๑ งูทะเล เปนงูที่มีพิษประเภททําลายกลามเนื้อ ชอบอาศัย และหากินอยูตามปาชายเลน ผู
ที่ถูกกัดสวนมากจะเปนชาวประมง และจะเสียชีวิตในเวลาตอมา เพราะไมมีเซรุมที่จะใชรักษาพยาบาล
ลักษณะที่เห็นไดเดนชัดของงูทะเลคือ หัวเล็ก กลางลําตัวใหญยาว หางจะมีลักษณะเหมือนใบพาย

งูสมิงทะเลปากเหลือง (Laticaudacolubrine)
๑๗๕

๓.๒ งูบก
๓.๒.๑ งูเหา เปนงูที่มีพิษรายแรงที่สุดของงู ในแถบเอเชีย เปนงูประเภททําลาย
ประสาท มี ๒ ประเภท ๘ ชนิด คือ
๓.๒.๑.๑ ประเภทงูเหาใหญ ไดแก เหาไทย เหาแวน เหาอานมา เหาสีนวล งู
๔ ชนิดนี้ เปนงูเหามีพิษ แตไมพนพิษ โตเต็มที่จะมีขนาดยาว ประมาณ ๒ เมตร มีน้ําพิษประมาณ ๑๒๐
มิลลิกรัม ชอบอาศัยอยูตามทองนา ในรูหนู กินหนูเปนอาหาร กินงูตัวเล็กๆ เปน อาหาร หากินอาหาร
ตอนกลางวัน และพลบค่ํา ออกลูกเปนไข ครั้งละ ๒๐ -๓๕ ฟอง
๓.๒.๑.๒ประเภทงูเหาพนพิษ ไดแกเหาดํา เหาดาง เหาอีสาน เหาสีทอง เปน

งูเหาไทย - Naja naja kaouthia Lesson. ๑๘๓๑

งูเหาประเภทพนพิษ ขนาดโตเต็มที่ยาวประมาณ ๑๒๐ ซม. ชอบอาศัยอยูตามจอมปลวก หรือพื้นที่ดอน


ชอบกินหนูเปนอาหาร สามารถพนพิษไดไกล ๑.๕ – ๒ เมตร ปลายเขี้ยวดานนอกจะมีรูปลอยน้ําพิษ

งูเหาอีสานพนพิษ - Naja naja isanensis (Nutphand), ๑๙๘๐, New sp.

ขอแตกตางระหวางงูเหาใหญกับงูเหาพนพิษ งูเหาใหญ เมื่อแผแมเบี้ย ขางหลังจะมีรุปวงกลมสี


ขาว ลักษณะคลายดอกจันทร หรือรูปอานมา สวนงูเหาพนพิษ เมื่อแผแมเบี้ย ขางหลังจะมีรูปเหมือน
เครื่องหมายการบินไทย สามารถพนพิษออกมาจากปลายเขี้ยวได และตัวจะเล็กกวางูเหาใหญ
๑๗๖

อาการเมื่อถูกงูเหากัด เมื่อถูกงูเหากัด บริเวณที่ถูกกัดจะเห็นเปนรอยเขี้ยวไดเดนชัด มีอาการ


บวมเล็กนอย คอแหง กลืนน้ําลายลําบาก พูดจาออแอ แนนหนาอก หนังตาตกเล็กนอย งวงนอน
รางกายก็จะคอยๆ เปนอัมพาต และหัวใจวายในที่สุด
๓.๒.๒ งูจงอาง เปนงูพิษที่ใหญที่สุดในโลก เปนงูพิษประเภทงูทําลายปราสาท
เหมือนกับงูเหา เปนงูที่ฉลาด นิสัยดุราย โตเต็มที่ จะยาวประมาณ ๖ เมตร สามารถชูคอแผแมเบี้ยไดสูง
๑ ใน ๓ ของความยาวลําตัว มีพิษออนกวางูเหา ๑๐ เทา แตถางูเหา หรืองูจงอางกัดผูใด ผูที่ถูกงูจงอาง
กัดจะตายเร็วกวาผูที่ถูกงูเหากัด ๑๐ เทา เพราะปริมาณพิษของงูจงอางนั้นมากกวางูเหา และการปฐม
พยาบาลเบื้องตนกระทําไดยาก เพราะงูจงอางาอาจจะกัดสูง ลักษณะของงูจงอางที่อาจจะเห็นไดชัดคือ
จะปราดเปรียว วองไว หัวโต ตาโต ที่หัวมีเกล็ดบานใหญ มีรอยแตกเหมือนผลนอยหนา ชอบหากิน
กลางวัน ตอนเชา และพลบค่ํา อาหารที่ชอบกินคือ ตะกวด กระตาย และงูที่เล็กกวา ชอบอาศัยอยูตาม
ปา เขาสูง ในโพรงตนไม เมื่อผสมพันธุแลว จะออกไข ครั้งละ ๒๐ – ๓๕ ฟอง ไขมีลักษณะสีเหลืองอม
ชมพู งูจงอางจะฟกไข โดยจะวางไวใตคาง ใชเวลาฟกไขประมาณ ๙๐ วัน จึงออกเปนตัว

งูจงอาง - Ophiophagus hannah (Cantor)


๑๗๗

๓.๒.๓ งูแมวเซา เปนงูประเภทพิษทําลายระบบโลหิต หากินเวลากลางคืน ชอบกินหนู


กบ เขียด งูที่เล็กกวาเปนอาหาร ปราดเปรียว วองไว ฉกไว กัดไว ลักษณะเปนรูปสามเหลี่ยมฐานแคบ
เมื่อถูกรบกวนจะขูเหมือนแมว ลําตัวอวนสั้น สีน้ําตาลอมแดง กลางคืนชอบหากินตามพื้นดิน กลางวัน
ชอบขดตัวอยูตามขอนไม ในรูโพรงไม
อาการเมื่อถูกงูแมวเซากัด จะเปนอาการทางโลหิต บริเวณที่ถูกกัดจะมีเลือดไหลออกมา บวม

งูแมวเซา - Daboia russellii siamensis M, Smith, ๑๙๔๓

แดง มีเลือดออกตามไรฟน อาเจียนเปนเลือด เลือดกําดาวไหล อุจจาระ ปสสาวะเปนเลือด และสุดทาย


เลือดจะออกตามรูขุมขน แลวไตจะวาย และเสียชีวิตในที่สุด
๓.๒.๔ งูสามเหลี่ยม เปนงูประเภทพิษรวม มีดวยกัน ๕ ชนิด ไดแก
๓.๒.๔.๑ งูสามเหลี่ยมใหญทับทางเหลือง ภาคอีสาน มีลักษณะลําตัวเปน
สามเหลี่ยม ลายเหลืองดําตัดขวาง ลําตัวโตเต็มที่ จะยาวประมาณ ๑๘๐ เซนติเมตร เปนงูประเภทพิษ ๒
ทาง เปนงูตาดํา หากินกลางคืน ในเวลากลางคืนจะมีลักษณะปราดเปรียว วองไว แตกลางวันจะเซื่องซึม
ชอบกินกบ เขียด หนู งูน้ําเปนอาหาร มักอาศัยอยูตามลุมใกลแหลงน้ํา เมื่องูชนิดนี้กัด จะมีอาการของ
พิษเหมือนถูกงูเหากัด แตผูถูกงูกัดจะตายเพราะปวดชองทอง เนื่องจากโลหิตตกใน คืออาการของพิษ
ทางโลหิต งูชนิดนี้จะชุกชุมมากที่ จังหวัดอยุธยา จังหวัดอางทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดนครนายก

งูสามเหลี่ยมทับทางเหลือง –Bungarusfasciatus, Schneider, ๑๘๐๑


๑๗๘

๓.๒.๔.๒ งูสามเหลี่ยมทับทางขาว หรือทับสมิงคลา มีลักษณะลายดํากับขาว


พาดขวางกลางลําตัว ยาวประมาณ ๘๐ เซนติเมตร ปราดเปรียว วองไวมาก ลักษณะหัวตาจะเหมือนกับ
สามเหลี่ยมใหญ แตพิษจะแรงกวา ชอบอาศัยอยูใกลปาชายเลน มีชุกชุมในแถบภาคใต

งูสามเหลี่ยมทับทางขาว- Bungarus candidus, Linnaeus

งูสามเหลี่ยมหัวหางแดง - Bungarus flaviceps, Reinhardt

๓.๒.๔.๓ งูสามเหลี่ยมหัวแดง เปนงูสามเหลี่ยมอีกชนิดหนึ่ง ที่มีสีสวยงามมาก


ชวงหัว และทอนหางจะแดง ลําตัวดําอมเทา ตาดํา วองไวมาก มีชุกชุมทางใต แถบในปาชายเลน
๓.๒.๔.๔ งูพริกทองแดงลักษณะคลายๆ กับงูสามเหลี่ยมหัวหางแดงแตลําตัว
จะเล็กกวา ลําตัวกลมทองแดง มีสีสวย มีลักษณะเหมือนงูสามเหลี่ยมชนิดอื่น คือ หัวเล็ก ตาดํากลม จะ
มีพิษออนกวางูสามเหลี่ยมใหญทับทางเหลือง

งูพริกทองแดง -Maiicola bivirgata flaviceps, Cantor

๓.๒.๔.๕ งูปลองหวาย มีลักษณะทั่วไปเหมือนงูสามเหลี่ยมชนิดอื่น หัวเล็ก ตา


ดําเหมือนงูปลองหวาย ลําตัวจะกลมเล็กยาวกวางูพิษทองแดง

งูปลองหวาย - Calliophis maculiceps smithii Klemmer,


๑๗๙

๓.๒.๕งูกะปะ เปนงูประเภทพิษทางโลหิต ลําตัวยาวไมเกิน ๗๐ เซนติเมตร หัวเล็กรูปสามเหลี่ยมฐาน


แคบ มีรอยเสนสีเหลืองขางแกมใตตา ขางละ ๑ เสน ลําตัวสีขาวตาอมดํา บริเวณสันหลังติดลําตัวเปน
ลายมุมสามเหลี่ยมคว่ําลงขางลําตัวทั้งสองขาง งูชนิดนี้สามารถทําตัวใหแบนได ชอบอาศัยตามพื้นที่เปน
ทราย มีชุกชุมตามแทบจังหวัดชายทะเลแทบทุกภาคของประเทศไทย เปนงูที่หากินเวลากลางคืน เมื่อถูก
กัดอาการถูกกัดใตผิวหนังจะเปนรอยโลหิตช้ําๆทั่วรางกาย เมื่อรักษาหายจากอาการพิษแลว ๑๐๐%
บริเวณที่ถูกกัดเซลลจะตาย ตองตัดทิ้ง ถาไมตัดทิ้งกลามเนื้อจะเนาลุกลามไปเรื่อยๆ การสืบพันธุงูชนิดนี้

งูกะปะ - Agkistrodon rhodostoma, Boie


จะออกลูกเปนตัว
๓.๒.๖งูเขียวหางไหม เปนงูประเภทพิษทางโลหิต ที่มีพิษออนที่สุดในบรรดางูพิษ
รายแรงในประเทศไทย เปนงูที่หากินเวลากลางคืน มีตาลักษณะเหมือนตาแมว กัดไว ฉกไว ชอบอาศัย
อยูตามคบไม ที่มีพุมสีเขียวในเวลากลางวัน และในเวลากลางคืนจะออกหากินตามพื้นดิน กินหนู กบ
เขียด แมลงเปนอาหาร อาการหลังถูกกัด จะมีอาการปวดบวมมาก

งูเขียวหางไหม –Trimeresurus erythrurus (Cantor),

๔.การปฏิบัติเมื่อถูกงูมีพษิ รายแรงกัด
ใหตรวจดูบาดแผลที่ถูกกัดวาเปนงูมีพิษหรือวาไมมีพิษกัด ถาเปนงูมีพิษรายแรง ใหทําการปฐม
พยาบาลเบื้องตน โดยใชผา หรือใชเชือกรัดเหนือบาดแผลกับหัวใจใหแนนพอประมาณ แลวนําคนปวย
สงโรงพยาบาลใหเร็วที่สุด ที่มีเซรุม อยาใชของมีคมเปดปากแผล อยาใชปากดูดแผลแบบโบราณ แลว
ผูปวยจะปลอดภัย
๑๘๐

๕.ชนิดนี้และประโยชนของงูพิษ
๕.๑ชนิดของงูพิษ พิษงูในประเทศไทยมีอยู ๓ ชนิดคือ
๕.๑.๑ พิษที่ทําลายระบบกลามเนื้อ เปนพิษของงูทะเล
๕.๑.๒ พิษที่ทําลายระบบโลหิต เชน งูแมวเซา งูกะปะ งูเขียวหางไหม
๕.๑.๓ พิษที่ทําลายระบบปราสาท เชน งูจงอาง งูเหา
๕.๒ ประโยชนของพิษงู
๕.๒.๑ พิษชวยยอยอาหาร
๕.๒.๒ หลอเลี้ยงรางกาย
๕.๒.๓ เอาพิษงูมาทําเซรุม
๖. ลักษณะของตางู แบงออกเปน ๓ ประเภท
๖.๑งูตาแมว ชอบหากินเวลากลางคืน ชอบหากินตามพื้นดิน ไดแก งูแมวเซา งูกะปะ งูเขียวหาง
ไหม

๖.๒ งูตาดํา ชอบหากินเวลากลางคืน ชอบหากินตามพื้นดิน และบาตนไม ไดแก งูสามเหลี่ยม งู


ปลองทอง

๖.๓ งูตากลมเหมือนตาคน ชอบหากินเวลากลางวัน และตอนพลบค่ํา ไดแก งูจงอาง งูเหา


๑๘๑

๗. ขอแตกตางระหวางงูพิษทางปราสาท และงูพิษทางโลหิต
๗.๑ ลักษณะของเขี้ยวพิษ
๗.๑.๑ ลักษณะของเขี้ยวงูประเภทพิษทางโลหิต ลักษณะจะนอนราบไปกับขากรรไกร
สวนบนเนื้องูตอนยังไมอาปาก และเมื่องูอาปากเขี้ยวพิษจึงจะโผลออกมา

๗.๑.๒ ลักษณะของเขี้ยวพิษทางปราสาทจะเปนเขี้ยวตายไมนอนราบไปกับขากรรไกร
สวนบนเปนเขี้ยวพิษที่ไมยาวเหมือนกับงูพิษทางโลหิต แตจะมีลักษณะสั้น และแข็งแรงมาก
๑๘๒

๘. การจับงูและเทคนิคการจับงู
๘.๑ การจับงู ใหสังเกตลักษณะของงูดวย ถางูเลื้อยในลักษณะนอนยาวไปกับพื้นดิน โอกาสที่งู
จะกัดนั้นไมมี เพราะงูไมมีจังหวะฉกกัด แตถางูขดตัวอยูไมควรจับ เพราะงูสามารถฉกกัดได ถางูทอดตัว
ยาวไปกับพื้นใหจับได ในลักษณะมือคว่ําขนานไปกับลําตัวของงู โดยจับบริเวณสะดือของงูและจับยกขึ้น
โดยใหหลังของงูนั้นอยูขางหนาคนจับ เมื่องูถูกยกขึ้นจะไมสามารถฉกกัดได เพราะงูไมมีจังหวะในการฉก
กัด และกอนการจับทุกครั้ง สายตาจะตองมอง และสังเกตที่หัวงูตลอดเวลา อยาประมาท เพราะการจับ
งูนั้น โอกาสที่งูกัดนั้นแทบไมมี ถางูไมเจ็บจริงๆจะไมกัด

การประเภทของงูตามลักษณะที่จะจับ แบงได ๓ ประเภท คือ


- งูชนิดที่ใชกําลัง ไดแก งูเหลือม งูหลาม
งูประเภทตัวแข็งมีแมเบี้ย ไดแก งูจงอาง งูกะปะ งูเหา งูสามเหลี่ยม
- งูประเภทตัวออน ไดแก งูแมวเซา งูกะปะ งูเขียวหางไหม
วิธีการจับงู
วิธีการจับงูประเภทใชกําลัง ไดแก งูเหลือม งูหลาม
- อยาจับคนเดียว ควรมีผูอื่นรวมรูเห็นอยูในเหตุการณดวย เพราะถาเกิดถูกงูกัดจะ
ไดชวยไดทัน
- พยายามจับงูขางหลัง โดยใชอีกคนอยูขางหนางู เพราะงูจะไมสนใจขางหลัง
การจับใหจับชอนใตคาง แลวใหรีบใชมืออีกขางหนึ่ง รูดลําตัวมาจับที่หาง แลวใชเทาเหยียบลําตัวไวกันงู
กัด แลวจะปลอดภัย
๑๘๓

วิธีการจับงูประเภทตัวแข็ง
งูเหา เปนงูที่สามารถแผแมเบี้ยได การจับงูชนิดนี้เมื่อแผแมเบี้ยจะมองตรงๆ มองขางหลังไมเห็น
การจับใหจับขางหนา หรือขางหลัง การจับขางหนา เมื่องูแผแมเบี้ย พยายามลอโดยใชเทาขยับขึ้นลง ให
งูมอง เมื่อรูวาเราไมทําอะไรจะแผแมเบี้ยนิ่ง เมื่อนิ่งใหใชปลายนิ้วแตะที่หัวงูคอยๆกดลงเรื่อยๆ อยาฝนงู
กดลงจนถึงพื้น แลวใหใชนิ้วมืออีกขางหนึ่งกดหัวงูไว แลวบิดมืออีกขางหนึ่งกดหัวงูไว แลวบิดมืออีกขาง
หนึ่งจับที่คองูยกขึ้น แลวรูดมืออีกขางหนึ่งจับที่หาง การจับงูครั้งนั้นก็จะปลอดภัย และถูกตอง
การจับงูยกขึ้นขณะที่งูแผแมเบี้ย เมื่องูนิ่งใหใชมืออีกขางหนึ่งไปจับที่บริเวณลําตัว ใหหางหัวงู
ประมาณ ๑ ฟุต โดยการแตะงูใหรับรูกอนแลวยกขึ้นแบบแผวเบา งูจะไมรูสึก เมื่อถูกงูจับยกขึ้นจะฉกกัด
ไมได เหมือนนักมวยที่ไมมีฐานการ๑ยืนที่มั่นคงที่จะชกมวย

การจับงูประเภทตัวออน ใหใชเครื่องมือชวย เชน บวงคลองคอ ใชไมงามกดหัวแลวจับ หามจับ


ประคองดวยมือเปลา เพราะงูประเภทนี้กัดไว ไมมีทิศทาง ตกใจงาย
๘.๒ เทคนิคการจับงู
- การจับงูจะตองใชวิธีการที่นิ่มนวล โดยไมใหงูรูสึกเวลาจับ
- ใชการเตือนครั้งแรก ใหงูรับรูกอนจับ โดยใชการสัมผัสเบาๆ
- อยารีบรอนในการจับงู
- อยาจับงูในที่มืด และรกทึบ นิสัยของงูชนิดนั้นๆเสียกอน
- กอนจับงูตองรูรูปราง ลักษณะ นิสัย ของงูนั้น ๆ
๑๘๔

๙. สรุป
- งูในประเทศไทยทุกชนิดสามารถนํามาใชเปนอาหารได
- งูมีประโยชนตอเกษตรกรของเมืองไทย เพราะงูสวนมากจะกินหนูเปนอาหาร
- สามารถนําพิษมาผลิตเปนเซรุมแกพิษงูได
- การเรียนรูเรื่องงูจะมีประโยชนมาก อยางนอยความสบายใจจะเกิดขึ้น ทําใหผูที่ไดเรียนรูมี
ความเขาใจ มีความคุนเคยเกี่ยวกับงูยิ่งขึ้น และชวยลดความหวาดกลัว เพราะถาเราไมเรียนรูเรื่องงูเมื่อ
ถูกงูพิษกัดอาจทําใหเสียชีวิตได หรืออาจหัวใจวายจนช็อก เพราะความหวาดกลัว หรืออาจการทําปฐม
พยาบาลไมถูกวิธี ก็อาจทําใหเสียชีวิตได

You might also like