Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

ชนิดป่า

ของประเทศไทย
ป่าไม่ผล ัดใบ (Evergreen Forest)

ป่าประเภทนี้ มีเรือนยอดทีด
่ เู ขียวชอุม
่ ตลอดปี เนือ
่ งจากต้นไม้
แทบทงหมดที
ั้ ข ่ น ้ื อย่างไร
่ ป่าดิบชน
ึ้ เป็นประเภทไม่ผล ัดใบ เชน
ก็ตาม จะพบไม้ตน
้ ผล ัดใบขึน ั้ อนยอดทีเ่ ขียวชอุม
้ แทรก ในชนเรื ่
อยูบ ้ อยูก
่ า้ ง ขึน ่ ับดินฟ้าอากาศและความชุม ื้ ในดิน พืน
่ ชน ้ ทีใ่ ด
ทีม
่ ค
ี วามชุม ื้ ไม่สมํา่ เสมอตลอดปี หรือมีชว
่ ชน ่ งฤดูแล้งนาน จะพบ
ไม้ตน
้ ผล ัดใบ ขึน ั้ อนยอดมากขึน
้ ปะปนกระจายอยูใ่ นชนเรื ่
้ เชน
ป่าดิบแล้ง แต่กล่าวโดยรวมแล้ว เรือนยอดของป่าดิบแล้งย ังคง
ปรากฏเป็นสเี ขียวต่อเนือ
่ งตลอดทงปี
ั้ ป่าไม่ผล ัดใบในประเทศไทย
จําแนกออกเป็นชนิดใหญ่ๆ ได้ 14 ชนิด ด ังนี้

ทีม ั สน
่ า : ธวัชชย ั ติสข
ุ ,สํานักหอพรรณไม ้ กรมอุทยานแห่งชาติ สต
ั ว์ป่าและพันธุพ
์ ช
ื , 2549
ป่าไม่ผล ัดใบในประเทศไทย

ื้ (Tropical Evergreen Rain Forest หรือ Tropical Rain Forest)


1. ป่าดิบชน
2. ป่าดิบแล้ง (Seasonal Rain Forest หรือ Semi-Evergreen Forest หรือ
Dry Evergreen Forest)
3. ป่าดิบเขาตํา่ (Lower Montane Rain Forest)
4. ป่าไม้กอ
่ (Lower Montane Oak Forest)
5. ป่าไม้กอ
่ -ไม้สน (Lower Montane Pine-Oak Forest)
6. ป่าไม้สนเขา (Lower Montane Coniferous Forest)
7. ป่าละเมาะเขาตํา่ (Lower Montane Scrub)

ทีม ั สน
่ า : ธวัชชย ั ติสข
ุ , สํานักหอพรรณไม ้ กรมอุทยานแห่งชาติ สต
ั ว์ป่าและพันธุพ
์ ช
ื , 2549
ป่าไม่ผล ัดใบในประเทศไทย

8. ป่าดิบเขาสูงหรือป่าเมฆ (Upper Montane Rain Forest หรือ Cloud Forest)


9. ป่าละเมาะเขาสูง (Upper Montane Scrub)
10. อ่างพรุภเู ขา (Montane Peat Bog หรือ Sphagnum Bog)
11. ป่าชายเลนหรือป่าโกงกาง (Mangrove Forest)
12. ป่าพรุ (Peat Swamp Forest)
13. ป่าบึงนํา้ จืด หรือป่าบุง
่ -ทาม (Freshwater Swamp Forest)

14. สงคมพื
ชชายหาด (Strand Vegetation) ตามหาดทราย (Sand Strand)
และโขดหิน (Rock Strand)

ทีม ั สน
่ า : ธวัชชย ั ติสข
ุ , สํานักหอพรรณไม ้ กรมอุทยานแห่งชาติ สต
ั ว์ป่าและพันธุพ
์ ช
ื , 2549
ป่าผล ัดใบ (Deciduous Forest)

ป่าผล ัดใบ เป็นป่าไม้ทผ


ี่ ล ัดใบตามฤดูกาล (seasonal) พบทว่ ั ไปทุกภาค ทีม
่ ช ่ ง
ี ว

ฤดูแล้งยาวนานชดเจน ระหว่าง 4-7 เดือน ยกเว้นภาคใต้และภาคตะว ันออกเฉียงใต้
(จ ันทบุร-ี ตราด) เมือ
่ ถึงฤดูแล้งทีม
่ ป
ี ริมาณความชุม ื้ ในดินและบรรยากาศลดลง
่ ชน
่ น
อย่างมาก ต้นไม้ในป่าประเภทนี้ จะผล ัดใบร่วงลงสูพ ้ื ดิน และเตรียมผลิใบอ่อน
้ มาใหม่ เมือ
ขึน ่ ถึงต้นฤดูฝนหรือเมือ
่ ป่ามีความชุม ื้ มากขึน
่ ชน ้ พืชพรรณในป่าผล ัดใบ
สว่ นใหญ่เป็นพรรณไม้ผล ัดใบ (deciduous species) แทบทงส ิ้ ป่าผล ัดใบในชว
ั้ น ่ ง
ฤดูฝน มีเรือนยอดเขียวชอุม ่ เดียวก ับป่าไม่ผล ัดใบฤดูแล้ง (มกราคม-มีนาคม)
่ เชน
้ ป่าทําให้เกิดไฟป่าลุกลามในป่าผล ัดใบได้งา่ ยแทบทุกปี
ใบไม้แห้งจะกองท ับถมบนพืน
้ ทว่ ั ไปบนทีร่ าบเชงิ เขาและบนภูเขาสูงทีไ่ ม่เกินระด ับ 1,000 เมตร
ป่าผล ัดใบขึน
(ยกเว้นป่าเต็งร ัง-ไม้สน) จําแนกออกเป็น 3 ชนิด ด ังนี้

ทีม ั สน
่ า : ธวัชชย ั ติสข
ุ , สํานักหอพรรณไม ้ กรมอุทยานแห่งชาติ สต
ั ว์ป่าและพันธุพ
์ ช
ื , 2549
ป่าผล ัดใบในประเทศไทย

1. ป่าเบญจพรรณหรือป่าผล ัดใบผสม (Mixed Deciduous Forest)


2. ป่าเต็งร ัง (Deciduous Dipterocarp Forest หรือ Dry Dipterocarp Forest)
3. ป่าเต็งร ัง-ไม้สน (Pine-Deciduous Dipterocarp Forest)

ทีม ั สน
่ า : ธวัชชย ั ติสข
ุ , สํานักหอพรรณไม ้ กรมอุทยานแห่งชาติ สต
ั ว์ป่าและพันธุพ
์ ช
ื , 2549
้ ที่
การแบ่งประเภทพืน
จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมในปี พ.ศ. 2543

ื้ (Tropical Evergreen Forest)


1. ป่าดิบชน

2. ป่าดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest)

3. ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest)

4. ป่าสนเขา (Pine Forest)

5. ป่าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest)

6. ป่าเต็งร ัง (Dry Dipterocarp Forest)

7. ป่าฟื้ นฟูตามธรรมชาติ (Regrowth Forest)

8. ป่าไผ่ (Bamboo)
้ ที่
การแบ่งประเภทพืน
จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมในปี พ.ศ. 2543

9. ป่าพรุ (Peat Swamp Forest)


10. ป่าบุง
่ -ทาม (Freshwater Swamp Forest)
11. ป่าชายเลน (Mangrove Forest)
12. ป่าชายหาด (Beach Forest)
13. ทุง
่ หญ้า (Pasture)
14. ไร้รา้ ง (Old Clearing)
15. สวนยูคาลิปต ัส (Eucalyptus Plantation)
ั (Teak Plantation)
16. สวนสก
้ ทีอ
17. พืน ่ น ่ เกษตรกรรม เมือง ลานหิน ฯลฯ
ื่ ๆ (Others) เชน
การแบ่งประเภทพืน ้ ที่
ํ รวจทร ัพยากรป่าไม้ของประเทศไทย
ในการสา

ื้ (Tropical Evergreen Forest)


1. ป่าดิบชน

2. ป่าดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest)

3. ป่าดิบเขา (Hill Evergreen Forest)

4. ป่าสนเขา (Pine Forest)

5. ป่าพรุ (Peat Swamp Forest)

6. ป่าชายเลน (Mangrove Forest)

7. ป่าบึงนํา้ จืด หรือ ป่าบุง


่ -ทาม (Freshwater Swamp Forest)

8. ป่าชายหาด (Beach Forest)


การแบ่งประเภทพืน ้ ที่
ํ รวจทร ัพยากรป่าไม้ของประเทศไทย
ในการสา

9. ป่าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous Forest)

10. ป่าเต็งร ัง (Dry Dipterocarp Forest)

11. ทุง
่ หญ้า (Pasture)

12. สวนป่าต่างๆ (Plantation)

13. ไร้รา้ ง (Old Clearing)

้ ทีเ่ กษตรกรรม (Agriculture)


14. พืน

้ ทีอ
15. พืน ่ น ่ เมือง ลานหิน ฯลฯ
ื่ ๆ (Others) เชน
ํ รวจทร ัพยากรป่าไม้
การสา
ของประเทศไทย

่ สํารวจทรัพยากรป่ าไม ้
กลุม สว่ นสํารวจและวิเคราะห์ทรัพยากรป่ าไม ้
สํานั กฟื้ นฟูและพัฒนาพืน
้ ทีอ
่ นุรักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สต ั ว์ป่า และพันธุพ
์ ชื

You might also like