Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 17

วัตถุประสงค์

 เพือเรียนรู้และฝึ กฝนการเขียนแผนผังวัตถุอสิ ระสําหรับแรงทีกระทําต่ อวัตถุเกร็ง


 เพือประยุกต์ ใช้ กฎการเคลือนทีข้อที 1ของนิวตัน สํ าหรับแก้ปัญหาสมดุลของวัตถุเกร็ง
 นักศึกษาสามารถประยุกต์ ใช้ องค์ความรู้เพือแก้ปัญหาสมดุลของวัตถุเกร็งรูปแบบต่ างๆได้

เนือหารายวิชา
 เงือนไขสมดุลสํ าหรับวัตถุเกร็ง
 การเขียนแผนผังวัตถุอสิ ระ
 การวิเคราะห์ ปัญหาสมดุลของวัตถุเกร็งในรูปแบบต่ างๆ

ผศ.อดุลย์ พัฒนภักดี
สมดุลของวัตถุเกร็ง

จากบททีผ่านมา เราพบว่าระบบของแรงภายนอกทีกระทําต่อวัตถุเกร็ งสามารถลดรู ปเป็ น


ระบบทีมีแรงลัพธ์เพียงหนึ งแรงกับหนึ งโมเมนต์ของแรงคู่ควบ ณ จุดใด ๆ ทีต้องการได้
และเมือแรงลัพธ์และโมเมนต์ของแรงคู่ควบดังกล่าวมี ค่าเท่ากับศูนย์ทงคู
ั ่ แสดงว่าวัตถุ
เกร็ งนันอยูใ่ นสภาวะสมดุล

ถ้าเราแยกพิจารณาแต่ละแนวแกน สําหรับระบบพิกดั ฉาก 3 มิติ เราจะได้เงือนไขของ


สมดุลสําหรับวัคถุเกร็ งเป็ น

ผศ.อดุลย์ พัฒนภักดี
แผนผังวัตถุอสิ ระ
แผนผังวัตถุอิสระ(Free Body Diagram)เป็ นแผนผังทีเขียนเฉพาะโครงร่ างของวัตถุเกร็ง โดย
ถือว่าโครงร่ างของวัตถุเกร็ งเป็ นอิสระแยกออกจากสิ งแวดล้อมหรื อส่ วนอืน ๆ ของระบบ ใน
แผนผังวัตถุอิสระจําเป็ นทีจะต้องแสดงแรงทุกแรง โมเมนต์ทุกโมเมนต์ทีกระทําต่อวัตถุเกร็ ง

ผศ.อดุลย์ พัฒนภักดี
แรงปฏิกริ ิยาทีจุดรองรับและส่ วนต่ อสํ าหรั บโครงสร้ าง 2 มิติ

ล้อ คันโยก ผิวเรียบลื่น


แรงปฏิกิริยาทีจุดรองรั บที
ทราบแนวแรงการกระทํา
แต่ ไม่ ทราบขนาด แรง
ปฏิ กิ ริ ยาที จุ ด รองรั บ ที
เกิ ดขึ นจะป้ องกั น การ
เ ค ลื อ น ที ไ ด้ ใ น ห นึ ง
ทิศทางเท่านัน ดังนัน แรง
ปลอก หมุด
ป ฏิ กิ ริ ย า ที จุ ด ร อ ง รั บ
สํ า หรั บ กลุ่ ม นี จะมี แ รงที
ไม่ ทราบค่ าเพียง 1 แรง
ดังแสดงในรู ป

ผศ.อดุลย์ พัฒนภักดี
แรงปฏิกริ ิยาทีจุดรองรับและส่ วนต่ อสํ าหรับโครงสร้ าง 2 มิติ

แรงปฏิกิริยาทีจุดรองรับทีไม่ ทราบแนวแรงการกระทําและไม่ ทราบขนาด แรงปฏิกิริยาทีจุดรองรับที


เกิดขึนจะป้ องกันการเคลือนทีในแนวเชิงเส้นทุกทิศทาง แต่ไม่ป้องกันการหมุน ดังนันแรงปฏิกิริยาที
จุดรองรับสํ าหรับกลุ่มนีจะมีแรงไม่ทราบค่ า 2 แรง ซึงจะแยกเป็ นแรงปฏิกิริยาทีไม่ทราบค่าในแนวแกน
x และแกน y

ผศ.อดุลย์ พัฒนภักดี
แรงปฏิกริ ิยาทีจุดรองรับและส่ วนต่ อสํ าหรับโครงสร้ าง 2 มิติ

แรงปฏิกิริยาทีจุดรองรับทีไม่ ทราบขนาดและทิศทางของแรงและไม่ ทราบโมเมนต์ แรงปฏิกิริยากลุ่มนี


จะเกิดขึนกับจุดรองรับและส่ วนต่อทีเป็ นแบบฝังแน่น (Fixed Support) ซึ งจุดรองรับแบบฝั งแน่ นจะ
ป้ องกัน การเคลื อนที ทุก ทิ ศทางและขณะเดี ย วกัน ก็ป้ องกันการหมุ นด้ วย แรงปฏิ กิริยาทีจุ ดรองรั บ
สํ าหรับกลุ่มนีจะมีตัวไม่ทราบค่ า 3 ตัว ซึงจะแยกเป็ นแรงปฏิกิริยาทีไม่ ทราบค่ าในแนว แกน x แกน y
และโมเมนต์

ผศ.อดุลย์ พัฒนภักดี
ตัวอย่ าง4.1 ปั นจันมีมวล 1000 kg และมีจุดศูนย์ถ่วงของ
ปั นจันอยู่ทีจุด G ดังรู ป โดยทีปั นจันถูกยึดอยูก่ บั ทีด้วยหมุด
ที A และตัวโยก (Rocker) ที B ถ้าปั นจันถูกใช้สําหรับยก
กล่องมวล 2,400 kg จงพิจารณาหาแรงปฏิกิริยาที A และ B

วิธีทาํ เขียนแผนผังวัตถุอิสระของปันจัน
W  2400(9.81)  23,544N
M A  0; 1.5 B  2(9,810)  6(23,544)  0
B  107.26 kN
Fx  0; Ax  B  0

A x   B  107.26 kN

Fy  0; A y  9810  23544  0


A y =33.4 kN

A = 107.262  33.42 =112.3 kN


 33.4  
 = tan -1    17.3
 107.26 
ผศ.อดุลย์ พัฒนภักดี
W1 โจทย์ ท้ายบท4.1 รถแทรกเตอร์ มวล 856 kg
W2
ใช้สาํ หรับตักของมวล 367 kg ดังแสดงในรู ป
จงหาแรงปฏิ กิริยาทีเกิดขึนทีล้อแต่ละล้อ เมื อ
นําหนักของรถกระทําทีจุดศูนย์ถ่วงของรถที
ตําแหน่ง (G)
วิธีทํา เขียนแผนผังวัตถุอสิ ระของรถแทรกเตอร์
W1  856  9.81  8397.36N
Ay By W2  367  9.81  3600.27

M A  0; (8397.36  0.5)  ( By 1.5)  (3600.27  2.75)  0 By  9399.615 N

Fy  0; Ay  8397.36  9399.615  3600.27  0 Ay  2598.015

แรงปฏิกิริยาทีเกิดขึนทีล้อหลังมีค่าเท่ากับ 2598.015/2 =1299.01N และแรงปฏิกิริยาทีเกิดขึนทีล้อหน้ามี


ค่าเท่ากับ 9399.615/2 = 4699.81N

ผศ.อดุลย์ พัฒนภักดี
โจทย์ ท้ายบท4.2 คานมวลเบามีแรง
กระทําดังแสดงในรู ป จงหาแรงปฏิกริ ิยา
ทีจุดรองรับ A และแรงในสายเคเบิล BC
วิธีทาํ เขียนแผนผังวัตถุอิสระของคาน

Ax

Ay TB

M A  0; (15  2.2)  (20 1.6)  (35  0.8)  (15  0.6)  (TB  0.6)  0
TB  140 N

Fy  0; Ay  15  20  35  20  15  140  0 Ay  245 N

Fx  0; Ax  0 ผศ.อดุลย์ พัฒนภักดี


ตัวอย่ างที 4.2 แรงจํานวน 3 แรงกระทําต่อคาน ดัง
แสดงในรู ป ถ้าจุดรองรับที A เป็ นหมุด และจุด
รองรับที E เป็ นโรลเลอร์ จงหาแรงปฏิกิริยาทีจุด
รองรับ A และ E เมือไม่คิดนําหนักของคาน
วิธีทาํ เขียนแผนผังวัตถุอิสระของคาน
M A  0; ทวน : บวก
ตาม : ลบ
(6  2)  (12  4)  ( E y  6)  (4.5  8)  0

(12)  (48)  6 E y  (36)  0 Ax


E y  16kN

F y  0; ขึ้น : บวก
ลง : ลบ
Ay Ey
Ay  6  12  E y  4.5  0
Ay  6  12  16  4.5  0

Ay  6.5kN

F x  0; Ax  0
ผศ.อดุลย์ พัฒนภักดี
ตัวอย่ างที 4.3 โครงสร้างมวลเบา ใช้สําหรับช่วยยึด
โครงหลังคาของอาคารขนาดเล็ก ดังรู ป ถ้าทราบว่า
แรงดึงในสายเคเบิลเป็ น 150 kN จงพิจารณาหาแรง
ปฏิกิริยาทีปลาย E ซึ งเป็ นจุดรองรับทีฝังแน่น
วิธีทํา เขียนแผนผังวัตถุอสิ ระของโครงสร้ าง
  tan -1
6
 53.13 Fx  0; E X  150 cos   0
4.5
E X  150 cos 53.13  90kN

Fy  0 E y  (4 20) 150sin 53.130  0
E y  200 kN

M E  0; 20(7.2)  20(5.4)  20(3.6)  20(1.8)  M E  (150sin 53.13 )(4.5)  0


M E  180 kNm
ผศ.อดุลย์ พัฒนภักดี
ตัวอย่ าง4.4 สําหรับโครงถัก
มวลเบาทีให้มา จงหาแรง
ปฏิกิริยาทีจุดรองรับ B และจุด
Bx รองรับ C
วิธีทาํ เขียน FBD ของโครงถัก

By Cy

 M B  0; (C y 15.75)  (3, 78012)  0 C y  2,880 N

 Fy  0 ; By  3, 780  C y  0

By  3, 780  2880  0 By  900 N

 Fx  0 ; Bx  0
ตัวอย่ าง4.5 สําหรับโครงถักมวลเบาทีให้ มา จงหาแรงปฏิกริ ิยาทีจุดรองรับ A และจุดรองรับ D

วิธีทาํ เขียน FBD ของโครงถัก

 Fx  0 ; Ax  0

 M A  0;
Ax (10.8 22.5)  (10.857.5)  ( Dy  22.5)  0

(243)  (621)  22.5Dy  0


Ay Dy  38.4kN

 Fy  0 ; Ay  Dy 10.8 10.8  0
Dy
Ay  38.4 10.8 10.8  0

Ay  16.8kN

ผศ.อดุลย์ พัฒนภักดี
โจทย์ท้ายบท4.10 สําหรับโครงสร้างมวลเบาดังรู ป
จงหาแรงในเส้นเชือก ABD และแรงปฏิกิริยาทีจุด
C โดยไม่คาํ นึงผลของแรงเสี ยดทาน
วิธีทาํ เขียนแผนผังวัตถุอิสระของชินส่ วน ACDE
M C  0; (T  0.25)  (T  0.1)  (120  0.1)  0
(0.25  0.1)T  (12)  0 T  80 N

Fy  0; Cy  80  120  0 Cy  40 N
T
Fx  0; Cx  80  0 Cx  80 N
T
 40  
C  40  80  89.44 N
2 2  = tan -1    26.56
 80 

Cx แรงปฏิกิริยาทีจุด C มีค่า 89.44 N ทํามุม 26.56 องศากับ


แนวระดับ และแรงในเส้นเชือกมีค่า 80
Cy
ผศ.อดุลย์ พัฒนภักดี
โจทย์ ท้ายบท 4.15 คาน AD มีแรงขนาด 400 N
จํานวน 2 แรงกระทําดังรู ป โดยทีคานรองรับด้วยเส้น
เชื อก BE และจุดรองรั บแบบฝั งแน่ นในพืนทีจุ ด D
จงพิจารณาหาแรงปฏิกิริยาทีจุด D เมือ w = 900N
วิธีทาํ เขียนแผนผังวัตถุอสิ ระของคาน

T=W M D  0; M  (400  8)  (900  5)  (400  4)  0

M  300 Nm

Fy  0; 400  900  400  Dy  0

Dy  100 N

Fx  0; Dx  0

ผศ.อดุลย์ พัฒนภักดี
โจทย์ท้ายบท 4.16 สําหรับโครงสร้างมวลเบา
ดังรู ป จงหาแรงปฏิกิริยาทีจุดรองรับ A และจุด
รองรับ B เมือระยะ a = 180 mm
วิธีทาํ เขียนแผนผังวัตถุอสิ ระชิ นส่ วน ABC
M B  0; (300  0.24)  ( Ay  0.18)  0 Ay  400 N

Fy  0; Ay  By  0 By   Ay  400 N

Fx  0; Bx  300  0 Bx  300 N

B  3002  4002  500 N


Bx 
400 B
  tan 1  53.13
300
Ay a = 180 mm By
ผศ.อดุลย์ พัฒนภักดี

You might also like