Infographic Style

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 24

• Infographic Style

¡ÒÃÁͧàËç¹
áÅÐ
·ÑȹÍØ»¡Ã³
µÒáÅСÒÃÁͧàËç¹
หลักการมองเห็น คือแสงจากวัตถุหักเหผานเลนสตา (เลนสนูน) แลวเกิดภาพจริงบนเรตินา
สวนประกอบของตา
1. กระจกตา (Cornea) เปนสวนที่อยูหนาสุดของลูกตา มีลักษณะโคงคลายจาน เรียบใส ไมมีสี ทําหนาที่โฟกัส
หักเหแสงจากวัตถุใหเขาในลูกตา
2. เลนสแกวตา (Lens) มีลักษณะใสอยูหลังมานตา ทําหนาที่โฟกัสหักเหแสงเพิ่มขึ้นตอจากกระจกตาเพื่อใหแสงตก
กระทบบนจุดรับภาพของจอประสาทตา
3. มานตา (Iris) มีหลายสีตามเชื้อชาติ ทําหนาที่หดขยายกอใหเกิดรูมานตาที่มีขนาดตางกัน เพื่อชวยในการควบคุม
ปริมาณแสงที่จะเขาตาใหพอดี
4. น้ําวุนตา (Vitreous body) มีลักษณะคลายเจล อยูในชองดานหลังลูกตา ทําหนาที่คงรูปของลูกตาเอาไว
5. จอประสาทตา (Retina) ประกอบดวยเซลลที่รับแสงและเซลลประสาท ทําหนาที่รับภาพเหมือนฟลมถายรูป
อยูบนผนังดานในของลูกตา
6. ตาขาว (Sclera) เปนเสมือนเปลือกนอกของลูกตา ตอกับกระจกตา ทําหนาที่เปนผนังโครงสรางของลูกตา
สําหรับการมองเห็นวัตถุ
1 ……………………………………………………………..

2 ……………………………………………………………..
คนที่มีสายตาปกติ
1................................................................................................................

2................................................................................................................
คนที่มีสายตาสั้น
1................................................................................................................

2................................................................................................................
คนที่มีสายตายาว
1................................................................................................................

2................................................................................................................
ตาบอดสี
ตาบอดสีเกิดจากเซลลประสาทบนเรตินาเกี่ยวกับการมองเห็นสีผิดปกติ
สวนใหญผูชายจะตาบอดสีเนื่องจากกรรมพันธุและตาลอดสีแดงเปนสวนมาก ไม
สามารถแกไขไดและจะถายทอดไปสูลูกหลานตอ ๆ ไป
Ex. เลนสแวนตาสําหรับคนสายตายาวทําหนาที่ตอผูใสแวนนั้นอยางไร
1.ยายวัตถุที่ระยะ 25 ซม. จากตาไปไวระยะใกลสุดที่ตาเปลามองเห็นชัด
2.ยายวัตถุที่ระยะ 25 ซม. จากตาไปไวระยะอนันต
3.ยายวัตถุที่ระยะอนันตมาไวที่ระยะใกลสุดที่ตาเปลามองเห็นชัด
4. ยายวัตถุที่ระยะอนันตมาไวที่ระยะไกลสุดที่ตาเปลามองเห็นชัด
·ÑȹÍØ»¡Ã³
áNj¹¢ÂÒÂ
• แวนขยาย คือ เลนสนูนที่ใชสองดูวัตถุที่
มีขนาดเล็กในระยะใกลเพื่อใหมองเห็นภาพวัตถุซึ่งเปน
ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญกวาวัตถุ โดยวางวัตถุไว
หนาเลนสใหระยะวัตถุนอยกวาความยาวโฟกัส
•เครื่องฉายภาพนิง่ คือ อุปกรณที่มเี ลนสหนากลองเปนเลนสนูน ทําหนาที่หักเหแสงจากวัตถุ(สไลด, แผนฟลม, แผนใส) ทําใหเกิดภาพจริงขนาดขยายปรากฏบนจอ

à¤Ã×èͧ©ÒÂÀÒ¾¹Ôè§
เครื่องฉายภาพนิ่ง คือ อุปกรณที่มีเลนสหนากลองเปนเลนสนูน ทําหนาที่หักเหแสงจากวัตถุ(สไลด, แผนฟลม, แผนใส)
ทําใหเกิดภาพจริงขนาดขยายปรากฏบนจอ
1.กระจกสะทอนแสง ทําดวยโลหะฉาบอะลูมิเนียม ทําหนาที่สะทอนแสงดานหลังของหลอดฉายไปใช
ประโยชนดานหนา
2.หลอดฉาย เปนหลอดไฟขนาดเล็ก มีกําลังการสองสวางสูง เนื่องจากหลอดฉายแผรังสีความรอนสูงมาก
เครื่องฉายภาพทั่วไปจึงมีพัดลมเปาระบายความรอน
3.เลนสรวมแสง เปนเลนสนูนแกมระนาบ 2 อัน หันดานนูนเขาหากัน ทําหนาที่รวมแสงทั้งหมดใหมี
ความเขมสูงผานสไลด และทําใหเกิดภาพจริงของหลอดฉายไปตกตรงจุดศูนยกลางของเลนสภาพ เพื่อมิใหเกิดภาพ
ของหลอดไฟที่จอฉาย
4.เลนสหนากลอง เปนเลนสนูนเดี่ยวหรือหลายอันประกอบกัน เลนสหนากลองมีหนาที่ฉายภาพไปเกิด
ภาพจริงหัวกลับที่จอ ดังนั้นจึงตองใสแผนฟลมสไลด(วัตถุ) กลับหัวลง ตําแหนงวัตถุอยูระหวาง F กับ 2F ของ
เลนสฉายเพื่อใหไดภาพจริง ขนาดขยาย หัวตั้งบนจอ
¡ÅŒÍ§¶‹ÒÂÃÙ»
กลองถายรูป หลักการใหแสงจากวัตถุหักเหผานเลนสนูน แลวเกิดภาพจริงบนฟลมถายรูป

ไดอะเฟรม คือ ชองกลมเปดใหแสงเขา


กลองมากนอยตามขนาดชอง
ชัตเตอร คือ แผนทึบแสงที่ทําหนาที่ปด
เปดใหแสงเขากลองจะเปดเฉพาะตอนที่
ตองการถายภาพ
¡ÅŒÍ§¨ØÅ·ÃÃȹ
กลองจุลทรรศน คือ ทัศนอุปกรณที่ชวยขยายภาพวัตถุเล็ก ๆ เชน เชื้อโรค ใหมีขนาดใหญขึ้น
ทําใหเราสามารถเห็นรายละเอียดไดชัดเจน
กําลังขยายของกลองจุลทรรศน เทากับ กําลังขยายเลนสใกลวัตถุ x กําลังขยายเลนสใกลตา
¡ÅŒÍ§â·Ã·Ñȹ
กลองโทรทัศน คือ ทัศนอุปกรณที่ใชสองดูวัตถุที่อยูไกล ๆใหมีขนาดใหญขึ้น คลายกับวาวัตถุ
นั้นเขามาอยูใกลๆ
กลองโทรทัศนชนิดหักเหแสง
กลองโทรทัศนชนิดสะทอนแสง

กลองจะรับแสงที่เขามากระทบกับกระจกเวาที่อยูทายกลองที่เราเรียกวา Primary Mirror แลวรวมแสงไปกระทบกับกระจก


ระนาบหรือปริซึม เราเรียกวา Secondary Mirror ที่อยูกลางลํากลอง ใหสะทอนเขาสูเลนสใกลตาและขยายภาพอีกทีหนึ่ง

อัตราขยายของกลอง = ความยาวโฟกัสของกระจกเวา / ความยาวโฟกัสของเลนสใกลตา


»ÃÒ¡¯¡Òó·Ò§áʧ
¡ÒáÃШÒÂáʧ, ¡Òôٴ¡Å×¹áʧÊÕ
¡ÒüÊÁÊÒÃÊÕáÅСÒüÊÁáʧÊÕ
¡ÒáÃШÒÂÊÕ
ถาแสงผานตัวกลางที่มีดัชนีหักเหไมเทากัน แลวแสงจะเกิดการหักเหระหวางผิว
ตัวกลางนั้น

“แสงที่มีความยาวคลื่นนอยจะหักเหไดมากกวาแสงที่มีความยาวคลื่นมาก”

You might also like