Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 155

ปฏิบตั ิ การช่วยชีวิตทางยุทธวิธี ขัน้ พืน้ ฐาน

( tactical combat casualty care )


วัตถุประสงค์
สามารถอธิบายหลักการ ขั้นตอนและปฏิบัติการดูแลผู้บาดเจ็บทางยุทธวิธี
(Tactical Combat Casualty Care, TCCC)
1. สามารถดูแลช่วยเหลือผู้บาดเจ็บทางยุทธวิธีได้
2. สามารถดูแลผู้บาดเจ็บระหว่างการปะทะ (Care under fire)
-

เน้นการห้ามเลือดด้วยสายยางรัดห้ามเลือด และการขันชะเนาะแบบแสวงเครื่องได้
ถูกต้อง
3. สามารถอธิบายและปฏิบัติตามขั้นตอนการดูแลในพื้นที่หลังการปะทะ (Tactical
-

Field Care)
4. สามารถอธิบายและปฏิบัติ การส่งกลับทางยุทธวิธี, การลาเลียง และ การคัดแยกผู้บาดเจ็บได้ถูกต้อง
- -
-

2
ความ
รุนแรง เหตุผลสาคัญที่ต้องเรียนรู้
ของการ การดูแลผู้บาดเจ็บทางยุทธวิธี (tccc)
คือ
บาดเจ็บ tccc ช่วยทาให้ผู้บาดเจ็บในสนาม
และการ รบมีชีวิตรอด
เสียชีวิต
-

3
ความแตกต่างของการดูแลก่อนถึง รพ. ระหว่าง ทหาร กับ พลเรือน
❑ การดูแลภายใต้การปะทะ
❑ สภาพแวดล้อมที่เลวร้าย

=
❑ ลักษณะความแตกต่างทางระบาดวิทยาของบาดแผล
❑ เครื่องมืออุปกรณ์ที่จากัด
❑ ความต้องการทางยุทธวิธี
❑ ระยะเวลาการส่งไปยังสถานพยาบาลที่ยาวนาน
❑ การฝึกและประสบการณ์ของนายสิบพยาบาล
4
ความสาคัญของผู้ช่วยเหลือคนแรก ( First Responder; fr )
❑ ประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ ของการเสียชีวิตในสนามรบเกิดขึ้นก่อนที่ผู้บาดเจ็บจะ
-

ไปถึงสถานพยาบาล
-

❑ ชีวิตของผู้บาดเจ็บอยู่ในมือของบุคคลแรกที่เข้าไปให้ความช่วยเหลือ เช่น นาย


-

สิบพยาบาล นายสิบกู้ชีพ หรือ แม้แต่กาลังพลเหล่าอื่นๆที่ไม่ใช่เหล่าแพทย์


❑ เป้าหมายของ TCCC คือ ช่วยกาหนดการรักษาผูบ้ าดเจ็บ ไม่ให้เสียชีวติ จาก
การตายที่สามารถป้องกันได้ ทาให้เขาเหล่านั้นมีชีวิตรอดจนถึง รพ.
❑ การเสียชีวิตส่วนใหญ่เหล่านี้ไม่สามารถที่จะป้องกันได้ ตัวอย่างเช่น การ
-

บาดเจ็บที่ศีรษะอย่างรุนแรง การบาดเจ็บที่ร่างกายอย่างรุนแรง เป็นต้น


5
การจัดการดูแลผู้บาดเจ็บ
❑ ถ้าผู้บาดเจ็บถูกนาส่งไปยัง รพ.พลเรือน หรือ ศูนย์ดูแลผู้บาดเจ็บ
ได้รับการรักษาจากทีมแพทย์ที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุด และ
ทางานภายใต้เงื่อนไขที่สามารถควบคุมได้ อยู่ในพื้นที่ปลอดภัย
❑ ถ้าเป็นการบาดเจ็บในสถานการณ์ทางยุทธวิธี จะเกิดอะไรขึ้น
❑ TCCC จะช่วยนาทางให้เรารู้ว่าเราควรจะทาอย่างไร 48 monster of
-
son

❑ TCCC ช่วยทาให้เกิดสิ่งที่เรียกว่า
“การแพทย์ดี ด้วยเทคนิควิธีการที่ดี”
6
การเสียชีวิตในการรบที่ผ่านมา
❑ เสียชีวิตในการรบ : 31% แผลทะลุที่ศีรษะ
❑ เสียชีวิตในการรบ : 25% บาดแผลฉกรรจ์ที่ลาตัว
❑ เสียชีวิตในการรบ : 10% บาดเจ็บที่ต้องผ่าตัด
❑ เสียชีวิตในการรบ : 9%
-
การตกเลือดจากบาดแผลที่แขน/ขา bleeding
❑ เสียชีวิตในการรบ : 7% แผลอวัยวะฉีกขาดจากการระเบิด
❑ เสียชีวิตในการรบ : 4%
-
แรงดันในช่องเยือ่ หุ้มปอด pneumothorax
❑ เสียชีวิตในการรบ : 2%
-
ปัญหาทางเดินหายใจ air obstruction
❑ เสียชีวิตจากบาดแผล: 5% ส่วนมากจากการติดเชื้อและอาการช็อก แทรกซ้อน
7
❑ การเสียชีวติ ในการรบ อันดับ 1 เสียชีวิตในการรบ :
9% การเสียเลือดจากบาดแผล ที่แขน/ขา

❑ การเสียชีวิตในการรบ อันดับ 2 เสียชีวิตในการรบ :


4% แรงดันในช่องเยื่อหุ้มปอด

❑ การเสียชีวิตในการรบ อันดับ 3 เสียชีวิตในการรบ :


2% ปัญหาทางเดินหายใจ
8
โอกาสรอดชีวิต
-
ผู้บาดเจ็บประมาณ 15 % เสียชีวิตก่อนถึง รพ. สามารถรอดชีวิตได้หาก
ได้รับการรักษาพยาบาลที่เหมาะสม ได้แก่
Brainstorming
✓ ทาการห้ามเลือด stop bleed
15% wooing rooms
✓ ช่วยลดแรงดันในช่องเยื่อหุ้มปอด trapdoor
rntheodomniunn
✓ ช่วยเปิดทางเดินหายใจ open aiming
เป้าหมายของ TCCC
1. ปฏิบัติภารกิจให้สาเร็จลุล่วง
-

2. ลดการเสียชีวิตที่ป้องกันได้
-

3. ป้องกันไม่ให้มีผู้บาดเจ็บเพิ่มเติม
-

9
หลักการดูแลผูบ้ าดเจ็บทางยุทธวิธี (tccc) แบ่งเป็ น 3 ห้วง
1. การดูแลระหว่างการปะทะ (Care Under Fire) round
-
no

U Tf

2. การดูแลในพืน้ ที่หลังจากการปะทะ (Tactical Field Care)


#

3. การส่งกลับทางยุทธวิธี (Tactical Evacuation Care) do now


-

10
การดูแล
ระหว่าง
การปะทะ
care
under
fire
11
(2) สามารถอธิบายขัน้ ตอนการดูแลผูบ้ าดเจ็บระหว่างการปะทะ (Care under fire)
-

❑ เน้นการยิงโต้ตอบ
-

❑ การห้ามเลือดด้วยสายยางรัดห้ามเลือด

❑ การขันชะเนาะแบบแสวงเครื่อง warrior

การดูแลระหว่างการปะทะ (care under fire)


➢ ในสถานการณ์นี้ทั้งผู้เข้าช่วยเหลือ และผู้บาดเจ็บ ยังคงอยู่ภายใต้การโจมตี
ของข้าศึก อยู่ในภาวะอันตราย
➢ การรักษาพยาบาลกระทาได้อย่างจากัด เช่น มีเพียงกระเป๋านายสิบพยาบาล
-

12
แนวทางการดูแลผู้บาดเจ็บระหว่างการปะทะ
1. ยิงตอบโต้ในที่กาบัง คานึงถึงความปลอดภัยของเราก่อนเป็นลาดับแรก
2. เข้าช่วยเหลือผู้บาดเจ็บเมื่อสถานการณ์ปลอดภัย
-

3. เคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บเข้าสู่ที่กาบังและให้ทาการช่วยเหลือตัวเองก่อน (self-aid) ถ้า


-

ผู้บาดเจ็บสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ winning of Iorio


core r ou

4. หลีกเลีย่ งการทาให้มีผู้บาดเจ็บเพิม่ เติม


5. ป้องกันการเสียชีวิตจากการเสียเลือดทันทีที่ทาได้ gainNB non
ให้ผู้บาดเจ็บทาการช่วยเหลือตัวเองก่อน(self-aid)ถ้าสามารถช่วยเหลือตัวเองได้
-

ใช้สายยางรัดห้ามเลือดในการห้ามเลือดในบริเวณแขน ขา ที่มีบาดแผลเลือดออก
(รายละเอียดการใช้อยู่ในเรื่องการใช้สายยางรัดห้ามเลือด)
-
เคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บเข้าที่กาบัง
13
แนวทางการดูแลผู้บาดเจ็บระหว่างการปะทะ (ต่อ)
เน้น การทาภารกิจให้สาเร็จ และทาการดูแลผู้บาดเจ็บภายใต้การยิงเมื่อปลอดภัย
สิ่งที่ดีที่สุดในการดูแลผู้บาดเจ็บอาจจะไม่ใช่สิ่งที่ดีที่สุดสาหรับภารกิจ sane oiorovsoy
ถ้ายังมีการยิงเกิดขึ้นอยู่จะยังไม่ทาการเข้าไปช่วยเหลือผู้บาดเจ็บในบริเวณที่มี
อันตราย (kill zone)
ยิงตอบโต้ข้าศึกด้วยอานาจการยิงที่เหนือกว่า แล้วจึงเข้าไปช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ

=
และเคลื่อนย้ายเข้าสู่ที่กาบังเมื่อสถานการณ์ปลอดภัย
ยิงตอบโต้ข้าศึกด้วยอานาจการยิงที่เหนือกว่า จะช่วยลดความเสี่ยงของทีมที่จะเข้า
ไปช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ เพื่อไม่ให้มีผู้บาดเจ็บเพิ่มขึ้น
อานาจการยิงที่เหนือกว่า เกิดจากการช่วยกันของทีมที่จะเข้าช่วยและตัว
ผู้บาดเจ็บเอง “ยาที่ดีที่สดุ ในสนามรบคืออานาจการยิงที่เหนือกว่า”
14
การเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บเข้าสู่ที่กาบัง
➢ ถ้าผู้บาดเจ็บสามารถเคลือ่ นที่เองได้ ให้เคลื่อนที่เข้าที่กาบังเอง โดยให้
ระวังการยิงจากฝ่ายข้าศึก self aid)
c -

➢ ถ้าผู้บาดเจ็บไม่สามารถเคลื่อนที่เองได้หรือไม่รู้สึกตัว การเข้าช่วยเหลือ
จะต้องรอก่อนจนกว่าสถานการณ์จะปลอดภัย
-

➢ ถ้าผู้บาดเจ็บรู้สึกตัวแต่ไม่สามารถเคลื่อนทีเ่ องได้ การเข้าช่วยเหลือ


จะต้องรอก่อนจนกว่าสถานการณ์จะปลอดภัย

15
การเข้าช่วยเหลือผู้บาดเจ็บภายใต้การยิง
โดยทีไ่ ม่มอี าวุธในการต่อสู้และป้องกันตัวเอง

พยายามช่วยเหลือผู้บาดเจ็บเข้าสู่ที่กาบัง

มีทีมเข้ามาช่วยเหลือเพิ่มอีก

16
คนแรกที่เข้ามาช่วยถูกยิง

คนแรกที่เข้ามาช่วยถูกยิงที่ศีรษะล้มลง
โดยพลแม่นปืนของฝ่ายข้าศึก

17
การเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บเข้าสู่ที่กาบัง (ต่อ) lordsmoon
❑ การลากด้วยบุคคลคนเดียว
❑ การลากด้วยบุคคลสองคน
1. การเคลื่อนย้ายด้วยบุคคลคนเดียว
-

ข้อดี: สามารถถืออาวุธได้, ใช้คนช่วยเหลือคนเดียว


ข้อเสีย: เคลื่อนที่ได้ช้า, ผู้บาดเจ็บต้องถูกลาก อาจอยู่ในท่าที่ไม่เหมาะสม
18
การลากด้วยบุคคลคนเดียว
-

วิธีปฏิบตั ิ
✓ เมื่อสถานการณ์ปลอดภัย

✓ ผู้เข้าทาการช่วยเหลือจึงเข้าหาผู้บาดเจ็บด้วยความระมัดระวัง

โดย การคลานต่าเข้าเขย่า ลุกแล้ว ลากคอเสื้อ/สายโยงบ่า เข้าที่กาบัง


✓ ใช้มือข้างถนัดถืออาวุธปืนเพื่อระวังป้องกัน

✓ ใช้มือข้างไม่ถนัดจับเสื้อ/คอเสื้อ/สายโยงเป้/เสื้อเกราะของผู้บาดเจ็บเพื่อใช้
ในการเคลื่อนย้าย
✓ ขณะเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บเข้าที่กาบังจะต้องทาการระวังป้องกันจากการยิง
ของข้าศึกไปด้วย
19
2. การลากด้วยบุคคลสองคน

ข้อดี: เคลื่อนที่เข้าสู่ที่กาบังได้เร็วกว่าแบบคนเดียว
-

ข้อเสีย: ใช้ทีมช่วยเหลือเข้าเสี่ยงเพิ่มขึ้น
20
การลากด้วยบุคคลสองคน
วิธีปฏิบัติ
✓ เมื่อสถานการณ์ปลอดภัย

✓ ผู้เข้าทาการช่วยเหลือจึงเข้าหาผู้บาดเจ็บด้วยความระมัดระวัง

โดย การคลานต่าทั้ง 2คน เข้าเขย่า ลุกแล้ว ลากคอเสื้อ/สายโยงบ่า เข้าที่กาบัง


✓ ผู้ช่วยเหลือคนหนึ่งใช้มือข้างถนัดถืออาวุธปืนเพื่อระวังป้องกัน
-

✓ ใช้มือข้างไม่ถนัดจับเสื้อ/คอเสื้อ/สายโยงเป้/เสื้อเกราะของผู้บาดเจ็บเพื่อใช้ใน
การเคลื่อนย้าย
✓ ขณะเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บเข้าที่กาบังผู้ช่วยเหลือคนที่ถือปืนจะต้องทาการระวัง
ป้องกันจากการยิงของข้าศึกไปด้วย
21
ความเร่งด่วนทางการแพทย์อนั ดับแรก ในระหว่างการปะทะ
❑ รีบทาการห้ามเลือด ทีมีเลือดออกจานวนมาก
-

❑ การเสียเลือดจานวนมากที่แขน-ขา พบได้บ่อยที่สุด และเป็นการตายที่


-

สามารถป้องกันได้
❑ ทหารมากกว่า 2,500 นาย ที่ได้รับบาดเจ็บจากการสู้รบในสงครามเวียดนาม
เสียชีวิตจากเลือดไหลออกที่แขน-ขา จานวนมาก ซึ่งทาให้เกิดภาวะช็อก
และเสียชีวิตในที่สุด
❑ ควรรีบทาการห้ามเลือดที่ทาให้เกิดความเสี่ยงต่อการสูญเสียชีวิต ในระหว่าง
การปะทะ
22
การห้ามเลือด ( m : massive hemorrhage control )
❑ ทหารทุกนาย ที่ออกปฏิบัติภารกิจจึงต้องมีความรู้ในการป้องกันการเสียเลือด
❑ ควรมีสายรัดห้ามเลือด (สายยางรัดห้ามเลือด หรือ CAT ) ประจากาย
- -

❑ ต้องทาการฝึกและรู้วิธีการใช้อย่างถูกต้อง
❑ สามารถห้ามเลือดได้ เพื่อเป็นการช่วยเหลือตัวเองในเบื้องต้น (self-aid)
-

❑ การเสียเลือดที่พบได้บ่อยคือบริเวณแขน-ขา
❑ การบาดเจ็บต่อเส้นเลือดขนาดใหญ่
-

ต้องทาให้เลือดหยุดโดยเร็วที่สุด
เพราะสามารถทาให้เกิด “ภาวะช็อก”
23
การสังเกตเลือดที่ออกจากบาดแผล
1. เลือดที่ออกจากเส้นเลือดแดง: มีสีแดงสด ไหลแรง พุ่งออกตาม
- -

จังหวะการเต้นของหัวใจ
-

*** ถ้าเจอเลือดออกลักษณะนีใ้ ห้รีบใช้สายรัดห้ามเลือด (สายยางรัดห้ามเลือด


หรือ CAT ) ทันที

2. เลือดที่ออกจากเส้นเลือดดา: มีสีแดงคล้า ไหลออกมาเรื่อยๆ ไหลไม่แรง


- -
-

3. เลือดที่ออกจากเส้นเลือดฝอย : สีแดงคล้าไหลซึมออกมาช้าๆ
- -

24
วิธีการการห้ามเลือดในระหว่างการปะทะ
ใช้สายรัดห้ามเลือด (สายยางรัดห้ามเลือด หรือ cat )
เป็นอุปกรณ์ชิ้นแรก ในการห้ามเลือดระหว่างการปะทะ

สายยางรัดห้ามเลือด c-a-t
25
การใช้สายยางรัดห้ามเลือด
1. ใช้ได้กับการตกเลือดที่แขนขา
2. แขนขาขาด ถูกระเบิด บาดแผลฉกรรจ์
3. ให้ใช้สายยางรัดห้ามเลือดไว้ ต้องรัดให้แน่นพอที่จะทาให้เลือดหยุดได้
หรือคลาชีพจรส่วนปลายไม่ได้
***การคลาชีพจรให้ใช้0 นิ้วชี้และนิ้วกลาง ห้ามใช้นวิ้ หัวแม่มือเพราะเส้นเลือดที่
นิ้วหัวแม่มือเต้นแรง อาจทาให้สับสนว่าเป็นชีพจรของผู้บาดเจ็บหรือผู้จับชีพจร

26
การใช้สายยางรัดห้ามเลือด (ต่อ)
➢ การสังเกตเลือดที่ออกหลังจากรัดแน่นพอ คือ เลือดจากหลอดเลือดแดงหยุดไหล
แต่เลือดจากหลอดเลือดดาในส่วนที่อยู่ต่าลงไปของแขนขาจะไหลออก จนกระทั่ง
เลือดที่อยู่ในหลอดเลือดดาไหลออกหมดจึงจะหยุด ฉะนั้นอย่ารัดให้แน่นขึ้นอีก
➢ ถ้ารัดแน่นเกินไปทาให้ขาดเลือดไปเลี้ยงส่วนที่ต่ากว่าสายรัด อาจทาให้เนื้อเยื่อ
-

ส่วนนั้นตาย จนต้องถูกตัดแขนหรือขา

27
การใช้สายยางรัดห้ามเลือด (ต่อ)
การวางสายรัดห้ามเลือด ควรรัดให้เหนือต้นแขนหรือต้นขา เพราะมีกระดูก
-
-

ชิ้นเดียว จึงกดเส้นเลือดแดงได้ดีกว่าแขนขาท่อนล่างซึ่งมีกระดูก 2 อัน


-

ห้ามใช้สายยางรัด รัดบนข้อศอกและข้อเข่า
ข้อควรจา:
1. ไม่ควรคลายสายรัดออกจนกว่าจะถึงมือแพทย์ aw

2. ต้องรีบนาผู้บาดเจ็บส่งแพทย์โดยเร็วที่สุด 'd
or
rips
28
การใช้สายยางรัดห้ามเลือด (ต่อ)
ข้อดี :
1. ทาได้ง่ายและรวดเร็ว ได้ผลเร็วที่สุด
2. เหมาะสมที่จะใช้ในช่วงเวลาที่มีการปะทะ
ข้อเสีย :
1. เพิ่มความเจ็บปวดให้แก่ผู้บาดเจ็บ
2. ทาให้เส้นประสาท หลอดเลือดและเนื้อเยื่อ ได้รับบาดเจ็บ
และขาดเลือดมาเลี้ยงของอวัยวะที่ต่ากว่าสายรัดอาจต้องตัดอวัยวะนั้นทิ้ง
-

29
การใช้สายยางรัดห้ามเลือด (ต่อ)
1. ยืดสายรัดห้ามเลือดออกให้มากที่สุด
-
-

✓ รัดต้นแขนบริเวณรักแร้ หรือ ต้นขาบริเวณขาหนีบ

✓ รัดลงบนเสื้อผ้าได้โดยไม่ต้องตัดเสื้อผ้าออก เนื่องจากเวลามีจากัด ในกรณีที่ไม่


สามารถประเมินตาแหน่งและความรุนแรงของบาดแผลในขณะนั้นได้
✓ ผูกเงื่อนตายให้แน่นที่สุด

2. ถ้าใช้สายรัดห้ามเลือดเส้นแรกแล้วเลือดยังไม่หยุดไหล
✓ ให้รัดสายรัดห้ามเลือดเส้นที่ 2
=
โดยรัดเหนือเส้นแรก ห้ามถอดเส้นแรกออก
30
การใช้สายยางรัดห้ามเลือด (ต่อ)
3. ห้ามคลายสายยางรัดออกโดยเด็ดขาด จนกว่าจะถึงมือแพทย์
-

เขียนตัว T ไว้ที่หน้าผากผู้บาดเจ็บ ด้วยปากกา หรือใช้เลือดของ in mindone5


'
-

ผู้บาดเจ็บเขียน เขียนบริเวณที่ที่เจ้าหน้าที่แพทย์มองเห็นได้ง่าย og

4. บันทึกเวลารัดสายยางไว้ในบัตรบันทึกผู้บาดเจ็บในสนาม
-

31
วิธีการใช้สายยางรัดห้ามเลือด
ยืดสายยางรัดออกให้มากที่สดุ

32
การวางสายยางรัดห้ามเลือดเหนือบาดแผล
บริเวณต้นขาข้างที่ได้รับบาดเจ็บ ในห้วงระหว่างปะทะ
ใช้สายยางรัดห้ามเลือด หรือ cat รัดให้สงู ที่สดุ จนเกือบชิดรักแร้ หรือ ขาหนีบ
และขันให้แน่นจนเลือดหยุดไหล ( สูงและแน่น; High and Tight )
เพื่อช่วยเหลือตัวเอง ( self-aid )

33
พันสายยางรัดห้ามเลือด 2 รอบ บริเวณต้นขาข้างที่ได้รับบาดเจ็บ
ผูกเงื่อนตายให้แน่นที่สุด

34
❑ หากผู้บาดเจ็บ ไม่สามารถทาการห้ามเลือดด้วยตนเองได้ ให้ผู้ช่วย (buddy-aid)
ทาการห้ามเลือดให้ ด้วยการใช้เข่ากดบริเวณเส้นเลือดใหญ่ที่รักแร้ หรือ ที่ขาหนีบ
แล้วใช้สายรัดห้ามเลือด ( สายยางรัดห้ามเลือด หรือ cat ) รัดให้สงู ที่สดุ จน
เกือบชิดรักแร้ หรือ ขาหนีบ และขันให้แน่น จนเลือดหยุดไหล
( สูงและแน่น; high and tight )
❑ ให้ตรวจสอบการห้ามเลือดที่ได้ทาไว้อีกครั้ง รวมทั้งตรวจหาว่ามีบาดแผลที่อื่นอีก

=
หรือไม่ หากสายรัดห้ามเลือด (สายยางรัดห้ามเลือด หรือ cat ) อันแรก
ไม่สามารถห้ามเลือดได้ ให้ใช้สายรัดห้ามเลือดเส้นที่สอง รัดเหนือต่อเส้นแรกและ
ขันให้แน่น จนเลือดหยุดไหล
35
การใช้สายรัดห้ามเลือด แบบ C-A-T
(Combat Application Tourniquet)
เป็นสายรัดห้ามเลือดในสนามรบที่ประเทศสหรัฐอเมริกา นิยมใช้เนื่องจากมีประสิทธิภาพ
และใช้ได้รวดเร็ว สะดวก สามารถใช้ได้ด้วยมือข้างเดียว มีขนาดเล็กและเบา
แถบติดในตัว
สายรัด clip (Self–Adhering Band)
(Windlass Strap)

ตัว clip ล็อคแท่งขัน


แท่งขัน (Windlass Clip)
(Rod)
36
วิธีใช้ C-A-T tourniquet
1. สอดห่วง Tourniquet เข้าไปตามแขนขาข้างที่มีแผลเลือดออกมาก

2. วาง Tourniquet ไว้เหนือต้นแขน – ต้นขา ข้างที่มีบาดแผล

37
3. ดึงปลายสายของห่วง 4. ดึงปลายสายห่วงรัดให้แน่นรอบ
ให้เกิดการรัดที่แน่นขึ้น แขนโดยยังไม่ให้ผ่านตัวclip

5. หมุนแท่งขันให้แน่น 6. ยึดแท่งขันไว้กับตัวclip เพื่อ


จนเลือดหยุด ป้องกันการคลายเกลียว

38
7. พันสายห่วงทับผ่านแท่งขันไป

8. พันทับสายห่วงและแท่งขันด้วยสายรัด clip โดยต้องรัดให้แน่น

39
สรุปประเด็นการห้ามเลือด
❑ ทหารทุกนายต้องสามารถใช้สายรัดห้ามเลือด (สายยางรัดห้ามเลือด หรือ CAT)
เพื่อช่วยเหลือตนเองได้
❑ ควรมีการฝึกฝนทักษะการใช้สายรัดห้ามเลือด จากชุดปฐมพยาบาลประจากาย
ทหาร ที่เก็บไว้ในบริเวณที่ทราบโดยทั่วกัน
❑ ทหาร และ นายสิบพยาบาลที่ตกอยู่ในอันตราย ใช้สายรัดห้ามเลือด โดยไม่ต้อง
ลังเล รัดบริเวณต้นแขน-ขา รัดให้สูงและแน่น ( high and tight )
-

❑ ไม่ควรใช้สายรัดห้ามเลือด ถ้าเป็นแผลเลือดออกเล็กน้อย
❑ การตัดสินใจใช้สายรัดห้ามเลือด ควรพิจารณาถึงความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บที่จะ
เกิดขึ้น และการเสียเลือดที่อาจจะทาให้เสียชีวิต
40
สรุปประเด็นการห้ามเลือด (ต่อ)
❑ เลือดออกที่ไม่เป็นอันตรายถึงชีวิต ควรให้การรักษาในระยะถัดไปที่อยู่ใน
ระยะเวลาหลังการปะทะ
❑ ในระยะปะทะ การรัดสายยางรัดห้ามเลือด หรือ CAT ให้รัดบนเสือ้ ผ้าได้เลย
ไม่จาเป็นต้องถอดเสื้อผ้าออก
-

❑ รัดให้แน่นพอ เพื่อทาให้เลือดหยุดไหล
-

❑ รัดเส้นที่สองให้เหนือเส้นแรกขึ้นไป
❑ ไม่รัดบนข้อศอก หรือ ข้อเข่า
❑ ไม่รัดบนกระเป๋า ซึ่งอาจจะมีสิ่งของอยู่ภายใน ทาให้ไม่มีประสิทธิภาพ
41
สรุปประเด็นสาคัญ ระหว่างการปะทะ
nirnonnoiypn
❑ ทาการยิงตอบโต้
-

❑ แนะนาให้พลรบ และ คนที่บาดเจ็บให้ทาการยิงต่อสู้ต่อไป


-

❑ บอกให้ผู้บาดเจ็บเข้าที่กาบัง
❑ ป้องกันไม่ให้มีการบาดเจ็บเพิ่มเติม
❑ นาผู้บาดเจ็บออกจากยานพาหนะ อาคารที่กาลังลุกไหม้
❑ การเปิดทางเดินหายใจไม่ควรทาในระยะนี้ แต่ควรทาหลังการปะทะสิ้นสุดลง
❑ ควรรีบทาการห้ามเลือดให้ได้
-

❑ บอกให้ผู้บาดเจ็บทาการห้ามเลือดด้วยตนเอง ถ้าเป็นไปได้
-

42
การดูแลใน ②
พืน้ ที่หลัง
การปะทะ
-

tactical
field
-

care
43
(3) สามารถอธิบายขัน้ ตอนการดูแลในพืน้ ที่รบหลังการปะทะ (Tactical Field Care)
❑ เน้นการห้ามเลือดเพิ่มเติมด้วยแต่งแผล และอุปกรณ์ห้ามเลือดอื่นๆ
-

❑ การเปิดทางเดินหายใจ การดูแลการหายใจและบาดแผลทรวงอก
- - -

❑ การประเมินระดับการรู้สติ การประเมินอาการผู้บาดเจ็บ
-

การดูแลในพื้นที่รบหลังการปะทะ (tactical field care)


➢ เป็นสถานการณ์เมื่อผู้ช่วยเหลือและผู้บาดเจ็บไม่อยู่ในพื้นที่การรบ แต่มี
อุปกรณ์ทางการแพทย์จากัด ***t
➢ การดูแลในระยะนี้มีเป้าหมาย คือ ผู้เข้าช่วยเหลือสามารถดูแลผู้บาดเจ็บปฐม
-

พยาบาลบาดแผลที่ไม่เป็นอันตรายถึงชีวิต
-
-
rootof ab
44
แนวทางการปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย ณ ที่เกิดเหตุ (scene safety)
1. สวมถุงมือทุกครั้งที่ทาการประเมินอาการผู้บาดเจ็บ
2. ตรวจสอบความปลอดภัยของสถานการณ์ เพื่อความปลอดภัยของผู้ช่วยชีวิตเชิง
ยุทธวิธี และ ผู้บาดเจ็บ
3. รายงานสถานการณ์ให้ผู้บังคับบัญชารับทราบ โดยย่อ เช่น ผู้ป่วยเจ็บกี่นาย
และหรือร้องขอความช่วยเหลือ เมื่อเกินความสามารถ
4. ปลดอาวุธ และ เริ่มทาการคัดแยก

45
แนวทางการประเมินผู้บาดเจ็บ
❑ ประเมินอาการสาคัญและสิ่งที่บ่งบอกอาการที่จะเป็นสาเหตุแห่งการเสียชีวิต
-

❑ ตรวจร่างกายอย่างรวดเร็ว: - ประเมินร่างกายทุกส่วนคร่าวๆ
oyrrwoinqnrnonoon - หาจุดเลือดออกหรือกระดูกหักเพิ่มเติม
- ประเมินดูบาดแผลและปริมาณการเสียเลือด
- ดูเลือดที่เปียกชุ่มบนเสื้อผ้า
- ดูทางเข้า และทางออกของบาดแผล
- ตรวจหา และห้ามเลือดบาดแผลอื่นๆ
46
แนวทางการประเมินผู้บาดเจ็บและปฐมพยาบาล (ต่อ)
❑ การประเมินเบื้องต้นในห้วงที่ไม่มีการปะทะ หรือภัยคุกคามผ่านพ้นไปแล้ว อยู่
ในที่กาบังอย่างปลอดภัย
❑ ให้เริ่มทาการประเมินและปฐมพยาบาล ตามลาดับตัวอักษรย่อ march
m: massive hemorrhage การห้ามเลือดออกปริมาณมาก
-

a: airway การประเมิน และจัดการทางเดินหายใจ


-

r: respiration การประเมินการหายใจ และจัดการบาดแผลที่ทรวงอก


-

c: circulation การประเมินการไหลเวียนโลหิต
-

h: hypothermia and head injury การป้องกันภาวะอุณหภูมิต่า


& Hypo role mia และประเมินการบาดเจ็บที่ศีรษะจากระดับความรู้สึกตัว
47
massive hemorrhage
การห้ามเลือดออกปริมาณมากในพื้นที่หลังการปะทะ
ขั้นตอน การห้ามเลือดออกปริมาณมากในพืน้ ที่หลังการปะทะ
❑ ให้ตรวจสอบการห้ามเลือดที่ได้ทาไปแล้วจากการใช้สายรัดห้ามเลือด
และตรวจหาบาดแผลอื่นๆ ที่ยังไม่ได้ทาการห้ามเลือด
-

❑ ให้ตัดเสื้อผ้าออก แล้วใช้สายรัดห้ามเลือดอีกเส้น รัดแล้วขันเหนือแผล

=
ประมาณ 2-3 นิ้ว จนเลือดหยุดไหล (คลาชีพจรส่วนปลายไม่ได้)
❑ แล้วคลายสายรัดห้ามเลือดเดิมที่ขันไว้ตั้งแต่ห้วงการดูแลระหว่างการปะทะ
หรือ care under fire ออก
❑ หากสายรัดห้ามเลือดเส้นที่รัดเหนือแผล 2-3 นิ้ว ไม่สามารถห้ามเลือดได้
ให้ใช้สายรัดห้ามเลือดอีกเส้นรัดขันไว้เหนือต่อสายรัดห้ามเลือดเส้นนั้น
48
ขั้นตอน การห้ามเลือดออกปริมาณมากในพืน้ ที่หลังการปะทะ (ต่อ)
❑ หากพบบาดแผลมีเลือดออกปริมาณมากที่บริเวณรอยต่อของแขนขา เช่นที่
ขาหนีบ หรือ รักแร้ ให้ทาการห้ามเลือดโดยใช้ผ้าก๊อซชุบสารห้ามเลือด
pressure ค่ อ ยๆยั ด เข้ า ไปในโพรงบาดแผลให้ แ น่ น โดยยั ด I
ไปในทิ ศ ทางของศี ร ษะ แล้ ว
กดด้วยแรงคงที่ให้แน่นอย่างน้อยเป็นเวลา 3 นาที จนเลือดหยุด แต่ถ้าใช้ผ้า
stiffed ก๊อซที่ไม่ชบุ สารห้ามเลือดให้กดแผลนาน
= 10 นาที
❑ หลังจากนั้นให้ปิดผ้าพันแผล พันคล้องกับเอวหรือเข็มขัดไว้เพื่อช่วยเพิ่มแรง
- -

กดลงบนแผล

49
วิธีการห้ามเลือดเพิม่ เติมในระยะนี้ ได้แก่
1.) การขันชะเนาะแบบแสวงเครื่อง
-

2.) การกดโดยตรงที่บาดแผล
=
3.) การใช้ ผ้าแต่งแผล
4.) การใช้ผ้าม้วนแบบยืดได้
5.) การใช้=ผ้าสามเหลี่ยม
1.) วิธีการใช้ขันชะเนาะแบบแสวงเครื่อง
-

❑ สามารถประกอบขึ้น จากวัสดุที่ยืดหยุ่น มีความแข็งแรง เช่น ผ้าก๊อซ


ผ้ามัสลิน (Muslin) หรือเสื้อผ้า ควรมีความกว้างประมาณ 2 นิ้ว
❑ ใช้ร่วมกับวัตถุแข็งเป็นแท่ง
50
ขั้นตอน การใช้ขันชะเนาะแบบแสวงเครื่อง (applied tourniquet)
1. ใช้ผ้าสามเหลี่ยมทาเป็นผ้าคราวาท หรือ
ใช้วัสดุที่มีความกว้างไม่น้อยกว่า 2 นิ้ว
(ไม่ควรใช้หวาย เชือก ลวด หรือวัสดุที่มี
ขนาดเล็ก เพราะอาจบาด หรือตัดเนื้อได้)

2. วางผ้าขันชะเนาะแบบแสวงเครื่อง
ที่บริเวณต้นแขน ต้นขา
3. ผูก 1 เงื่อน
51
4. วาง/สอดไม้ที่จะใช้ในการขันชะเนาะลงไป

5. ผูกเงื่อนอีกหนึ่งครั้งรอบๆไม้ที่ใช้ในการ
ขันชะเนาะ

6. หมุนแท่งขันจนกระทั่งขันชะเนาะแบบ
แสวงเครื่องแน่น และเลือดแดงสดๆหยุดไหล
และคลาชีพจรไม่ได้
52
7. การผูกยึดปลายไม้ด้วยเงื่อนตาย
-

เพื่อไม่ให้ไม้คลายหมุนกลับ

8. บริเวณขันชะเนาะไม่ควรให้อะไรมาบดบังสายตา เพื่อให้สังเกตได้ง่าย
-

53
9. ทาเครื่องหมายตัว t บนหน้าผากผู้บาดเจ็บ
-

ถ้าไม่มีอะไรเขียน อาจใช้เลือดของผู้บาดเจ็บเขียน
10. จดเวลาที่ทาการขันชะเนาะ รวมไปถึงการจับชีพจรและการหายใจ
-

11. ควรเก็บและส่ง แขน, ขา หรือ ชิ้นส่วน ที่ขาดไปกับผู้บาดเจ็บ


อย่าให้ผู้บาดเจ็บเห็น

54
2.) การกดโดยตรงที่บาดแผล (direct pressure)
ขั้นตอน การกดโดยตรงที่บาดแผล ได้ผลดี ถ้าเป็นแผลเล็กน้อย
❑ ให้ใช้นิ้วมือที=
่สะอาดหรือผ้าสะอาด วางและกดโดยตรงบนบาดแผลจนกว่าเลือดจะ
หยุดไหล เป็นการอุดหลอดเลือดไม่ให้เลือดไหลออก หรือ ชะลอให้เลือดไหลช้า
(เลือดจะแข็งตัวภายใน 3-5 นาที) ใช้เวลากดประมาณ 5-10 นาที เลือดจะหยุด
เมื-
-

❑ ่อเลือดหยุดให้ใช้ผ้าแต่งแผลปิด หรือพันด้วยผ้าพันแผล
❑ แล้วรีบทาการส่งกลับทางการแพทย์

การกดลงบนบาดแผล
55
❑ ถ้าเลือดยังไหลออกอีก ให้ใช้ผ้าแต่งแผลอีกผืนวางทับบนผืนเดิม
- -

❑ แล้วพันให้แน่นด้วยผ้าพันแผลม้วนแบบยืดได้ โดยดึงให้ยึดพอควรแล้วจึงพัน
ทับลงไป เป็นการเพิ่มแรงกดลงบนบาดแผลช่วยห้ามเลือด
❑ ห้ามเปลีย่ นผ้าแต่งแผลผืนเดิมเพราะจะทาให้ลิ่มเลือดที่แข็งแล้วหลุดออก
-
-

เลือดจะไหลออกมาอีก
การใช้ผา้ ผืนใหม่พันซ้าบนผ้าผืนเดิม

56
3.) การใช้ผ้าแต่งแผล (field dressing)
❑ เป็นผ้าสะอาดปราศจากเชื้อ ใช้ปิดบาดแผลโดยตรงเพื่อห้ามเลือด ป้องกัน
-

แบคทีเรียเข้าสู่บาดแผล
❑ ช่วยลดความเจ็บปวดของบาดแผล
❑ เพิ่มแรงกดที่บาดแผลร่วมกับการพันด้วยผ้าพันแผล
❑ เปิดหาบาดแผล
- ตัดเสื้อผ้าออก, ฉีก หรือดึงเสื้อผ้าขึ้นรอบๆบาดแผล เพื่อหาขอบเขตของแผล
- - -

- ในกรณีสงสัยสารเคมี ปนเปื้อน เสื้อผ้าที่ติดอยู่กับบาดแผลให้ใส่คลุมแผลไว้


- ไม่ทาความสะอาดบาดแผล
57
การใช้ผ้าแต่งแผล (field dressing) (ต่อ)
❑ ตรวจปากแผลทั้งทางเข้าและทางออก อย่างระมัดระวัง
-

❑ บาดแผลทางออกมักจะใหญ่กว่าปากแผลทางเข้า
❑ ถ้ามีทั้งแผลทางเข้าและทางออก ต้องพันแผลทั้งสองแผล
❑ ถ้าวัตถุฝังอยู=
่ที่แผล ไม่แตะต้องวัตถุนั้น ไม่ดึงออก หรือ
ดันเข้าไปในแผล ให้พันผ้าทาแผลรอบๆวัตถุ
เพื่อพยุงวัตถุให้อยู่กับที่และป้องกันการบาดเจ็บมากขึ้น

58
แสดงขัน้ ตอนการใช้ผา้ แต่งแผล (field dressing)
ขั้นตอนที่ 1 แกะกล่องกระดาษ และถุงพลาสติกออก ใช้มือทั้งสองข้างจับหางผ้าไว้

ขั้นตอนที่ 2 ถือผ้าแต่งแผลไว้เหนือแผล โดยด้านสีขาวคว่าลงบนบาดแผล


-

ไม่สัมผัสด้านสีขาว (ฆ่าเชื้อ) ไม่ให้ด้านสีขาวสัมผัสกับสิ่งอื่น


-

59
ขั้นตอนที่ 3. ดึงผ้าแต่งแผลนั้นให้กางออก แล้วปิดลงบนบาดแผล
- -

ขั้นตอนที่ 4 จับผ้าแต่งแผลไว้ด้วยมือข้างหนึ่ง เพื่อให้ผ้าอยู่กับที่มืออีกข้างหนึ่ง


พันหางผ้าพันรอบๆผ้าพันแผลประมาณครึ่งหนึ่งของผ้าพันแผลนั้น
เหลือหางผ้าไว้ยาวพอผูกเงื่อนได้

60
ขั้นตอนที่ 5 พันหางผ้าอีกข้างทับอีกครึ่งหนึ่งของผ้าแต่งแผลที่เหลือ ให้ปิดมิด
บาดแผล ควรพันหางผ้าไปทางด้านข้างของผ้าแต่งแผล

ขั้นตอนที่ 6 ผูกหางผ้าทั้งสองข้างเป็นเงื่อนตายไว้ริมด้านนอกของผ้าแต่งแผล
=
อย่ า! ผูกเงื่อนไว้บนแผล เพื่อให้เลือดไปเลี้ยงขาที่บาดเจ็บในส่วนที่ยังดีอยู่ ผูกผ้า
แต่งแผลให้แน่นพอที่จะไม่หลุด แต่อย่าแน่นมากจนกระทั่งเกิดการขาดเลือดไป
เลี้ยงส่วนที่ดีตามขั้นตอนที่ 5
61
ข้อควรระวังการใช้ผ้าแต่งแผล
❑ ควรมีการตรวจสอบว่ายังมีการไหลเวียนของเลือดด้านล่างหรือไม่
- -

❑ หากผิวผนังด้านล่างของผ้าแต่งแผล เย็น เขียว ซีด มีสีช้า


ผู้บาดเจ็บมีอาการชาและชีพจรเต้นช้าลง แสดงว่าพันผ้าแน่น
-

เกินไป ให้คลายผ้าแต่งแผลออกแล้วจึงผูกใหม่อีกครั้ง
- -

62
ขั้นตอน การใช้ผ้าแต่งแผล (field dressing)

63
ขั้นตอน การใช้ผ้าแต่งแผล (field dressing)
❑ แผลสะเก็ดระเบิด /ถูกกระสุนปืนที่แขนขา
❑ ใช้ผ้าแต่งแผล
❑ ปิดตามบาดแผลให้ทั่วแล้วพันให้แน่น

64
❑ ถ้ายังมีเลือดออก(แผลสะเก็ดระเบิดขนาดใหญ่) ให้ใช้ผ้าแต่ง
แผลผืนใหม่ พันทับผ้าผืนเดิมหลายๆชั้น แล้วพันด้วย
-

ผ้าพันแผลม้วนแบบยืดได้ (Elastic Bandage) พันให้แน่น


-

ตั้งแต่ข้อเท้าขึ้นมาจนถึงระดับเหนือบาดแผล
❑ ถ้ายังมีเลือดออกมากให้ใช้สายยางรัดต้นแขนหรือต้นขา
-

65
ถูกกระสุนปืนที่แขนขา
ถ้าเลือดออกภายนอกให้เห็นไม่มาก แต่กลับออกภายในเป็นจานวนมาก
สังเกตจากแขน/ขานั้นบวมขึ้นเรื่อยๆ อย่างรวดเร็ว

=
ต้องห้ามเลือดจนกว่าจะหยุดเพิ่มการบวม

66
วิธีใช้ผา้ แต่งแผลบริเวณส่วนบนของศีรษะ ตามขั้นตอน
-

1 2 3 4 5

1. รวบหางผ้าแต่งแผลไว้ในมือทั้งสองข้าง
2. ถือผ้าแต่งแผลให้ส่วนสีขาวลงข้างล่างวางผ้าแต่งแผลบนแผล (ภาพที่ 1)
3. พันส่วนปลายของผ้าแต่งแผลไปใต้คาง (ภาพที่ 2)
4. พันปลายส่วนที่เหลือของผ้าแต่งแผลไปในทิศทางตรงข้าม (ภาพที่ 3)
5. พันปลายของผ้าแต่งแผลอ้อมมาทางหน้าผาก (ภาพที่ 4 )
6. ผูกปลายของผ้าบริเวณด้านข้างเหนือใบหูด้วยเงื่อนตาย (ภาพที่ 5)
67
4.) การใช้ผ้าม้วนแบบยืดได้ (elastic bandage)
1 2 3 4

1. จับถือผ้าพันแผลแบบยืดหดได้(ภาพที่ 1) พันยึดจุดเริ่มต้นของผ้าพันแผล
2. วางปลายผ้าพันแผลบนฝ่ามือ ปล่อยให้ปลายผ้าอยู่บนส่วนที่จะพันผ้า
ปลายผ้าพับขึ้นได้ ( ภาพที่ 2 ) ใช้มือพันผ้าทับลงบนปลายผ้าพันแผล
3. พันผ้ากลับมาทางมือขวา พับปลายผ้าลง ( ภาพที่ 3 ) แล้วพันทับอีกรอบหนึ่ง
เพื่อให้จุดเริ่มต้นของผ้าพันแผลอยู่กับที่ ( ภาพที่ 4)
68
4 5 6

4. ต่อมาพันเป็นเกลียวขึ้นมาบนมือ (ภาพที่ 5)
5. ใช้ผ้าพันทับซ้อนกันพอสมควร พันถึงข้อศอก ให้พันทับซ้อนกันหลายรอบ
(ภาพที่ 6)
6. ผูกเงื่อนทับไว้พันปลาย ผ้าพันแผลกลับมา
แล้วคลี่ให้รอบส่วนนั้นๆ ทาให้เกิดปลายที่จะผูกขึ้นสองปลาย
7. ผูกปมสี่เหลี่ยมทับบนผ้าพันแผลที่ได้พันไว้ หรือตัดแยกปลายของผ้าพันแผล
ออกเป็นสองแฉก ผูกแฉกทั้งสองตรงโคนผ้าที่แยก แล้วผูกปมสี่เหลี่ยมทับบน
ผ้าพันแผลที่ได้พันไว้ (ภาพที่ 6)
69
บาดแผลช่องท้องที่มอี วัยวะในช่องท้องออกมานอกช่องท้อง
-

อาการ เจ็บปวดอย่างรุนแรง คลื่นไส้ อาเจียน เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ช็อกได้


- - - -

70
รักษาบาดแผลช่องท้อง ที่มีอวัยวะในช่องท้องออกมานอกช่องท้อง
-

❑ ให้ผู้บาดเจ็บนอนหงาย ยกเข่าชันขึ้นทั้งสองข้าง เพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อหน้าท้อง


- -

ผ่อนคลาย
❑ งดน้าและอาหาร ให้ความอบอุ่นแก่ผู้บาดเจ็บ
- - -

❑ กรณีผู้บาดเจ็บหมดสติ ให้เอียงศีรษะไปข้างใดข้างหนึ่ง เพื่อป้องกันผู้บาดเจ็บ


-

สาลักเมื่ออาเจียน
-

❑ -
It
ต้องได้รับการผ่าตัดช่วยเหลือด่วน ไม่ แตะต้องหรือดันกลับเข้าไป
❑ ไม่ต้องทาความสะอาดบาดแผล เพราะอาจทาให้อาการต่างๆมากขึ้น
❑ ใช้ผ้าก๊อซชุบน้าเกลือ หรือ น้าสะอาดปิดไว้ แล้วใช้ผ้าแต่งแผลผืนใหญ่ที่สะอาด
ปิดคลุมทั้งหมด
❑ =
พันผ้าให้แน่นเพียงพอเพื่อยึดส่วนต่างๆอยู่กับที่
71
5.) การใช้ผ้าสามเหลี่ยม

72
การพับผ้าสามเหลี่ยมเป็นผ้าคราวาท (Cravat)
ขั้นที่ 1.ผ้าสามเหลี่ยมและผ้าผูกคอนิยมทาจากผ้าฝ้ายตัดเป็นรูป สามเหลี่ยม
ขนาด 37x37x52 นิ้ว เมื่อพับเป็นแถบเรียกว่าผ้าผูกคอ การทาผ้า
1
สามเหลี่ยมตัดทแยงมุมผ้าสี่เหลี่ยมกว้าง 3 X 3 ฟุต จะได้ผ้า
สามเหลี่ยม 2 ผืน (ขั้นที่ 1)
2. การพับผ้าสามเหลี่ยมเป็นผ้าคราวาท (Cravat) นา
2 ยอดมุมของผ้าสามเหลี่ยม พับลงมาที่ฐานของผ้า (ขั้นที2่ )
3. พับด้านบนของผ้าสามเหลี่ยมมาที่ฐาน ของผ้า
3 สามเหลี่ยม (ขั้นที่3)
4 4. พับด้านบนของผ้าสามเหลี่ยมลงมาที่ฐานอีกครั้งหนึ่ง
(ขั้นที่ 4) 73
ขั้นตอน การใช้ผ้าสามเหลี่ยมกับบาดแผลที่ศีรษะ
1 2 3

1. วางผ้าสามเหลี่ยม ให้ฐานของสามเหลี่ยมอยู่ตรงกึ่งกลางหน้าผาก ปล่อยให้ส่วนยอด


ของสามเหลี่ยมมาอยู่ด้านหลังของคอ (ภาพที่ 1)
2. จับปลายทั้งสองข้างไขว้กันมาทางด้านหลังของศีรษะ และพันข้าม ส่วนยอดของ
สามเหลี่ยม นาส่วนปลายทั้งสองข้างมาผูกไว้ด้านหน้าผาก (ภาพที่ 2)
3. พับยอดสามเหลี่ยมซ่อนไว้ใต้ส่วนของผ้าแต่งแผลที่ท้ายทอย ใช้เข็มกลัดยึดไว้ถ้ามี
(ภาพที่ 3)
74
airway
การประเมิน และจัดการทางเดินหายใจ
ขั้นตอน การประเมิน และจัดการทางเดินหายใจ ในพื้นที่หลังการปะทะ
❑ ให้ทาการประเมินทางเดินหายใจด้วยการถาม ชื่อ หากผู้บาดเจ็บรู้สึกตัวและ

-
ตอบคาถามได้ แสดงว่าทางเดินหายใจโล่ง ไม่มีปัญหาทางเดินหายใจอุดกั้น
ไม่ต้องจัดการทางเดินหายใจ

75
ขั้นตอน การประเมินและจัดการทางเดินหายใจ ในพื้นที่หลังการปะทะ (ต่อ)

I
❑ หากผู้บาดเจ็บไม่ตอบ หรือ ไม่รู้สึกตัว

❑ ให้ตรวจสอบว่ามีสิ่งแปลกปลอม (Foreign body) เช่น ฟันปลอม

เศษกระดูกที่แตกหัก, เศษอาหาร ในช่องปากหรือไม่


❑ ถ้ามองเห็นสิ่งแปลกปลอม ถึงจะทาการใช้นิ้วล้วงออก ถ้าเห็นเลือดออก
ในปาก ใช้ลูกยางแดง หรือ syringe ดู=
ดเลือดออก
❑ หากไม่มีปัญหาทางเดินหายใจอุดกั้น ให้จัดอยู่ในท่าพักฟื้น
(recovery position)
-

76
recovery position (ท่าพักฟื้น)
➢ โดยเฉพาะผู้บาดเจ็บบริเวณใบหน้า
➢ หมดสติแต่ยังสามารถหายใจเองได้ดีและระบบไหลเวียนดี

➢ ช่วยให้เลือดและเมือกไหลออกจากปากและจมูกไม่ ย้อนกลับเข้าไปปิด
-

กั้นทางเดินหายใจ
➢ ไม่ควรใช้ในรายที่สงสัยการบาดเจ็บที่คอ และกระดูกสันหลัง
ขั้นตอน
- หมุนตัวผู้บาดเจ็บพร้อมกันทั้งลาตัวให้นอนตะแคงข้าง
- วางมือข้างที่อยู่ด้านล่างให้สอดไว้ใต้คาง
- งอขาข้างที่อยู่ด้านบน
77
แสดงท่านอนพักฟื้น ( recovery position ) ของผู้บาดเจ็บ

78
❑ หากผู้บาดเจ็บไม่ตอบ หรือ ไม่รู้สึกตัว (ต่อ)
❑ หากผู้บาดเจ็บมีปัญหาทางเดินหายใจอุดกั้น เช่น มีลิ้นตก หายใจมี
-

เสียงดังคล้ายเสียงกรน หรือมีเลือดออกทางปากและจมูกปริมาณมาก
ให้เปิดทางเดินหายใจด้วยท่า กดหน้าผาก ยกคาง (head-tilt,

I
chin-lift) หรือ ดันกรามไปด้านหน้า (jaw thrust)
❑ แล้วใช้ท่อพยุงทางเดินหายใจแบบสอดทางจมูก (npa) ตรึงท่อไว้
ด้วยเทป

79
❑ การเปิดทางเดินหายใจที่ดี เป็นการป้องกันการเสียชีวิตที่ทาได้เป็นอันดับที่ 3
❑ สามารถรอได้จนสถานการณ์ปลอดภัย ถ้ายังอยูภ่ ายใต้การยิงจะยังไม่ทา
-

การเปิดทางเดินหายใจ

=
❑ ลิ้น เป็นอวัยวะที่จะไปอุดทางเดินหายใจที่พบบ่อยที่สุด โดยเฉพาะเมื่อไม่รู้สึกตัว
พบว่า กล้ามเนื้อคลาย ทาให้ลิ้นเลื่อนไปด้านหลังอุดทางเดินหายใจ
❑ วิธีเปิดทางเดินหายใจ 2 วิธี
Head-Tilt/Chin-Lift
Jaw Thrust

80
head-tilt , chin-lift
❑ ใช้เป็นมาตรฐาน
❑ ใช้ในกรณี ไม่สงสัยว่ามีการบาดเจ็บของกระดูกคอ
-

❑ ไม่จาเป็นต้องจากัดการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังส่วนคอ
ถ้ากลไกการบาดเจ็บเป็นแบบถูกยิง หรือถูกแทง
การกดหน้าผากเชยคาง

81
ขั้นตอน head-tilt , chin-lift
❑ คุกเข่าข้างผู้บาดเจ็บระดับเดียวกันกับไหล่คนเจ็บ
❑ ใช้มือข้างใดข้างหนึ่งวางบนหน้าผากคนเจ็บ

❑ ใช้อุ้งมือกดไปด้านหลังเพื่อให้ศีรษะเงยไปด้านหลัง

❑ ใช้ปลายนิ้วของมืออีกข้างวางที่กระดูกปลายคางเพื่อยกขึ้นด้านหน้า

❑ ยกคางขึ้นด้านหน้าจนฟันบนและล่างเกือบติดกัน แต่ปากต้องไม่ถูกปิด เพื่อ


Is

ป้องกันหากรูจมูกอุดตัน หรือเสียหาย
* ข้อควรระวัง - ต้องแน่ใจว่าไม่มีการบาดเจ็บของกระดูกต้นคอ
-

- อย่าออกแรงกดเนื้อบริเวณใต้คางด้วยนิ้วมือ เพราะอาจทาให้ปิด
ช่องทางเดินหายใจได้
- อย่าทาให้ปากของผู้บาดเจ็บปิดสนิท
82
jaw thrust
➢ ในกรณีสงสัยว่ามีการบาดเจ็บที่ตน้ คอ,กระดูกต้นคอ ให้เปิดทางเดินหายใจด้วย
วิธีนี้
=การยกกราม

83
ขั้นตอน jaw thrust
❑ คุกเข่าเหนือศีรษะผู้บาดเจ็บ

❑ วางศอกบนพื้น ที่ผู้บาดเจ็บนอน

❑ วางมือแต่ละข้างลงบนขากรรไกรทั้งสองข้างของผู้บาดเจ็บ
-
ตามแนวขากรรไกร ใต้หู
❑ ยึดศีรษะผู้บาดเจ็บให้นิ่งด้วยแขนทั้งสองข้าง
❑ ใช้นิ้วชี้ดันขากรรไกรล่างลงไปด้านหน้า
❑ ใช้นิ้วหัวแม่มือเปิดริมฝีปากเพื่อทาให้ปากเปิดถ้าจาเป็น
-

84
การใช้ nasopharyngeal airwayO
(npa) ในพื้นที่หลังการปะทะ
ข้อดี : สามารถใช้ได้ในผู้บาดเจ็บที่
- Conscious,
-

Semi-Conscious (การรู้สึกตัวไม่เต็มที่),
Unconscious
- การหายใจผิดปกติ
- ไม่สามารถหายใจเองได้ดี
* ห้ามใช้
-ในคนที่บาดเจ็บบริเวณใบหน้าอย่างมาก
-

-ในคนที่มีการแตกแถวเพดานปาก
85
การใส่ nasopharyngeal airway (npa)
วิธีการวัดขนาด:
❑ จาก ปลายจมูก-ติ่งหู

วิธีการใส่:
❑ ให้นอนราบ

❑ จัดทางเดินหายใจและเอาสิ่งแปลกปลอมออก

❑ ใส่เจลหล่อลื่น/น้าสะอาดที่ NPA
-

❑ เปิดรูจมูกและใส่ปลายแหลมของ NPA เข้าในรูจมูก

❑ ใส่จนส่วน NPA เข้าไปจนขอบส่วนปลายท่อชนรูจมูก


86
การเปิดรูจมูกผูบ้ าดเจ็บให้เห็นชัดเจน

การสอดใส่ท่อทางเดินหายใจจนขอบด้านหลังท่อติดรูจมูก

87
การใส่ nasopharyngeal airway (npa) (ต่อ)
ข้อควรระวัง
❑ ห้ามฝืน หรือพยายามดันถ้ามีแรงต้าน

=
❑ ให้ หล่อลื่นเพิ่ม และลองใส่รูจมูกอีกข้าง
❑ ถ้ายังมีแรงต้าน ให้เช็คขนาดNPA อีกครั้ง หรือเปลี่ยน

วิธีการเปิดทางเดินหายใจแบบอื่น
❑ การเอาออก ให้ค่อยดึงออกตามความโค้งของโพรงจมูก
-

88
respiration
การประเมินการหายใจ และจัดการบาดแผลที่ทรวงอก
ขั้นตอน การประเมินการหายใจ ในพื้นที่หลังการปะทะ
❑ ดูการขยับของทรวงอกทั้งสองข้างว่าเท่ากันหรือไม่ ให้เปิดเสือ้ ผ้าออกเพื่อ
-
-

หาบาดแผล
❑ หากพบแผลทะลุที่เกิดจากกระสุนหรือระเบิดที่ทรวงอก (sucking
- - -

chest wound) และมีการหายใจลาบาก ให้สงสัยว่ามีภาวะลมคัง่ ใน -

ช่องเยือ่ หุ้มปอดชนิดมีรูเปิดที่ทรวงอก ( open pneumothorax )


-

89
ขั้นตอน การประเมินการหายใจ ในพื้นที่หลังการปะทะ (ต่อ)
❑ ให้ทาการปิดแผลด้วยแผ่นปิดแผลที่มวี าล์วระบายทางเดียวสาหรับทรวงอก
(vented chest seal) ติดให้แนบกับอก ในขณะหายใจออก โดยให้แผลอยู่
-
-

ตรงกับวาล์วระบายกลางแผ่น และให้ลูกศรบนแผ่นปิดชี้ออกไปด้านข้างของ
ลาตัว ใช้เทปตรึงขอบแผ่นให้แน่น เพื่อป้องกันการเลื่อนหลุด
❑ บาดแผลถูกยิงที่ทรวงอก อาจมีแผลทางออกของกระสุนที่หลัง ให้ทาการพลิก
ตัวเพื่อหาและปิดแผลทางออกด้วยแผ่นปิดแผลที่มวี าล์วระบายทางเดียว
-

สาหรับทรวงอก (vented chest seal) เช่นกัน ติดให้แนบกับอก ในขณะ


-

หายใจออก ให้แผลอยู่ตรงกับวาล์วระบายกลางแผ่น ให้ลูกศรบนแผ่นปิดชี้ไป


ด้านล่างของลาตัว ใช้เทปตรึงขอบแผ่นให้แน่น เพื่อป้องกันการเลื่อนหลุด
90
แผลเปิดทรวงอก (open pneumothorax) ใน
พื้นที่หลังการปะทะ

collapsed
lung

side with
gunshot
wound
91
แผลเปิดทรวงอก (open pneumothorax)
❑ บาดแผลที่หน้าอก ทาให้เกิดการดูดลมเข้าไปในช่องอก
-

❑ บาดแผลทาหน้าที่เหมือนลิ้น เมื่อลมผ่านเข้าไปแล้ว แต่ในระหว่างที่หายใจออก ลมนั้นไม่


สามารถออกจากช่องอกได้ แต่กลับไปเพิ่มความดันในช่องอก ทาให้ปอดยุบแฟบลง
-

❑ ผู้ป่วยมีอาการหายใจลาบากอย่างเห็นได้ชัด
❑ อาจพบผู้ป่วยกระวนกระวาย หายใจเร็ว
- -

❑ ชีพจรเต้นเร็ว
❑ มีแผลที่ผนังทรวงอก และอาจได้ยินเสียงลมดูดเข้า และอาจเห็นฟองอากาศช่วงหายใจออก
-

92
open pneumothorax
❑ ปิดแผล 3 ด้าน โดยใช้ฟอยล์อลูมินัม หรือวาสลินก๊อส เพื่อป้องกันไม่ให้ลมเข้าทาง

=
บาดแผล แต่ให้ลมออกได้
❑ ถ้ามีข้อบ่งชี้ ก็ใส่ท่อช่วยหายใจ
❑ ติดตามอาการ เฝ้าระวังภาวะลมดันในช่องปอด จากการช่วยหายใจและจากการที่มี
ลมรั่วจากปอดที่ได้รับบาดเจ็บผ่านเข้าทางช่องเยื่อหุ้มปอด
❑ ถ้าผู้ป่วยหายใจแย่ลง ให้เอาวัสดุปิดแผลออก ใช้ก๊อซเช็ดเลือดทีแ่ ผลออก
(burping the wound) เพื่อเอาเลือดแข็งที่อุดแผลออก และระบายลมออก
ได้ หลังจากนั้นให้ปิดวัสดุอันเดิม ถ้าไม่ได้ผลให้ใช้เข็มเจาะระบายลมออก (ncd)
93
ขั้นตอน การปิดแผล 3 ด้าน (3-sided dressing)
#
ขนาดของแผ่ นต้อง ห่างจากขอบแผลด้านละ 2 นิ้ว *
❑ ขณะปิดแผลให้ผู้บาดเจ็บหายใจออกแรงจนสุด กลั้นหายใจ
-

=
-

❑ ผู้ให้การรักษารีบใช้ผ้าปิดแผลปิ ดผนึกให้ดี
❑ ผ้าปิดแผลควรเป็นวัสดุที่กันน้าได้ หรือ อาจจะใช้ซองพลาสติกของผ้าแต่งแผล
-

❑ ใช้มือกดไว้ แล้วใช้ผ้าพันเพิ่มเติม เพื่อไม่ให้ลมเข้าไปได้


❑ ถ้าผู้บาดเจ็บนั่งแล้วสบายกว่านอน ให้ผู้บาดเจ็บนั่ง
❑ ถ้านอนให้นอนทับข้างที่มีบาดแผล เพราะจะทาให้ข้างที่ไม่ได้รับบาดเจ็บ ได้รับลมมากขึ้น

94
tension pneumothorax
-

ขั้นตอน การประเมินการหายใจ ในพื้นที่หลังการปะทะ (ต่อ)


❑ ทาการตรวจร่างกายผู้บาดเจ็บโดยใช้หูฟัง (Stethoscope) และเครื่องตรวจ
ความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือด ( pulse oximeter ) หากพบว่า
ผู้บาดเจ็บมีอาการเหนื่อย ตรวจไม่พบเสียงหายใจในทรวงอกข้างที่มีการ
บาดเจ็บ และค่าความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือดต่ากว่า 90% ให้
สงสัยว่ามีภาวะลมคัง่ ปริมาณมากในช่องเยือ่ หุ้มปอด ( tension
pneumothorax )

95
ภาวะลมรัว่ และแรงดันในช่องเยือ่ หุ้มปอด ( tension pneumothorax )

=
ในพื้นที่หลังการปะทะ

collapsed lung

มีลมอยู่ระหว่างปอด และช่องอก อาจเกิดขึ้นจาก


การบาดเจ็บของปอดและช่องอก ทาให้ปอดยุบตัว
96
ภาวะลมรัว่ และแรงดันในช่องเยือ่ หุ้มปอด (tension pneumothorax)
❑ Tension pneumothorax เป็นสาเหตุการตายในสนามรบที่ป้องกันได้
เป็นอันดับที่ 2
❑ ผู้บาดเจ็บจะมีการหายใจที่ผิดปกติ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

❑ จากการที่มีลมเข้าไปในช่องอกข้างที่ผิดปกติแต่ไม่สามารถออกมาได้

❑ แรงดันที่เพิ่มขึ้นในช่องอกทาให้เกิดการกดเบียดของเนื้อปอดทาให้ปอด
ไม่สามารถขยายได้
❑ ดันอวัยวะในทรวงอกและหัวใจออกจากปอดข้างที่ผิดปกติ

❑ อาจส่งผลไปยังปอดข้างที่ดีรวมถึงหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจได้
97
อาการแสดง
❑ การหายใจทีผ่ ิดปกติ
❑ อัตราการหายใจ น้อยกว่า 10 หรือ มากกว่า 24 ครั้ง/นาที
-

❑ ทรวงอกขยับ ขึ้น-ลง ไม่เท่ากัน


-

❑ ทรวงอกขยับ ขึ้น-ลง ข้างเดียว

❑ จังหวะการหายใจ =
ไม่สม่าเสมอ
❑ เหงื่อออกแต่ตัวเย็น
- -

❑ ระดับการรู้สึกตัวลดลง (AVPU Scale)

❑ หลอดลมที่คอถูกกดเบียดไปด้านตรงข้าม (tracheal shift)


-

เป็นอาการระยะสุดท้าย อาจสังเกตไม่พบเมื่อมีอาการในระยะแรก
98
❑ Tension pneumothorax ทาให้ผู้บาดเจ็บอาการแย่ลง ปอดข้างที่
ได้รับบาดเจ็บมีอากาศเข้าไปจานวนมาก ทาให้เกิดแรงดัน เกิดแรงกดทับ
ปอด และหัวใจ ทาให้ความดันลดลงจากหัวใจล้มเหลว
(cardiogenic shock) คลาชีพจรไม่ได้
→ Dr. must
99
การรักษา
การเจาะเอาลมที่คงั่ ในช่องปอดให้ออกสูภ่ ายนอก เพื่อลดแรงดันในช่องอก
needle chest decompression (ncd)
หายใจออก หายใจเข้า

เข็มที่ใช้เจาะ ต้องใช้เข็มเจาะเบอร์ใหญ่ คือเบอร์ 10–14 เกจ ยาว 3.25 นิ้ว


-

14 MO Wu 3 .
25 To
nw7nw% 287 no

100
circulation
การประเมินการไหลเวียนโลหิต
ขั้นตอน การประเมินการไหลเวียนโลหิต ในพื้นที่หลังการปะทะ
❑ ให้ประเมินว่าผู้บาดเจ็บมีภาวะช็อกหรือไม่
❑ ด้วยการคลาชีพจร (pulse) ข้อมือสองข้างพร้อมกัน ขาหนีบ ลาคอ
pulse หากชีพจรเบาเร็ว แสดงว่าอาจมีภาวะช็อก
-
-

❑ หรือประเมินด้วยการกดเล็บแล้วปล่อย หากสีชมพูใต้เล็บ (capillary


cap refill refill) กลับคืนในเวลาช้ากว่า 2 วินาที แสดงว่าอาจมีภ
I าวะช็อก
- -

101
ขั้นตอน การประเมินการไหลเวียนโลหิต ในพื้นที่หลังการปะทะ (ต่อ)
❑ หากสงสัยว่ามีกระดูกเชิงกรานหัก โดยเฉพาะในผู้บาดเจ็บจากระเบิด ปวด
-

เชิงกราน ตรวจพบเสียงกรอบแกรบ ขาขาด ไม่รู้สึกตัว หรือมีภาวะช็อก ให้


พิจารณาใช้อุปกรณ์รัดเชิงกราน (pelvic binder / wrapping) สอด
จากใต้ข้อพับเข่า เลื่อนขึ้นมาจนได้=
ระดับปุม่ กระดูก greater trochanter
ของกระดูกต้นขา (femur) แล้วรัดจนได้ยินเสียงคลิกของหัวเข็มขัด และใช้
ผ้าสามเหลี่ยมอีกผืนพันขาสองข้างเข้าด้วยกันในระดับเข่า

greater
trochanter
-
O sam pelvic
sling
102
ขั้นตอน การประเมินการไหลเวียนโลหิต ในพื้นที่หลังการปะทะ (ต่อ)
❑ หากไม่สามารถห้ามเลือดบริเวณรอยต่อของรยางค์ด้วยผ้าก๊อซชุบสารห้าม
เลือดที่ได้ทาไปแล้วในขั้นตัว m ให้ทาการห้ามเลือดด้วยอุปกรณ์กดห้าม
เลือดรอยต่อของรยางค์กบั ลาตัว เช่น sam junctional
tourniquet พันไว้กับเชิงกราน ใส่แป้นกดห้ามเลือดให้ตรงกับตาแหน่ง
บาดแผลที่รอยต่อรยางค์ แล้วปั๊มลมให้พองจนสามารถกดห้ามเลือดได้

sam junctional
tourniquet

103
ขั้นตอน การประเมินการไหลเวียนโลหิต ในพื้นที่หลังการปะทะ (ต่อ)
❑ การทา tourniquet conversion โดยการตรวจสอบการห้าม
เลือดของรยางค์ที่ได้ทาไว้จากการใช้สายรัดห้ามเลือด หากการส่งกลับใช้
เวลามากกว่า 2 ชั่วโมง แต่ไม่มากกว่า 6 ชั่วโมง ให้พิจารณาเปลี่ยนไป

=
ห้ามเลือดด้วยวิธีอื่น (เพื่อป้องกันเนื้อเยื่อส่วนอื่นใต้ต่อจุดที่ขันชะเนาะขาด
เลือดจนต้องถูกตัดขา) เช่น การใช้ผ้าก๊อซชุบสารห้ามเลือดยัดลงไปใน
บาดแผล แล้วกดด้วยแรงคงที่ให้แน่นอย่างน้อยเป็นเวลา 3 นาที จนเลือด
หยุด แล้วค่อยๆคลายสายรัดห้ามเลือดออกและใช้ผ้าปิดแผลปิดไว้อีกชั้น
หากพบว่ายังมีเลือดออกมาก ให้ขันสายรัดห้ามเลือดให้แน่นดังเดิม
104
ขั้นตอน การประเมินการไหลเวียนโลหิต ในพื้นที่หลังการปะทะ (ต่อ)
❑ ทาการเปิดเส้นเลือดดา ด้วยเข็มขนาด 18 เกจ ที่ข้อพับแขน หรือ ทาง
โพรงไขกระดูก (intraosseous infusion) หล่อไว้ด้วยน้าเกลือ
(saline lock) เพื่อเตรียมให้สารน้าทางหลอดเลือดดาในกรณีที่จาเป็น

105
hypothermia and head injury
การป้องกันภาวะอุณหภูมิตา่ และประเมินการบาดเจ็บที่ศรี ษะจากระดับความรูส้ กึ ตัว
hypothermia ขั้นตอนประเมินภาวะอุณหภูมิต่า ในพื้นที่หลังการปะทะ
❑ ภาวะช็อกจะทาให้เซลล์ต่างๆ ในร่างกายสร้างพลังงานลดลง เกิดอุณหภูมิกายต่า
(hypothermia) นามาซึ่งภาวะเลือดเป็นกรด (acidosis) และเป็นผลให้การ
- -

แข็งตัวของเลือดผิดปกติ (hypocoagulopathy) เลือดที่ออกจะไม่จับตัวเป็น


สะเก็ดปิดปากแผล ทาให้เลือดออกมาเรื่อยๆ จนเสียชีวิตได้
❑ ต้องทาการป้องกันภาวะอุณหภูมิกายต่า ด้วยการถอดหรือตัดเสื้อผ้าที่เปียกออก ห่ม
ปกคลุมด้วยผ้าห่มที่สามารถรักษาอุณหภูมิกายได้
106
head injury ขั้นตอน ประเมินการบาดเจ็บที่ศีรษะจากระดับ
ความรู้สึกตัว ในพื้นที่หลังการปะทะ
ประเมินระดับความรู้สึกตัว ด้วยระบบOavpu
✓ alert รู้สึกตัวดี ถามตอบได้ เช่น รู้ว่าตนเป็นใคร รู้เวลา สถานที่
-

✓ Respond to verbal ทาตามคาสั่งได้ เช่น ยกแขน


✓ Respond only to painful- stimuli ตอบสนองต่อความเจ็บปวด
แต่ไม่ตอบสนองต่อคาสั่งทางเสียง
✓ unresponsive to all stimuli ไม่ตอบสนอง/หมดสติ ถามช้าๆด้วย
น้าเสียงชัดเจน

107
สรุปประเด็นสาคัญ
❑ สถานการณ์นี้ยังคง อยู่ในอันตราย
❑ -7T
ทรั พยากรมีจากัด
❑ ต้องควบคุมอาการเลือดออกให้ได้
❑ =
เปิ ดทางเดินหายใจ การจัดท่าพักฟื้นของผู้บาดเจ็บ
❑ สังเกตการหายใจ
-

❑ ความเจ็บปวดจากการใช้สายรัดห้ามเลือด
❑ การประเมินระดับการรู้สติของผู้บาดเจ็บ
❑ การบั-7
นทึกอาการต่างๆ
108
การส่งกลับ
ผูบ้ าดเจ็บ
ทางยุทธวิธี
tactical
evacuation
care
109
❑ สามารถอธิบายและปฏิบัติ การส่งกลับผู้บาดเจ็บทางยุทธวิธี การลาเลียง
ด้วยมือ การใช้เปลแสวงเครื่อง และ การคัดแยกผู้บาดเจ็บได้ถูกต้อง

110
การลาเลียงผู้บาดเจ็บ
ประเมินประเภทของการบาดเจ็บ ก่อนเคลื่อนย้าย โดยประเมิน march
-

ของผูบ้ าดเจ็บซ้าเป็นระยะๆ หรือเมื่อมีการเปลีย่ นแปลง


m: massive hemorrhage การห้ามเลือดออกปริมาณมาก
a: airway การประเมิน และจัดการทางเดินหายใจ
r: respiration การประเมินการหายใจ และจัดการบาดแผลที่ทรวงอก
c: circulation การประเมินการไหลเวียนโลหิต
h: hypothermia and head injury การป้องกันภาวะ
อุณหภูมิต่าและประเมินการบาดเจ็บที่ศีรษะจากระดับความรู้สึกตัว
111
การส่งกลับผู้บาดเจ็บทางยุทธวิธี
Combat Casualty Evacuation Care
❑ การเตรียมผู้บาดเจ็บให้พร้อมสาหรับการส่งกลับ ซึ่งอาจจะเป็นการส่งกลับโดย
-

พาหนะทางการแพทย์ (medevac) หรือ การส่งกลับโดยไม่ใช้พาหนะทาง


- -

การแพทย์ (casevac)
-

❑ หากการส่งกลับนั้นเป็นผู้บาดเจ็บที่หมดสติและเดินทางโดยพาหนะที่ไม่ใช่
ทางการแพทย์ ผู้ช่วยชีวิตเชิงยุทธวิธีอาจต้องไปกับผู้บาดเจ็บ ขึ้นอยู่กับการสั่ง
การของผู้นาหน่วย ซึ่งหากเป็นเช่นนั้น ผู้ช่วยชีวิตเชิงยุทธวิธีต้องเฝ้าดู ระดับการ
-
- -

รู้สึกตัว ทางเดินหายใจ การหายใจ การเสียเลือด ของผู้บาดเจ็บอยู่ตลอดการ


- - - -

เดินทาง และอาจต้องให้การดูแลรักษาเพิ่มเติม
-

112
การลาเลียงผู้บาดเจ็บ
❑ การลาเลียงผู้บาดเจ็บด้วยการใช้มือเปล่าจะต้องมีความระมัดระวัง
- -

❑ การอุ้มด้วยท่าที่ไม่เหมาะสมอาจจะทาให้ผู้บาดเจ็บได้รับการบาดเจ็บมากขึ้น

❑ =
ควรกระทาอย่างเป็นระบบ ในทุกขั้นตอนของการเคลื่อนย้าย
การยก หรือ การเคลื่อนที่ผู้บาดเจ็บต้องทาด้วยความนุ่มนวลให้มากที่สุด
เท่าที่จะเป็นไปได้
❑ ผู้บาดเจ็บไม่ควรจะถูกเคลื่อนย้ายก่อนที่จะมีการประเมินอาการ และ ต้องให้
#

การปฐมพยาบาลก่อน (การช่วยตัวเอง เพื่อนช่วยเพือ่ น พลรบช่วยชีวติ )


--

และ การให้การรักษาพยาบาลอย่างฉุกเฉินจากนายสิบพยาบาล
-

113
การลาเลียงผู้บาดเจ็บด้วยมือ
-

❑ การลาเลียงอาจใช้อุ้มเพียงคนเดียว หรือสองคน
- -

❑ การอุ้มโดยใช้สองคนควรใช้เมื่อจาเป็น เพื่อความสะดวกสบายต่อผู้ป่วยเจ็บเป็น
- -

การลดความรุนแรงของภยันตรายจากบาดแผล และความเมื่อยล้าของผู้อุ้ม
❑ การเลือกใช้การอุ้มเพียงคนเดียว หรือสองคนนั้น ควรพิจารณาจากอันตรายที่จะ
บังเกิดแก่ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ
การลาเลียงด้วยมือกระทาได้ในโอกาสต่อไปนี้
1. เมื่อจัดหาเปลไม่ได้
-

2. มีความจาเป็นที่จะต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเจ็บ เพื่อช่วยชีวิตไว้เท่านั้น
-

3. ภูมิประเทศไม่อานวย ให้ลาเลียง หรือเคลื่อนย้ายด้วยวิธีอื่น


=
4. หมู ่เปลไม่สามารถออกปฏิบัติงานได้ เนื่องจากการปฏิบัติการของฝ่ายข้าศึก
114
การฝึกลาเลียงด้วยท่าอุ้มเดี่ยว

o
-

(1) อุ้มแบก
(2) อุ้มพยุง
(3) อุ้มกอดหน้า
(4) อุ้มกอดหลัง
(5) อุ้มทาบหลัง
(6) อุ้มลากด้วยคอ
(7) อุ้มลากด้วยมือ
115
(1) ท่าอุ้มแบก
❑ เป็นการอุ้มด้วยคนๆเดียว ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายที่สุดในการเคลื่อนย้าย
หลังจากที่ทาการจัดท่าของผู้บาดเจ็บที่หมดสติตามภาพแล้ว จึงทาการ
ยกขึ้นจากพื้นและประคองในท่าต่างๆ

(ก) (ข) (ค) (ง) (จ)

116
(ก) หลังจากจัดท่าให้ผู้บาดเจ็บนอนคว่าแล้ว ผู้อุ้มนั่งคร่อมตัวผู้บาดเจ็บ สอด
มือเข้าไปใต้หน้าอก และจับมือทั้งสองข้างเข้าไว้ด้วยกัน
(ข) ยกผู้บาดเจ็บขึ้นมาในท่าคุกเข่า คล้ายกับการเคลื่อนไปข้างหลัง
(ค) ค่อยยกตัวผู้ป่วยขึ้นจนขาเหยียดตรง และ ทาการล็อกเข่าไว้
(ง) เดินไปข้างหน้าให้ผู้บาดเจ็บอยู่ในตาแหน่งยืน เอนตัวผู้บาดเจ็บไปทางด้าน
หลังเพียงเล็กน้อย
(จ) ประคองผู้บาดเจ็บไว้ในอ้อมแขน ส่วนแขนข้างที่เหลือใช้จับที่ข้อมือของ
ผู้บาดเจ็บ ยกแขนของผู้บาดเจ็บให้สูงไว้เหนือศีรษะของผู้อุ้ม ลอดผ่านใต้วง
แขนของผู้บาดเจ็บ
117
(1) ท่าอุ้มแบก (ต่อ)

(ฉ) (ช) (ซ) (ด) (ต)

118
(ฉ) หมุนตัวเองอย่างรวดเร็ว หันหน้าเข้าหาผู้บาดเจ็บ และสอดแขนไว้ใต้เอวของ
ผู้บาดเจ็บนาตัวของผู้บาดเจ็บผ่านขึ้นบนไหล่ ในระหว่างนั้นให้สอดแขนไว้ที่
ระหว่างขาของผู้บาดเจ็บ
(ช) จับที่เอวของผู้บาดเจ็บ และ ยกแขนให้สูงผ่านศีรษะของผู้อุ้ม
(ซ) ก้มตัวลง และ ดึงแขนของผู้บาดเจ็บอยู่ให้อยู่บนและล่างของไหล่ นาลาตัวของ
ผู้บาดเจ็บผ่านไหล่ของผู้อุ้ม ในขณะเดียวกันสอด แขนไว้ที่ระหว่างขาของ
ผู้บาดเจ็บ
(ด) จับที่ข้อมือของผู้บาดเจ็บด้วยมือหนึ่งข้าง และ วางมืออีกข้างหนึ่งที่เข่าเพื่อการ
ประคอง
(ต) ยกลาตัวของผู้บาดเจ็บให้อยู่ในตาแหน่งที่ถูกต้อง มืออีกข้างจะว่างสามารถใช้
งานอย่างอื่นได้
119
(2) ท่าอุ้มพยุง
❑ ท่าอุ้มแบบนี้ผู้บาดเจ็บต้องสามารถเดินได้ หรือ พยุงได้ด้วยขาอีกหนึ่งข้าง
โดยใช้ผู้อุ้มคล้=
ายกับการประคอง
❑ ใช้ในการเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บในระยะทางไกลได้เท่าที่ผู้บาดเจ็บสามารถเดินได้
(ก) ยกผู้บาดเจ็บจากพื้น ให้อยู่ในตาแหน่งท่ายืน
(ข) จับข้อมือและยกแขนของผู้บาดเจ็บและ
พาดอ้อมไปทางด้านหลังลาคอของผู้อุ้ม
(ค) โอบเอวของผู้บาดเจ็บไว้เพื่อพยุงให้ผู้บาดเจ็บ
สามารถเดิน/ประคองตนเองได้โดยมีผู้อุ้มเป็นเครื่องพยุง
120
(3) ท่าอุ้มกอดหน้า

❑ ใช้ได้ดีในการอุ้มผู้บาดเจ็บในระยะทางสั้นๆ ประมาณ 50 เมตร


(ก) ยกผู้บาดเจ็บขึ้นมากจากพื้นในท่ายืน
ให้เหมือนกับวิธีการอุ้มแบก
(ข) สอดแขนข้างหนึ่งที่ใต้รักแร้ของ
ผู้บาดเจ็บและแขนอีกข้างอยู่ที่ ด้านหลัง
(ค) ยกผู้บาดเจ็บขึ้น
(ง) ยกผู้บาดเจ็บให้สูงระดับอกขึ้นเพื่อลดความเมื่อยล้า
121
(4) ท่าอุ้มกอดหลัง
❑ ใช้เฉพาะผู้บาดเจ็บที่รู้สึกตัวดีเท่านั้น เพราะว่าผู้ป่วยต้องช่วยจับที่หลังของผู้อุ้ม
-

(ก) ยกผู้บาดเจ็บให้อยู่ในท่ายืน
(ข) ใช้แขนโอบประคองรอบเอวของผู้บาดเจ็บ
ให้ผู้บาดเจ็บใช้แขนโอบที่รอบคอของผู้อุ้ม
(ค) แขนของผู้บาดเจ็บโอบข้ามไหล่ทั้งสองข้างผู้อุ้ม
(ง) โน้มตัวไปข้างหน้ายกผู้บาดเจ็บขึ้นให้อยู่บนหลังของ
ผู้อุ้ม และ ผู้อุ้มสอดมือไปกอดต้นขาของผู้บาดเจ็บไว้
122
(5) ท่าอุ้มทาบหลัง
-

❑ ง่ายในการเคลื่อนที่ ในระยะทางใกล้ๆ (50 ถึง 300 เมตร)


❑ เพื่อป้องกันอาการบาดเจ็บที่แขนของผู้บาดเจ็บ ผู้อุ้มควรจับมือผู้ป่วยไว้ที่ในท่าที่
ปล่อยให้แขนลงมา (ก) ยกผู้บาดเจ็บขึ้นจากพื้น
(ข) ใช้แขนประคองรอบๆตัวผู้บาดเจ็บและจับที่ข้อมือ
(ค) ยกมือผู้ป่วยขึ้นให้อยู่เหนือศีรษะให้แขนพาดผ่าน
ไหล่ทั้งสองข้าง
(ง) เคลื่อนไปข้างหน้า ประคองน้าหนักให้อยู่บนหลัง
(จ) จับที่แขนอีกข้างหนึ่งและ วางไว้ที่ไหล่ของผู้อุ้ม
(ฉ) โน้มไปข้างหน้า และ ยก ผู้บาดเจ็บที่อยู่บนหลังให้
สูงที่สุดเท่าที่จะทาได้ ให้น้าหนักอยู่บนหลังของผู้อุ้ม
123
(6) ท่าอุ้มลากด้วยคอ
(ก) เป็นวิธีที่เป็นประโยชน์มากในสนามรบ เพราะว่าผู้อุ้มสามารถทาการ
เคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บได้เสมือนกาลังคลานอยู่ข้างหลังกาแพงต่า พุ่มไม้เตี้ย
(ข) ถ้าผู้ป่วยหมดสติ ต้องระวังให้ศีรษะยกสูงจากพื้น
(ค) การลากด้วยวิธีนี้ไม่ควรใช้กับผู้บาดเจ็บแขนหัก
(ง) ผูกบริเวณข้อมือทั้งสองข้างของผู้บาดเจ็บไว้
(จ) ผู้อุ้มถ่างขาคร่อมตัวผู้ป่วยไว้หันหน้าเข้าหากัน
(ฉ) จับมือผู้บาดเจ็บไว้ให้เป็นห่วง คล้องไว้กับที่คอของผู้อุ้ม
(ช) ผู้อุ้มคลานไปข้างหน้าพร้อมกับลากตัว ผู้บาดเจ็บ
124
(7) ท่าอุ้มลากด้วยมือ
❑ วิธีนี้จะเหมาะสาหรับการเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บในทิศทางขึ้นหรือลงบันได
(ก) คุกเข่าลงที่ด้านศีรษะของผู้บาดเจ็บ ผู้อุ้มหงายฝ่ามือขึ้นแล้วสอด
เข้าไปใต้ไหล่ของผู้บาดเจ็บ และ จับไว้ให้แน่น
(ข) ยกขึ้นเล็กน้อย ประคองศีรษะ
(ค) ยก และ ลากผู้บาดเจ็บไปข้างหลัง
(ง) ถอยหลังมาหนึ่งก้าว ประคองศีรษะ
ปล่อยให้สะโพก และ ขาค่อยๆหล่นลงมาที่ละขั้น
หมายเหตุ ถ้าต้องเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บขึ้นข้างบน
ควรหันหลังขึ้นบันได และใช้ขั้นตอนเดียวกัน
125
การฝึกลาเลียงด้วยท่าอุ้มคู่
-

❑ เป็นการอานวยความสะดวกสบายให้กับผู้บาดเจ็บ และเป็น
การทาให้ผู้อุ้มเหนื่อยน้อยลง
(1) อุ้มคู่พยุง
(2) การอุ้มคู่กอดหน้า
(3) อุ้มคู่กอดหลัง
(4) อุ้มคู่ประสานแคร่
(5) อุ้มคู่จับมือ
126
(1) ท่าอุ้มคู่พยุง
❑ ใช้ได้ทั้งผู้ป่วยมีสติ และ หมดสติ
❑ ถ้าผู้บาดเจ็บสูงกว่าผู้อุ้มอาจจะต้องยกขาของผู้บาดเจ็บขึ้น และ ให้ผู้บาดเจ็บ
นั่งลงบนท่อนแขนของผู้อุ้ม มีขั้นตอนดังนี้
(ก) ช่วยให้ผู้บาดเจ็บยืน ใช้แขนประคองโดยโอบรอบเอว
(ข) จับข้อมือผู้บาดเจ็บโอบรอบไหล่ คอ ของผู้อุ้ม

127
(2) ท่าอุ้มคู่กอดหน้า
❑ เป็นประโยชน์สาหรับการเคลื่อนที่ระยะทางปานกลาง (50-300 เมตร)
เพื่อลดความเมื่อยล้าของผู้อุ้มควรยกผู้บาดเจ็บให้อยู่สูง ใกล้ระดับ
หน้าอกให้มากที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้
❑ การอุ้มแบบนี้ปลอดภัยที่สุดสาหรับการเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บที่หลัง
❑ ถ้าเป็นไปได้ผู้อุ้มควรจะรักษาระดับของศีรษะ และขาไว้ให้อยู่ในระดับ
เดียวกับลาตัว

128
(2) ท่าอุ้มคู่กอดหน้า (ต่อ)
(ก) คุกเข่าข้างเดียวที่ด้านข้างของผู้บาดเจ็บ สอดแขนลงที่ใต้หลังผู้บาดเจ็บ
บริเวณ เอว สะโพก และ เข่า
(ข) ยกผู้บาดเจ็บขึ้นวางบนเข่าของผู้อุ้ม
(ค) พลิกตัวผู้บาดเจ็บเข้าหาหน้าอกของผู้อุ้ม
ขณะลุกยืน และ ยกผู้ป่วยให้อยู่
ในระดับสูงเพื่อลดความเหนื่อยล้า

129
(3) ท่าอุ้มคู่กอดหลัง
-

❑ เหมาะสาหรับการเคลื่อนย้ายในระยะทางไกล มากกว่า 300 เมตร


❑ ผู้อุ้มที่มีความสูงมากกว่าควรจะอยู่ทางด้านศีรษะของผู้บาดเจ็บ

(ก) ผู้อุ้มคนหนึ่งจะแยกขาของผู้บาดเจ็บออก และ คุกเข่าลง


ระหว่างขา หันหลังให้ผู้บาดเจ็บสอดมือไว้ที่ใต้ขาผู้บาดเจ็บ
ผู้อุ้มอีกคนจะคุกเข่าลงด้านศีรษะ
ของผู้บาดเจ็บสอดมือของผู้บาดเจ็บขึ้นที่ใต้รักแร้ผ่านไปทาง
หน้าอก และ ประสานมือเข้าไว้ด้วยกัน
(ข) ผู้อุ้มทั้งสองคน ยกผู้บาดเจ็บขึ้นพร้อมกัน
130
(4) ท่าอุ้มคู่ประสานแคร่
-

❑ ใช้กับผู้บาดเจ็บที่มีสติ ใช้แขนโอบรอบไหล่ของผู้อุ้ม
❑ เหมาะสาหรับการเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บที่มีอาการบาดเจ็บที่ศีรษะ และ ขา
ในระยะทางปานกลาง และ เหมาะในการยกผู้บาดเจ็บวางในเปล

131
(5) ท่าอุ้มคู่จับมือ
❑ ใช้ในการอุ้มผู้บาดเจ็บในระยะทางสั้นๆไม่เกิน 50 เมตร
❑ ผู้บาดเจ็บอยู่ในท่านอนหงาย ผู้อุ้มคุกเข่าลงคนละข้างของผู้บาดเจ็บบริเวณสะโพก
ผู้อุ้มแต่ละคนสอดแขนใต้ต้นขา และ หลังของผู้บาดเจ็บ และ จับข้อมือซึ่งกันไว้
แล้วทาการยกผู้บาดเจ็บขึ้น
(ก) ผู้อุ้มทั้งสองจับข้อมือแต่ละข้างของกันและกัน เพื่อทาเป็นที่นั่ง
(ข) ผู้อุ้มทั้งสองย่อตัวต่าพอที่จะให้ผู้บาดเจ็บนั่งลงบนแคร่
ที่ประสานมือไว้แล้วให้ผู้บาดเจ็บใช้แขนทั้งสองข้าง
โอบไหล่ผู้อุ้มและทั้งคู่ยืนขึ้นพร้อมกัน

132
การลาเลียงผู้บาดเจ็บด้วยเปล
-

ประโยชน์
1. ทาให้ลาเลียงผู้ป่วยเจ็บด้วยวิธีการขนส่งต่างๆได้ โดยไม่ต้องนาผู้ป่วยเจ็บ
ออกจากเปลที่เขานอนอยู่ก่อนแล้ว
2. ทาให้สะดวกสบาย และง่ายต่อการที่จะนาผู้ป่วยเจ็บเคลื่อนย้าย
-

3. ผู้ป่วยเจ็บได้รับการกระทบกระเทือนน้อยลง ทาให้สบายขึ้น
-

4. ลดอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเคลื่อนย้ายให้น้อยลง
F

133
กฎทั่วไปในการเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บ
1. ในการเคลื่อนย้ายทุกครั้งจะต้องกระทาอย่างรอบคอบและเรียบร้อย
-

2. พลเปลที่อยู่ข้างหลังควรคอยสังเกตดูการเคลื่อนไหวของพลเปลที่อยู่ข้างหน้า
และคอยดูการปฏิบัติให้พร้อมกัน
3. การหามผู้บาดเจ็=*บบนเปลต้องเอาทางเท้าไปก่อน
4. ผู้ป่วยเจ็บกระดูกขาหักเวลาขึ้นบันได ให้เอาเท้าขึ้นก่อน ในเวลาลงให้เอา
ศีรษะลงก่อนเพื่อป้องกันมิให้น้าหนักกดลงในส่วนที่หัก
5. จะต้องรักษาระดับในเวลาหามเปลตลอดเวลา ต้องระมัดระวังเมื่อหามข้าม
เครื่องกีดขวางหรือหลุมบ่อต่างๆ (ถ้าเป็นไปได้พวกเปลแต่ละพวกเปล ควรมี
พลเปลที่มีความสูงใกล้เคียงกัน)
134
เปลแสวงเครื่อง : (IMPROVISED LITTERS)
❑ ทาขึ้นได้จากสิ่งของต่างๆ ในพื้นที่หรือภูมิประเทศส่วนมากของสิ่งของที่มี
ลักษณะผิวเรียบ มีขนาดเหมาะสม ได้แก่แผ่นกระดาน ประตู บานหน้าต่าง
ม้านั่ง บันได เตียงนอน
❑ เปลที่นามาดัดแปลงสามารถนามาใช้โดยปลอดภัย เช่น ผ้าห่ม เสื้อคลุมชนิดไม่
มีแขน ส่วนหนึ่งของเต๊นท์นอนบุคคล ผ้าใบชุบน้ามัน เสื้อแจ๊คเก๊ต เสื้อเชิ้ต
ถุงกระสอบ ถุงใส่ปลอกหมอนหรือฟูกนอน ผ้าคลุมเตียง
❑ คานเปลสามารถดัดแปลงได้จากกิ่งไม้ที่แข็ง เสาเต็นท์
-
-

❑ ถ้าหากสิ่งของที่นามาดัดแปลงเป็นคานไม่ได้ สิ่งของที่มีขนาดใหญ่ เช่น ผ้าห่ม


-

นอน อาจนามาม้วนจากปลายทั้งสองด้านเข้าหากึ่งกลางม้วนผ้าห่มที่เกิดขึ้น
135
ขั้นตอน การทาเปลดัดแปลงจากผ้าห่ม
-

1. 2. 3.

136
การทาเปลดัดแปลงจากเสื้อ
-

O
137
การคัดแยก
ผูบ้ าดเจ็บ
tactical
triage
138
การคัดแยกผู้บาดเจ็บ
❑ การคัดแยก (triage) หมายถึง การแบ่งแยกประเภท ซึ่งมีพื้นฐาน
มาจาก การพิจารณาความต้องการของผู้บาดเจ็บ
1. เพื่อการรักษา
=
2. เพื่อการส่งกลับ
❑ การคัดแยกต้องกระทาอย่างเป็นระบบและมีความต่อเนื่อง
หลังจากที่ได้ทาการประเมินอาการขั้นต้นเรียบร้อยแล้ว

139
หลักการของการคัดแยกผูบ้ าดเจ็บ
❑ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด
-

❑ ส่งกาลังพลคืนไปปฏิบัติหน้าที่ให้ได้เร็วที่สุด


=
ทาการประเมินอย่างต่อเนื่อง
ควรทาการคัดแยกผู้ป่วยซ้าอีก
❑ เคลื่อนย้ายด้วยความรวดเร็ว
-

❑ วางแผน เตรียมพร้อม และฝึกซ้อม


140
การคัดแยกผูบ้ าดเจ็บเพือ่ ทาการรักษา
เร่งด่วน - ผู้ป่วยที่ต้องการการรักษาทันที เพื่อรักษาชีวิต แขน ขา ดวงตา
-

ooo's's รอได้
'
- ผู้ป่วยที่ต้องการทาให้อาการคงที่ก่อน และทาการรักษาแต่สามารถรอได้
- -

-
หลายๆ ชั่วโมง โดยที่ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย
-

n si เล็กน้อย - ผู้บาดเจ็บเล็กน้อย โดยอาการไม่แย่ลงไปกว่าเดิม ผู้บาดเจ็บเหล่านี้


-

สามารถทาการช่วยเหลือตนเองได้ ช่วยเพื่อนได้
หมดหวัง - ผู้บาดเจ็บที่ค=าดว่าจะเสียชีวิต ดังนั้นการใช้ทรัพยากรทางการแพทย์อาจ
เกิดประโยชน์น้อย ควรใช้เวลาในการรักษา ผู้บาดเจ็บที่มีความสาคัญ
เร่งด่วนกว่า
141
triage
O
E.
Casualty : no pulse

algorithm / no respirations

for tccc

142
ขั้นตอนต่างๆ ในการคัดแยกผู้บาดเจ็บ
ก. สถานการณ์ทางยุทธวิธี และประมาณการ
❑ ค้นหาผู้บาดเจ็บ และแบ่งแยกเพื่อการรักษา

=
❑ ประเมิ นและจัดแบ่งผู้บาดเจ็บเพื่อใช้ เจ้าหน้าที่และอุปกรณ์ที่มีอยู่ ให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
❑ ให้การรักษาขั้นแรกสาหรับผู้บาดเจ็บที่มีโอกาสรอดชีวิตก่อน
-

❑ เป้าหมายแรกคือ การส่งกาลังพลที่มีบาดแผลเล็กน้อยกลับไปปฏิบัติหน้าที่

❑ ทาการคัดแยก และจั= ดลาดับความเร่งด่วนในการรักษา


143
ก. สถานการณ์ทางยุทธวิธี และประมาณการ (ต่อ)
❑ ผู้บาดเจ็บจาเป็นต้องถูกส่งไปยังพื้นที่ปลอดภัยเพื่อการรักษาหรือไม่
-

❑ สารวจจานวนผู้บาดเจ็บ ตาแหน่งที่บาดเจ็บ และความรุนแรงในการบาดเจ็บ


-

❑ ความช่วยเหลือที่มีอยู่ (ช่วยเหลือตนเอง เพื่อนช่วยเพื่อน เจ้าหน้าที่แพทย์)

=
❑ ความสามารถในการสนั บสนุนการส่งกลับ และความต้องการมีอะไรบ้าง

144
ข. ประเมินผูบ้ าดเจ็บ และ จัดลาดับความสาคัญในการรักษา
O
1) เร่งด่วน หมายถึง ผู้บาดเจ็บที่ต้องการการรักษาทันทีเพื่อรักษาชีวิต แขน ขา
- -

ดวงตา ผู้บาดเจ็บที่มีความสาคัญมากเป็นอันดับหนึ่งในการรักษา ได้แก่


-


✓ ผู้บาดเจ็บที่มีการอุ ดกั้นของระบบทางเดินหายใจ
✓ ผู้บาดเจ็บที่ระบบหัวใจขัดข้อง
✓ ผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก ที่มีภาวะหายใจลาบาก
✓ เลือดออกเป็นจานวนมาก ช็อก
✓ แผลไหม้บริเวณใบหน้า คอ แขน เท้า อวัยวะเพศ

หมายเหตุ ผู้บาดเจ็บที่อยู่ในภาวะ Cardio respiratory distress ไม่ถูกจัดอยู่ในพวก


เร่งด่วน ในสนามรบ ผู้บาดเจ็บเหล่านี้ถูกจัดอยู่ในภาวะหมดหวัง
-

145
Q
2) รอได้ หมายถึงผู้บาดเจ็บที่ไม่ได้มีความเสี่ยงถึงชีวิต แต่ไม่สามารถช่วยเหลือ
ตนเองได้ ได้แก่
- -

✓แผลเปิดที่หน้าอก ที่ไม่มีภาวะหายใจลาบาก
✓แผลเปิดที่ช่องท้อง โดยไม่มีอาการช็อก
✓การบาดเจ็บที่ตา แต่ไม่มีปัญหาการมองเห็น
✓แผลเปิดอื่นๆ ที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
✓กระดูกหักที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
✓แผลไหม้ระดับสองและสาม (ไม่รวมที่ใบหน้า มือ เท้า อวัยวะเพศ) มีพื้นที่ 20%
ของพื้นผิวร่างกายทั้งหมดหรือมากกว่า
✓มีอาการเล็กน้อย จากการโดนสารพิษ
146
0
3) บาดเจ็บเล็กน้อย สามารถช่วยเหลือตนเองได้
✓มีแผลถลอกเล็กน้อย และแผลฟกช้า
✓กล้ามเนื้อตึง เคล็ด ขัด ยอก
✓มีปัญหาความเครียดเล็กน้อย
✓มีแผลไหม้ระดับหนึ่งและสอง

147
O
4) ผู้บาดเจ็บหมดหวัง ผู้บาดเจ็บที่มีอาการรุนแรง ซับซ้อนและต้องใช้เวลานานในการ
- -

รักษาเพื่อช่วยให้รอดชีวิต ได้แก่
✓บาดเจ็บที่ศีรษะอย่างรุนแรง
✓มี=แผลไหม้เกิน 85 % ของพื้นผิวร่างกาย
✓มีอาการแสดงว่าได้รับพิษจากสารเคมี และอันตรายถึงชีวิต
#

*** (update) แต่ควรพิจารณาการทา CPR ก่อนการส่งกลับทางยุทธวิธี ในราย


ดังต่อไปนี้
✓ Hypothermia ผู้บาดเจ็บที่มีอาการอุณหภูมิกายต่า
=า
✓ Near drowning ผู้บาดเจ็บที่มีอาการจากการจมน้
✓ Electrocution ผู้บาดเจ็บที่มีอาการจากการถูกไฟฟ้าช็อต
-

✓ Other non-traumatic causes สาเหตุอื่นที่ไม่ได้เกิดจากการบาดเจ็บ


148
ค. การจัดลาดับความเร่งด่วนในการส่งกลับทางการแพทย์
(1) ประเภทด่วนที่สดุ (urgent) ทาการส่งกลับเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
-

หรือภายใน 2 ชม. เพื่อทาการรักษาชีวิต แขน ขา ดวงตา


❑ ถ้าเราไม่สามารถควบคุมอาการผู้บาดเจ็บได้ แต่ผู้บาดเจ็บมีโอกาสรอดชีวิตให้จัด
- -

อยู่ในประเภทนี้
❑ กลุ่มอาการที่อยู่ในประเภทนี้ ได้แก่
✓สภาวะ ที่การหายใจ ลาบาก
✓ช็อก ที่ไม่ตอบสนองต่อการให้สารน้าทางหลอดเลือดดา
✓ไม่รู้สึกตัว เป็นเวลานานๆ
✓บาดเจ็บที่ศีรษะ มีแรงดันในสมอง (Intracranial injuries)
149
✓ แผลไหม้ 20-85 %
✓ แผลเปิดช่องอก ช่องท้อง ที่มีความดันโลหิตลดลง
✓ บาดแผลทะลุ ที่ควบคุมเลือดที่ออกไม่ได้
✓ กระดูกหักเปิด มีเลือดออก ควบคุมเลือดที่ออกไม่ได้
✓ มีบาดแผลที่ใบหน้าอย่างรุนแรง

150
(2) ประเภทด่วน (priority) ต้องทาการส่งกลับภายใน 4 ชม.
-

❑ ผู้บาดเจ็บประเภทนี้ อยู่ในสภาพที่มีอาการไม่คงที่ หรือมีอาการแย่ลงและ


-
-

เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการบาดเจ็บ ได้แก่
-

✓ บาดแผลปิดที่ทรวงอก เช่นกระดูกซี่โครงหักแต่ไม่มีเศษชิ้นส่วน หรือการบาดเจ็บ


ที่รบกวนการหายใจ
✓ การบาดเจ็บที่เนื้อเยื่ออ่อน และแผลหักแบบเปิด-ปิด
✓ บาดแผลที่ช่องท้อง แต่ความดันโลหิตยังไม่ลดลง
✓ การบาดเจ็บที่ดวงตา แต่ไม่เป็นอันตรายต่อการมองเห็น
✓ การบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง
✓ บาดแผลไหม้ที่ มือ หน้า เท้า อวัยวะเพศ เหลือพื้นที่ผิวหนังของร่างกาย < 20%
151
(3) แบบปกติ (routine) เป็นการส่งกลับทางการแพทย์ภายใน 24 ชม.
-

สาหรับการรักษาต่อ ไม่จาเป็นต้องรีบทาการส่งกลับอย่างเร่งด่วน
-

➢ ผู้บาดเจ็บอยู่ในภาวะที่ไม่ร้ายแรงสามารถรอการส่งกลับได้ นานถึง 24 ชม.


➢ ผู้บาดเจ็บในกลุ่มนี้ได้แก่ บาดแผลต่างๆดังนี้
✓แผลไหม้ 20-80 % ของพื้นที่ร่างกาย ผู้บาดเจ็บตอบสนองต่อการให้ IV
✓กระดูกหักที่ไม่รุนแรง
✓แผลเปิด แผลที่ทรวงอกโดยไม่มีภาวะหายใจลาบาก
✓ผู้ป่วยจิตเวช ที่
✓ผู้ป่วยที่สิ้นสุดการรักษา
152
(4) แบบด่วนยุทธการ (Tactical Urgent)
-

เป็นการส่งกลับทางการแพทย์เมื่อมียานพาหนะในการส่งกลับ ได้แก่
✓ผู้บาดเจ็บที่มีแผลเปิดเล็กน้อย
✓เคล็ด ขัด ยอก
✓แผลไหม้ < 20 %

153
สรุปประเด็นสาคัญ
❑ ถ้ายังไม่ปลอดภัยจะยังไม่ทาการรักษาผู้บาดเจ็บ ให้ยิงตอบโต้ก่อนเพื่อให้เกิด
-

อานาจการยิงที่เหนือกว่า
-

❑ ป้องกันตัวเองก่อน ยังมีผู้บาดเจ็บคนอื่นที่ต้องการรักษา
-

❑ ถ้าไม่มีสัญญาณชีพจะไม่ทาการรักษา ไม่ทาcpr (ยกเว้นในบางราย)


-

❑ ป้องกันการเสียเลือดก่อนเป็นลาดับแรก เพื่อลดการเสียชีวิต
-

❑ เมื่อปลอดภัยและมีเวลาพอจึงทาการประเมิน ตรวจเพิ่มเติมและทาการรักษาต่อ
❑ รี=
บทาการเคลื่อนย้ายและส่งกลับเมื่อทาได้
154

You might also like