ความยุติธรรม

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

 เป็ นเรื่องทีถ่ กเถียงกันทีใ่ นปรัชญาตะวันตกเป็ นเวลานานนับพันปี

 เป็ นแนวคิดหรือหลักอุดมคติ หลักคุณธรรมสูงสุดในศีลธรรมของมนุ ษยชาติ


เป็ นเป้ าหมายอุดมคติของกฎหมาย หรือเป็ นเสมือนชีวติ ของกฎหมาย

 ความยุตธิ รรม เป็ นคาทีใ่ ห้นิยามยากทีส่ ุดในทุกภาษา

 มีบทบาทสาคัญในการใช้เป็ นหลักคุณธรรมพื้นฐานทีถ่ กู อ้างอิงเพือ่ แก้ไขปัญหา


พิพาทขัดแย้งต่าง ๆ ในหมูบ่ คุ คลทีย่ ดึ มันหรื
่ อศรัทธาในคุณธรรมอุดมคติน้ ี
 ทฤษฎีทถ่ี อื ว่าความยุตธิ รรมเป็ นสิง่ เดียวกับกฎหมาย
 ทฤษฎีน้ ปี รากฏมาตัง้ แต่กฎหมายของโมเสสของพวกยิวโบราณ อีกทัง้ พระคริสต์
ธรรมคัมภีรฉ์ บับเก่า ทีถ่ อื ว่ากฎหมายและความยุตธิ รรมเป็ นสิ่งเดียวกัน
เนื่องจากต่างล ้วนมีกาเนิดมาจากพระเจ้า
 Hans Kelsen ความยุตธิ รรมคือการรักษาไว้ซง่ึ คาสัง่ ทีเ่ ป็ นกฎหมายโดย
การปรับใช้คาสัง่ นัน้ อย่างมีมโนธรรม
 Alf Ross ความยุตธิ รรมคือการปรับใช้กฎหมายอย่างถูกต้อง อันเป็ นสิง่
ตรงข้ามกับการกระทาสิง่ ใดตามอาเภอใจ
 คาพิพากษาฎีกาที่ 144/2459 ความยุตธิ รรม แปลว่า ความประพฤติอนั ชอบ
ด้วยพระราชกาหนดกฎหมายเท่านัน้ ความเห็นส่วนตัวบุคคลย่อมแปรปรวนไป
ต่าง ๆ ไม่มยี ุตเิ ป็ นยุตธิ รรมไม่ได้เลย

 คาพิพากษาฎีกาที่ 211/2473 กฎหมายต้องแปลให้เคร่งครัดตามกฎหมายทีม่ อี ยู่


จะแปลให้คล ้อยตามความยุตธิ รรมไม่ได้
 ทฤษฎีทเ่ี ชื่อว่าความยุตธิ รรมนัน้ เป็ นอุดมคติในกฎหมาย
 ทฤษฎีน้ กี าหนดสถานภาพเชิงคุณค่าของความยุตธิ รรมได้รบั การยกย่องเชิดชูไว้
สูงกว่ากฎหมาย
 มองความยุตธิ รรมในภาพเชิงอุดมคติอนั เป็ นวิธคี ดิ ในทานองเดียวกันกับปรัชญา
กฎหมายธรรมชาติ หรือความยุตธิ รรมโดยธรรมชาติ
 เจตนาทีแ่ ท้จริงของกฎหมายธรรมชาติคอื เจตนาทีม่ งุ่ ยืนยันว่ากฎหมายมิใช่
กฎเกณฑ์หรือบรรทัดฐานทางสังคมทีม่ คี วามยุตธิ รรมถูกต้องโดยตัวของมันเอง
แต่ยงั มีความดีงามหรือแก่นของความยุตธิ รรมทีอ่ ยู่เหนือและกากับควบคุม
เนื้อหาแห่งกฎหมายหรือเบื้องหลังกฎหมาย
 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ 9 ทางมีพระราชดารัสว่า “โดยกฎหมาย
เป็ นแต่เครื่องมือในการรักษาความยุตธิ รรมดังกล่าว จึงไม่ควรถือว่ามี
ความสาคัญยิง่ ไปกว่ายุตธิ รรม หากควรต้องถือว่าความยุตธิ รรมมาก่อน
กฎหมายและอยู่เหนือกฎหมาย การพิจารณาพิพากษาอรรถคดีใดๆ โดย
คานึงถึงแต่ความถูกผิดตามหลักกฎหมายนัน้ ดูจะไม่เป็ นการเพียงพอ จาต้อง
คานึงถึงความยุตธิ รรมซึง่ เป็ นจุดประสงค์ดว้ ยเสมอ การใช้กฎหมายจึงจะมี
ความหมายและได้ผลทีค่ วรจะได้”
 ความยุตธิ รรมตามแบบพิธหี รือความยุตธิ รรมตามรูปแบบ หมายถึง ความ
ยุตธิ รรมเชิงกระบวนการทีม่ หี ลักมาตรฐานในการได้รบั ปฏิบตั หิ รือวินิจฉัย
เช่นเดียวกัน หรือถือหลักความเสมอภาคในการปฏิบตั ิ อันเป็ นการบังคับใช้
กฎหมายอย่างไม่มอี คติหรือความลาเอียง ซึง่ เป็ นการเน้นรูปแบบความสาคัญ
ของกระบวนการปรับใช้กฎหมายอย่างเป็ นธรรมเหนือสิง่ อืน่ ใด
 ความยุตธิ รรมตามเนื้อหาหรือความยุตธิ รรมในสาระ หมายถึง การพิจารณา
ความชอบธรรมของผลลัพธ์ทม่ี งุ่ หวังให้เกิดขึ้นมิใช่เพียงเล็งแต่ความเป็ นธรรม
ในเรื่องกระบวนการปรับใช้ แต่ความยุตธิ รรมอยู่ทส่ี าระสาคัญที่กาหนดเนื้อหา
ของกฎหมายเพือ่ ความสอดคล้องกับหลักคุณค่าพื้นฐานของสังคมหรือความ
ถูกต้อง ความเหมาะสมกับยุคสมัยและประโยชน์สุขของส่วนรวม จากที่มผี ู ้
กล่าวไว ้ “สิง่ ทีถ่ กู ต้องตามกฎหมายนัน้ สิง่ นัน้ ไม่จาต้องยุตธิ รรมเสมอไป”
 หมายถึง การมุง่ เน้นบทบาทหน้าทีค่ วามยุตธิ รรมโดยตรงกับวิถที างจาแนกหรือ
แบ่งปันทรัพยากรหรือสิง่ ทีม่ คี ่าแก่สมาชิกของสังคมอย่างถูกต้อง เหมาะสม เป็ น
ธรรมเกี่ยวกับการแบ่งสันปันส่วนในผลประโยชน์และภาระหน้าทีข่ องสมาชิกทัว่
ทัง้ สังคม ซึง่ เป็ นผลลัพธ์จากสถาบันทางสังคมอันสาคัญ อาทิ ระบบทรัพย์สนิ
หรือเศรษฐกิจหรือการจัดการองค์การสาธารณะ เป็ นต้น

You might also like