Legal Philosophy1

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 29

นิติปรัชญา

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์นิก สุ นทรธัย


Legal Philosophy
• จํานวนหน่วยกิต 2 หน่วยกิต 2(2/2-0-0)
• รหัสวิชา LA 3112
• ภาคการศึกษาที่ 2/2563
• วิชาบังคับก่อน ไม่มี
คําอธิบายรายวิชา
• ประวัติและผลงานของนักปรัชญากฎหมายในสํานักความคิดกฎหมาย
ต่าง ๆ ปรัชญาที่เป็ นรากฐานของทฤษฎีกฎหมายโดยเน้นเรื่ อง
ความหมายของกฎหมาย อํานาจอธิปไตย โทษ สิ ทธิ ความยุติธรรม
ความเป็ นธรรมในสังคม ความเสมอภาค อิทธิพลของนิติปรัชญาต่อการ
สร้างและการใช้กฎหมาย นิติวธิ ีตามกฎหมายมหาชนและนิติวิธีตาม
กฎหมายเอกชน
จุดมุ่งหมายรายวิชา
• เพื่อให้นกั ศึกษาได้เข้าใจถึงประวัติและผลงานของนักปรัชญากฎหมาย
ในสํานักความคิดทางกฎหมายต่าง ๆ
• เพื่อให้นกั ศึกษาเข้าใจถึงปรัชญาที่เป็ นรากฐานของทฤษฎีกฎหมาย
• เพื่อให้นกั ศึกษาเข้าใจถึงอิทธิพลของนิติปรัชญาต่อการสร้างและการใช้
กฎหมาย
• เพื่อให้นกั ศึกษาเข้าใจถึงนิติวธิ ีตามกฎหมายมหาชนและนิติวธิ ีตาม
กฎหมายเอกชนและตระหนักถึงความสําคัญของนิติวธิ ี
กิจกรรมการเรี ยนการสอน
• การบรรยาย
• การอภิปรายซักถาม
• การศึกษาจากตํารา
• การทําแบบฝึ กหัดตอบปั ญหาเชิงวิเคราะห์
• การศึกษาด้วยตนเองในงานที่ได้รับมอบหมาย
กําหนดการวัดและประเมิน
• นักศึกษาต้องมีเวลาเรี ยนไม่นอ้ ยกว่า 80 %
• การสอบกลางภาค 30 คะแนน
• การสอบปลายภาค 60 คะแนน
• คะแนนเก็บ 10 คะแนน
กําหนดการสอน
• ครั้งที่ 1
แนะนํารายวิชา
ความหมาย ขอบเขตและความสําคัญของวิชา
ความหมายของปรัชญา
ความหมายของนิติปรัชญา
ครั้งที่ 2
การศึกษาประวัติศาสตร์ความคิด
สมัยโบราณ

ครั้งที่ 3
สมัยกลาง
สมัยใหม่
ครั้งที่ 4
รัฐสมัยใหม่และกฎหมายสมัยใหม่
ปรัชญากฎหมายธรรมชาติ
ครั้งที่ 5
ความคิดสํานักกฎหมายประวัติศาสตร์
ครั้งที่ 6
ตวามคิดสํานักกฎหมายบ้านเมือง/ทฤษฎีปฏิฐานนิยม
ครั้งที่ 7
ลัทธิอรรถประโยชน์
ทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา

สอบกลางภาค
ครั้งที่ 8 ทฤษฎีกฎหมายของมาร์กซิ สต์
สัจนิยมทางกฎหมาย
ครั้งที่ 9
การเคารพนับถือกฎหมาย
การดื้อแพ่งกฎหมายของประชาชน
ครั้งที่ 10
หลักนิติธรรม
ครั้งที่ 11
หลักความยุติธรรม
ครั้งที่ 12
วิพากษ์เรื่ องความยุติธรรม
ครั้งที่ 13
การบังคับควบคุมศีลธรรมโดยกฎหมาย
ครั้งที่ 14
พุทธศาสนากับปรัชญาไทย/นิติศาสตร์แนวพุทธ
ครั้งที่ 15 วิพากษ์เรื่ องความยุติธรรม/กฎหมายกับความเป็ นธรรมใน
สังคมไทย
1. กีรติ บุญเจือ แก่นปรัชญายุคกลาง กรุ งเทพ : จุฬา
2. จรัญ โฆษณานันท์ นิติปรัชญา กรุ งเทพ : รามคําแหง
3. ปรี ดี เกษมทรัพย์ นิติปรัชญา กรุ งเทพ : ธรรมศาสตร์
4. พระธรรมปิ ฎก นิติศาสตร์แนวพุทธ กรุ งเทพ
5. สมยศ เชื้อไทย นิติปรัชญาเบื้องต้น กรุ งเทพ : วิญญูชน
• ในมหาวิทยาลัยชั้นนําของโลกนั้น โดยมากเขาไม่ได้สอนกันแต่เฉพาะ
ความรู ้กฎหมายคือ Knowledge of law แต่เพียงอย่างเดียว
เท่านั้น แต่จะสอนให้ซึมซาบเข้าไปในใจของนักศึกษาถึง The
spirit of law ซึ่ งหมายถึงจิตวิญญาณของกฎหมาย

Prof.James Barr Ames


วิชาการหรื อศาสตร์ต่าง ๆ ในโลก
• แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่
• ศาสตร์เฉพาะ และ ปรัชญา
• ศาสตร์เฉพาะ คือ วิชาที่มองโลกและชีวติ ในส่ วนใดส่ วนหนึ่งและศึกษา
เฉพาะในส่ วนนั้น ๆ (Particular Science) เช่น ฟิ สิ กส์ เคมี
ชีววิทยา ประวัติศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ เป็ นต้น
• ศาสตร์เฉพาะ เป็ นความรู ้ที่ยงั ไม่สมบูรณ์ หากมองโลกและชีวิต
โดยรอบด้านเพื่อให้เห็นว่าสรรพสิ่ งทั้งหลายเกี่ยวโยงเป็ นอันเดียวกันจน
มองเห็นความเป็ นเอกภาพ ความรอบรู ้ คือ ปรัชญา
ศาสตร์เฉพาะ
• คือวิชาที่ศึกษาสรรพสิ่ งเป็ นส่ วน ๆ จึงแยกออกเป็ นหลายวิชา เช่น วิชา
วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Science) และศาสตร์ทาง
วัฒนธรรม (Cultural Science)
• เหตุที่แยกออกเป็ น 2 ประเภท เพราะว่าปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในโลกนี้อาจ
แบ่งออกได้ เป็ น 2 ประเภท
• ปรากฏการณ์ธรรมชาติ และปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรม
• ปรากฏการณ์ธรรมชาติได้แก่ปรากฏการณ์ที่มีอยู่ คงอยู่ เปลี่ยนแปลงไป
ด้วยตัวของมันเอง เกิดโดยไม่เกี่ยวกับเจตจํานงของมนุษย์ อาทิ ดวงดาว
ภูเขา แม่น้ าํ ทะเล เป็ นต้น
• ปรากฏการณ์ทางวัฒนธรรม เป็ นปรากฏการณ์ที่จิตใจของมนุษย์มีส่วน
เข้าไปปรุ งแต่งก่อให้เกิดขึ้น จึงเป็ นปรากฏการณ์ที่มีความหมายหรื อมี
ความมุ่งหมาย อาทิ รัฐ กฎหมาย ครอบครัว กองทัพ
วิชาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
• วิชาที่นาํ เอาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติมาศึกษา อาจแยกออกเป็ นหลาย
แขนงด้วยกัน เช่น ฟิ สิ กส์ เคมี ชีววิทยา ดาราศาสตร์ เป็ นต้น โดยจะ
ศึกษาเพื่อค้นพบกฎเกณฑ์ที่แน่นอนของปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ หรื อ
ที่เรี ยกว่า กฎเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์
วิชาศาสตร์ทางวัฒนธรรม
• วิชาที่ปรากฏการณ์ศึกษาถึงทางวัฒนธรรม คือปรากฏการณ์ที่มนุษย์มี
ส่ วนปรุ งแต่งสร้างสรรค์ข้ ึนด้วยจิตของมนุษย์เอง แยกออกได้เป็ น 2
แขนงด้วยกัน คือ สังคมศาสตร์ (Social Science) และ
มนุษยศาสตร์ (Humanities)
สังคมศาสตร์
• วิชาที่ศึกษามนุษย์ในฐานะที่มนุษย์มีชีวิตอยูร่ วมกันเป็ นชุมชนที่มี
ลักษณะเป็ นกลุ่มเป็ นก้อนเป็ นการถาวรที่เรี ยกว่าสังคม มีหลายสาขาตาม
ประเภทของปรากฏการณ์ที่มีอยูใ่ นสังคม เช่น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์
สังคมวิทยา เป็ นต้น
• แต่ละสาขาล้วนศึกษาเกี่ยวข้องกับมนุษย์ดว้ ยกันทั้งสิ้ น โดยเกี่ยวข้องกับ
มนุษย์ในฐานะที่เป็ นหมู่ เป็ นเหล่า เป็ นปึ กแผ่น เป็ นสังคม
มนุษยศาสตร์
• เป็ นวิชาที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณและได้ฟ้ื นฟูข้ ึนใหม่ในราวศตวรรษที่
11-12 โดยมุ่งความสนใจมาสู่ ตวั มนุษย์เอง เรี ยกว่า มนุษยนิยม
(Humanist)
• วิชามนุษยศาสตร์ มีหลายสาขาด้วยกัน เช่น ประวัติศาสตร์ ไวยากรณ์
วรรณคดี ศิลปะ ดนตรี เป็ นต้น
• นักปราชญ์ในสํานักนี้ นิยมกรี กและโรมัน เชื่อว่าวิชาความรู ้ท้ งั ปวงเกิด
จากความมีเหตุผลของมนุษย์ และจะช่วยนําทางให้มนุษย์บรรลุความเป็ น
มนุษย์ที่สมบูรณ์
• แนวคิดแบบมนุษยนิยมนั้น วิชาที่ตอ้ งศึกษาเบื้องต้น คือ ไวยากรณ์
วาทศิลป์ วิภาษวิธี และชั้นสู งอีก 4 วิชา คือ คณิ ตศาสตร์ เรขาคณิ ต ดารา
ศาสตร์ ดนตรี วิชาเหล่านี้ บางทีกเ็ รี ยกกันว่า ศิลปศาสตร์ (Liberal
Arts)
• ทําให้คนเป็ นผูร้ ู ้ถึงคุณค่าที่จะชื่นชมในสิ่ งที่ดีในชีวิต ทําให้มนุษย์
สมบูรณ์ข้ ึน มีจิตใจกว้างขวางและเป็ นเสรี ยงิ่ ขึ้น ทําให้ผศู ้ ึกษาได้ถูก
ปลูกฝัง Acquired Taste ขึ้นมาให้ชื่นชมสิ่ งที่ดีงามในโลก เกิด
รสนิยมชั้นสู งที่ละเอียดอ่อน
• ตั้งอยูบ่ นพื้นฐานของความเชื่อในเหตุผลและความรักในศิลปะ
• เป็ นพื้นฐานของการพัฒนาตนเองให้เป็ นคนคล่องแคล่วรอบรู ้ เป็ นคนที่
มีชีวติ ที่คลุกคลีอยูก่ บั โลกได้เป็ นอย่างดี มุ่งให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์
• ต่อมาได้รับอิทธิพลจากความเจริ ญของการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์
ธรรมชาติ ทําให้วชิ าการทางสังคมศาสตร์พฒั นาวิธีการศึกษา เกิด
วิชาการใหม่ ๆ ขึ้น อาทิ สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ โบราณคดี เป็ นต้น
โดยอาศัย Scientific Method
• นิติศาสตร์เป็ นสังคมศาสตร์ หรื อมนุษยศาสตร์?
ศาสตร์สากลหรื อปรัชญา
• มองโลกอย่างเป็ นทั้งมวล (As a Whole) มิได้เจาะจงเฉพาะส่ วน
ใดส่ วนหนึ่ง
• เป็ นสิ่ งที่ทาํ ได้ยาก เพราะตามปกติมนุษย์รับรู ้สิ่งต่าง ๆ โดยผ่านประสาท
สัมผัส และเพ่งจํากัดอยูเ่ ฉพาะสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งเป็ นราย ๆ ไป
• ความมุ่งหมายของปรัชญาคือการยกระดับความคิดให้สูงขึ้นไปสู่
ความคิดบริ สุทธิ์
• แสวงหาความเป็ นเอกภาพของสรรพสิ่ ง แทนที่มุ่งสู่ รายละเอียดของสิ่ ง
ต่างๆ เฉพาะสิ่ ง
• เราจะพบว่าสิ่ งที่เหมือนกันในที่สุดคือ ความเป็ น ความมี (Being)
• การศึกษาปรัชญาจึงเป็ นการศึกษา “ความเป็ นอย่างที่มนั เป็ น” เรี ยกว่า
วิชาอภิปรัชญา (Metaphysics)
• การศึกษาว่าความคิดเป็ นอะไร ความรู ้มีข้ ึนได้อย่างไร เป็ นหน้าที่ของ
ญาณวิทยา (Theory of Knowledge) ที่เป็ นส่ วนสําคัญอีก
แขนงหนึ่งของปรัชญา
• จริ ยศาสตร์ (Ethics) เป็ นทฤษฎีวา่ ด้วยความดี ความดีคืออะไร
• ศีลธรรมเป็ นวิชาที่แยกออกแขนงออกไปจากจริ ยศาสตร์
• ความดีไม่อาจวัดเป็ นตัวตนได้ แต่วดั อย่างนามธรรม
• ความดีอาจวัดที่คุณประโยชน์ “การใดที่กระทําแล้วก่อให้เกิดประโยชน์
ก็เป็ นความดี การใดที่กระทําแล้วก่อผลร้าย การนั้นไม่ดี” แนวทางจริ ย
ศาสตร์ของสํานักอรรถประโยชน์นิยม (Utilitarianism)
• แนวทางนี้นาํ มาประเมินคุณค่าของกฎหมายว่า “กฎหมายใดที่ก่อให้เกิด
ความสุ ขมากที่สุด ให้แก่คนจํานวนมากที่สุด ก็เป็ นกฎหมายดี”
• จริ ยศาสตร์นาํ ไปสู่ ปัญหาทางนิติปรัชญา
• นิติปรัชญาเป็ นส่ วนหนึ่งของจริ ยศาสตร์ กฎเกณฑ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับความ
ประพฤติของมนุษย์เกิดขึ้นได้อย่างไร แยกเป็ นกี่ประเภท กฎหมาย
ศีลธรรม ประเพณี แยกอย่างไร และกฎหมาย ศีลธรรม ประเพณี มี
ความสัมพันธ์กนั อย่างไร
• สุ นทรี ยศาสตร์ (Aesthetics) ความงามคืออะไร ความงามอยูท่ ี่
จิตใจของผูม้ องหรื ออยูท่ ี่ตวั วัตถุที่ถูกมอง ศิลปะคืออะไร นําไปสู่ ปรัชญา
ศิลปะ (Philosophy of Art)
ปรัชญาเฉพาะ
• การศึกษาปั ญหาที่เป็ นรากฐานของแต่ละสาขาวิชา เมื่อศึกษาไปจนถึง
ที่สุดแล้ว ก็เป็ นสิ่ งที่ตอ้ งยอมรับ
• ปั ญหาในทางนิติปรัชญา กฎหมายคืออะไร กฎหมายมีผลบังคับได้
อย่างไร อะไรควรเป็ นหลักการที่ผบู ้ ญั ญัติกฎหมายยึดถือเป็ นแนวทางใน
การบัญญัติกฎหมาย หรื อ
• กฎหมายที่แท้จริ งคืออะไร เหตุผลในทางกฎหมายคืออะไร คุณค่าของ
กฎหมายประเมินอย่างไร
• ทุกวิชามีปรัชญาเฉพาะของตน
สรุ ปลักษณะพิเศษและสิ่ งที่สาํ คัญของวิชาปรัชญา
• ปรัชญาเป็ นความพยายามมองดูโลกและศึกษาโลก ชีวติ และสิ่ งต่าง ๆ ใน
ฐานะที่เป็ นทั้งมวล ต่างจากศาสตร์เฉพาะ
• ปรัชญา ศึกษาถึงรากฐานของวิชาการหรื อศาสตร์เฉพาะต่าง ๆ ในเชิง
วิจารณ์ศาสตร์ต่าง ๆ เป็ นข้อความคิดรากฐาน
• ปรัชญาเป็ นวิชาที่พยายามอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของโลกและชีวติ
ด้วยหลักการเดียว คือ หลักเอกภาพ (Principle of Unity)

You might also like