1-Day Training in Green Industry For The Sustainable Development

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 55

อุตสาหกรรมสเี ขียว…เพือการพ ัฒนาอย่างยงยื

ั น

สาธิต เทอดเกียรติกล

จํานวนโรงงานอุตสาหกรรมที่ขึ้นทะเบียน
กับกระทรวงอุตสาหกรรม

โรงงานประเภทที่ 1 จํานวน 42,525 โรงงาน


โรงงานประเภทที่ 2 จํานวน 17,557 โรงงาน
โรงงานประเภทที่ 3 จํานวน 75,867 โรงงาน

รวมจํานวน 135,942 โรงงาน

ปญหาและความเสี่ยงของอุตสาหกรรมไทย
(กากอุตสาหกรรม)

รับทุกอยาง ไมคุมทุน ภาพลักษณเชิงลบ


รวมกันหมด ลดคาใชจาย ไมทํา Manifest
ไมพรอมดําเนินการ

มีใบอนุญาตรับกาก

ลักลอบทิ้ง
สถานการณลักลอบทิ้ง

ลักลอบทิ้งน้ําเสียอันตรายที่บางปู

ลักลอบทิ้งน้ําเสียอันตรายที่หนองแหน ฉะเชิงเทรา

รับและติดตามเรื่อง
รองเรียน ปฎิบัติตามนโยบายภาครัฐ

ตรวจสอบสถานประกอบการ บังคับใชกฎหมาย

กระบวนการ ประชาชนไมเขาใจ
ดําเนินการสงผล ภาครัฐ กระบวนการดําเนินงาน
กระทบตอสิ่งแวดลอม ภายในโรงงาน

สรางความ โรงงาน ชุมชน เดิอดรอนแตไมมี


ชองทางสื่อสารกับ
เดือดรอนรําคาญ
โรงงาน

ใชทรัพยากรมาก สงผล
กระทบตอการดําเนินชีวิต เกิดมุมมองดานลบตอ
ของชุมชน โรงงานและภาครัฐ
อดีต
สรางเครือขาย
สรางความเขาใจใหเกิดขึ้นระหวางโรงงานกับ
สงเสริมผูประกอบการอุตสาหกรรมใหมีความ ชุมชน
รับผิดชอบตอสังคม
กํากับดูแลโรงงานเปนไปตาม
ประสานงานใหมีความโปรงใส กฎหมาย
เปนธรรม

ภาครัฐ ไดรับขอมูลขาวสาร
มีชองทางสื่อสารกับโรงงาน
ปองกันปญหามลพิษ

มีความรับผิดชอบ โรงงาน ชุมชน ยอมรับโรงงานเปน


ตอสังคม สวนหนึ่งของชุมชน

เปดเผย โปรงใส ปฎิบัติตาม ไดรับความเปนธรรมในการ


กฏหมาย เปดโอกาศใหผูมี ใชทรัพยากร และมีสวนรวม
สวนไดเสียมีสวนรวม
ปจจุบัน ในการตัดสินใจ

อุตสาหกรรมสเี ขียวคืออะไร ?

“อุตสาหกรรมสเี ขียว คือ อุตสาหกรรมที


ยึดมนในการปร
ั ับปรุงกระบวนการผลิต
และการบริหารจ ัดการสงแวดล้ิ อมอย่าง
ต่อเนือง เพือการประกอบกิจการทีเป็น

มิตรก ับสงแวดล้ อม พร้อมก ับการยึดมนั
ในการประกอบกิจการด้วยความ

ร ับผิดชอบต่อสงคมท งภายในและ

ภายนอกองค์กรตลอดห่วงโซอ ่ ป
ุ ทาน
เพือการพ ัฒนาอย่างยงยื ั น”

อุตสาหกรรมสเี ขียว ตงอยู


ั บ่ น 2 เสาหล ัก
1. การปร ับปรุงอย่างต่อเนือง
2. การพ ัฒนาอย่างยงยืั น

8
ขั้นตอนการพัฒนา 5 ระดับสูอุตสาหกรรมสีเขียว
ผลิตภัณฑฉลากเขียว
Green Logistics
เปนไปตามขอกําหนดในระดับที่ 4
ธงขาวดาวเขียว CSR-DIW สานสัมพันธครอบคลุมทั้งหวงโซอุปทาน Supply chain
จัดทํารายงานที่เกี่ยวของกับการสงเสริมและสานสัมพันธดาน
CSR-DPIM สิ่งแวดลอมเผยแพร

ธรรมาภิบาล โรงงานดีเดนดาน
สิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอม/พลังงาน Green Supply Chain

ES for SE EMS for SME CSR (ตามแนวทาง ISO ระดับที่ 5 เครือขายสีเขียว


ขั้นที่ 2 26000) (Green Network)
Cleaner ใบรับรอง ระดับที่ 4 วัฒนธรรมสีเขียว
Technology ISO 14001/50001 (Green Culture)
การลงนามความ
รวมมือดาน Lean ระดับที่ 3 ระบบสีเขียว เปนไปตามขอกําหนดในระดับที่ 3
สรางวัฒนธรรมดานสิ่งแวดลอม
สิ่งแวดลอม Manufacturing (Green System) รายงานผลการดําเนินงานดาน
สิ่งแวดลอมตองเปดเผยตอสาธารณะ
มีนี โยบายและ

ระดับที่ 2 ปฏิบัติการสีเขียว นโยบายดานสิ่งแวดลอม
แผนที่เกี่ยวของ การวางแผน
กับสิ่งแวดลอม (Green Activity) การนําไปปฏิบัติ
การติดตามประเมินผล
ระดับที่ 1 ความมุงมั่นสีเขียว กําหนดนโยบายดานสิ่งแวดลอม การทบทวนและรักษาระบบ
จัดทําแผนงานดานสิ่งแวดลอม
(Green Commitment) นําแผนงานดานสิ่งแวดลอมไปปฏิบัติ
กําหนดนโยบายดานสิ่งแวดลอม ใหเกิดประสิทธิผล

อนุรักษ ประหยัด
ลดวัตถุดิบ พลังงาน ทรัพยากร

เพิ่มผลิตภาพ ลดความเปนพิษ
ลดความ ทําเปนระบบ ใช P-
EMS for SMEs
D-C-A
ใชเทคโนโลยี 2. ปฏิบัติการสีเขียว จัดการของเสีย
สะอาด (Green Activity) ระบบจัดการ
3Rs 3. ระบบสีเขียยวว สิ่งแวดลอม
เกิดความ
ลดมลพิษ (Green System)
ตระหนั
ตร ก
ปรับความคิด มอก.14001
อุตสาหกรรมสีเขียว
แปลงเปนนโยบาย
1. ความมุงมั่นสีเขียว (Green Industry) โปรงใส
ระบบจัด
(Green Commitment) การพลังงาน

ถายทอดความรู
อดความรู CSR รับผิดชอบ
4. วัฒนธรรมสีเขียว
ชุมชน 5. เครือขายสีเขียว (Green Culture)
สื่อสารเขาใจ (Green Network) ปฏิฏบัติทั่วทั้งองคกร
มมีจริยธรรม
ธรรรม

พัฒนาเครื
าเครือขาย ใชหลักนิติธรรม
Supply Chai
Chain เปดเผย
สานสัมพันธ ขอมูล ใสใจผูมีสวนไดสวนเสีย
ผูมีสวนไดสวนเสีย
สื่อสาร
ทิศทางและแนวทางการขับเคลื่อน
อุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry)

เป็ นมิตรกับสิงแวดล้อม
พื้นที่อุตสาหกรรม ปรับปรุงเทคโนโลยี
เชิงนิเวศ การผลิต

แนวความคิด นโยบายรัฐบาล

จิตสํานึก การมี
สวนรวม
มีความรับผิดชอบต่อสังคม อยู่ร่วมกับชุมชนได้

แนวคิดการพัฒนาอุตสาหกรรมสี
สสาหกรรมสเขยว
เขียว
(Green Industry)

จิตสํานึก บังคับใชกฎหมาย มีสวนรวม


ปรับเทคโนโลยี จิตสํานึก สิทธิประโยชน จิตสํานึก
เทคโนโลยี ฐานขอมูล
ยกระดับมาตรฐาน
กลไก
กลไกภาค
ภาคอุต กลไกภาครัฐ
5. เครือขาย ประชาชน
สาหกรรม
GSC พัฒนาเชิงพื้นที่
4. วัฒนธรรม
CSR ปรับพฤติกรรม
3. ระบบ การผลิต นโยบาย
ISO14001 สีเขียว สีเขียว การบริโภคสีเขียว
2. ปฏิบัติการ
3Rs, CT, ES
1. ความมุงมั่น อุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry)
Policy 1
โรงงานไดรับการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว
เปาหมายการพั
มายการพฒนาสถานประกอ
ฒนาสถานประกอบการ จํานวน 70,000 ราย (รอยละ 50 ของจํานวนโรงงานทั้งหมด)
สูอุตสาหกรรมสีเขียว
70,000 ราย • อุตสาหกรรมใหเปน
มิตรกับสิ่งแวดลอม
10,000 ราย
• มีความรับผิดชอบตอ
สังคม และอยูรวมกับ
ชุมชนได
2,500 ราย ป 2557 ป 2561
ป 2556
ป 2555 • ปรับปรุงเทคโนโลยีการผลิต
• ลดการใชทรัพยากร
984 ราย
• ลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก
ป 2554 • ประยุกตใชหลักการ 3Rs
• เพิ่มปริมาณการใชพลังงานทดแทนในภาคอุตสาหกรรม
• สรางรายไดจากการขายคารบอนเครดิต และลดภาวะโลกรอน
• รวมทั้งสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชนในการแกไขปญหาและตรวจสอบสภาพแวดลอม
• พัฒนาเมืองหรือพื้นที่อุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพือ่ นําไปสูสงั คมคารบอนต่ํา

สรุปผลการดําเนินงานทีผ่านมา
ระด ับ ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 รว
รวม

1 316 1,172 4,407 2,084 8,212

2 227 705 1,733 330 3,022

3 507 603 882 334 2,364

4 30 20 2 52

5 5 5

รวม 1,050 2,510 7,042 2,755 13,655

ข้อมูล ณ 31 ก ันยายน 2557


14
อายุการรับรอง และการตออายุ

ระดับั 1 ระดับั 2 ระดับั 3-5

• อายุการรับรอง 1 ป • อายุการรับรอง 2 ป • อายุการรับรอง 3 ป

• ไมสามารถ • สามารถตออายุ • สามารถตออายุ


ตออายุ ระดับเดิมได แตตอง ระดับเดิมได
ระดับเดิมได กิจกรรมใหม

ระดับที่ 1 : ความมุงมั่นสีเขียว Green Commitment

ขอ 1 ตองกําหนดนโยบายดานสิ่งแวดลอม
Policy (ก) การลดผลกระทบดานสิ่งแวดลอม หรือการปองกันมลพิษ
(ข) การใชทรัพยากรอยางยั่งยืน
(ค) การลดผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(ง) การปกปองและฟนฟูธรรมชาติ

Communication ขอ 2 ตองมีการสื่อสารนโยบายดานสิ่งแวดลอมใหบุคลากร


ในองคกรทราบ
เอกสารที่ผูสมัครตองยื่นประกอบการพิจารณา ระดับที่ 1

Policy 1. เอกสารการประกาศนโยบายดานสิ่งแวดลอม

Commu 2. หลักฐานการสื่อสารนโยบายดานสิ่งแวดลอม เชน บันทึก


nication การประชุม ภาพถาย การติดประกาศ หรือ หลักฐาน
อื่นใด

ระดับที่ 2 : ปฏิบัติการสีเขียว Green Activity


Environmental Implementation
Planning
policy

ขอ 1 กําหนดนโยบายดาน ขอ 2 จัดทําแผนงานดาน ขอ 3 นําแผนงานดาน


สิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอมไปปฏิบัติให
และสื่อสารนโยบายดาน ประกอบดวย เกิดประสิทธิผล
สิ่งแวดลอมใหบุคลากรใน วัตถุประสงค เปาหมาย
องคกรทราบ ขั้นตอนการปฏิบัติ
ผูรับผิดชอบ และกรอบ
ระยะเวลาแลวเสร็จ
เอกสารทีผ่ ูสมัครตองยื่นประกอบการพิจารณา ระดับที่ 2

กรณีผูสมัครไดรับการรับรองโครงการ/กิจกรรม
1. ที่เปรียบเทียบในระดับที่ 2

1.1 กรณีใบรับรองหรือประกาศนียบัตรกําหนดวันสิ้นอายุ
ณ วันที่ยื่นสมัคร ตองยังไมสิ้นอายุ

1.2 กรณีใบรับรองหรือใบประกาศนียบัตรไมกําหนดวันสิ้นอายุ หรือสิ้นอายุแลว


ตองมีเอกสาร/หลักฐานที่สามารถแสดงไดวาองคกรยังรักษาและคงไวซึ่งการ
ดําเนินกิจกรรมดานสิ่งแวดลอม

เอกสารที่ผูสมัครตองยื่นประกอบการพิจารณา ระดับที่ 2

2. กรณีผูสมัครไมไดรับการรับรองโครงการ/กิจกรรม

เอกสารการประกาศ แผนงาน เอกสาร/หลักฐาน/


นโยบายดาน ดดานสิ่งแวดลอม สรุปผลความสําเร็จ
2.1 สิ่งแวดลอม และ 2.2 2 การดําเนินงานตาม
2.3
หลักฐานการสื่อสาร แผน อยางนอย 1
นโยบายดาน กิจกรรม/โครงการ
สิ่งแวดลอม
เกณฑระดับที่ 3 1 นโยบายดานสิ่งแวดลอม

2 วางแผนดานสิ่งแวดลอม

3 นําไปปฏิบัติ

4 ติดตาม ประเมินผล

5 ทบทวน และรักษาระบบ

ขอ 11.. นโยบายดานสิ่งแวดลอม

Policy ขอ 1 ผูบริหารสูงสุดตองกําหนดนโยบายดานสิ่งแวดลอม


(ก) การลดผลกระทบดานสิ่งแวดลอม หรือการปองกันมลพิษ
(ข) การใชทรัพยากรอยางยั่งยืน
(ค) การลดผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(ง) การปกปองและฟนฟูธรรมชาติ

Communication ขอ 2 ตองมีการสื่อสารนโยบายดานสิ่งแวดลอมใหบุคลากร


ทั้งหมดทราบ
ขอ 2 วางแผนดานสิ่งแวดลอม

1. ชี้บงประเด็นดานสิ่งแวดลอม 5.ดําเนินการตามแผนงานดานสิ่งแวดลอม

2.ชี้บงและติดตามสืบคนขอกําหนด วางแผนดานสิ่งแวดลอม 6. ติดตามผลการดําเนินการตามแผนงาน


ของกฎหมาย

3.กําหนดวัตถุประสงคและเปาหมาย
7. ทบทวนวัตถุประสงค เปาหมาย
และแผนงานดานสิ่งแวดลอม

4.จัดทําแผนงานดานสิ่งแวดลอม

ขอ 3 การนําไปปฏิฏบตั ิ

1 จัดสรรทรัพยากรใหเพียงพอตอการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอม

2 ตองมีการฝกอบรมและการสรางจิตสํานึกเพื่อใหเกิดความตระหนักตอประเด็นดานสิ่งแวดลอมและ
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

3 กําหนดชองทางและวิธีการสื่อสารขอมูลดานสิ่งแวดลอมใหกับ
บุคคลภายในองคกรและบุคคลภายนอกองคกร
ขอ 3 การนําไปปฏิฏบตั ิ

4 จัดทําขั้นตอนการดําเนินงานในการควบคุมเอกสาร

5 จัดทําขั้นตอนการดําเนินงานเพื่อควบคุมการปฏิบัติในการลดผลกระทบดานสิ่งแวดลอม

จัดทําขั้นตอนการดําเนินงานรองรับสถานการณฉุกเฉิน หรืออุบัติภัยที่มีผลกระทบตอ
6
สิ่งแวดลอมและชุมชน

ขอ 4 การติดตาม ประเมินผล


ตรวจ
ตรวจวัด ติดตาม ตาม ควบคุม ประเมิน
ปฏิบัติการแกไข
สวล. กม. บันทึก ภายใน

-จัดทําขั้นตอนการ จัดทําขั้นตอนการ จัดทําขั้นตอนการ การชี้บง จัดเก็บ ตรวจประเมิน


ดําเนินงานในการเฝา ดําเนินการประเมิน ดําเนินงานปฏิบัติการ ปองกัน และกําหนด ภายใน
ติดตาม/ตรวจวัด ความสอดคลองของ แกไขและ ปองกัน อายุการจัดเก็บ ระบบการจัดการ
คุณภาพสิ่งแวดลอม EMS กับขอกําหนด สําหรับการเนินการ บันทึกที่เกี่ยวของกับ ดานสิ่งแวดลอม
ของกฎหมายที่ กับขอบกพรอง การดําเนินงานดาน ตามชวงเวลาที่
-เครื่องมือตรวจวัดตอง เกี่ยวของตามชวงเวลา ดานสิ่งแวดลอมที่ สิ่งแวดลอม กําหนด
ไดรับทวนสอบและ ที่กําหนด เกิดขึ้นแลวหรือ
บํารุงรักษาอยาง อาจจะเกิดขึ้น
เหมาะสม
ขอ 5 การทบทวนและรักษาระบบ

ผูบริหารสูงสุดขององคกรตอง
ทบทวนระบบการจัดการดานสิ่งแวดลอมขององคกร
• ตามชวงเวลาที่กําหนด
• เพื่อใหมั่นใจวา
• เปนไปตามขอกําหนดของกฎหมายที่เกี่ยวของ
• ระบบการจัดการดานสิ่งแวดลอมยังคงมีความเหมาะสม และเกิด
ประสิทธิผลอยางตอเนื่อง

27

เกณฑระดับที่ 4

3.รายงาน
เผยแพรตอสาธารณะ

2.สรางวัฒนธรรมองคกร
ตามแนวทาง SR
(ISO 26000)

1. ตองจัดทําระบบการจัดการสิ่งแวดลอม
ตามระดับที่ 3 ทุกขอ
การสรางวัฒนธรรมองคกร
ตามแนวทาง 7 principles SR (ISO 26000)
• รับผิดชอบตอผลกระทบจากการตัดสินใจและการดําเนินการตางๆ ของ
1. องคกรตอสังคม และสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะกระทบดานลบที่มีนัยสําคัญ
Accountability • การดําเนินการเพื่อการปองกันผลกระทบดานลบที่
เกิดขึ้นโดยไมไดตั้งใจ เพื่อปองกันไมใหเกิดซ้ํา

• มีความโปรงใสในการตัดสินใจและการดําเนินการตางๆ ที่มีผลกระทบตอ
2. สิ่งแวดลอม
Transparency • ตองมีการเปดเผยอยางชัดเจน ถูกตอง และครบถวน โดยตองเขาถึงขอมูลได
โดยงาย และขอมูลเหมาะสมตามชวงเวลา เปนขอเท็จจริง มีความนาเชื่อถือ

การสรางวัฒนธรรมองคกร
ตามแนวทาง 7 principles SR (ISO 26000)

•สงเสริมใหเกิดการปฏิบัติอยางมี จริยธรรมดานสิ่งแวดลอม อยาง


จริงจังโดย
•(1) ประกาศกําหนดคานิยมและหลักการ
3. •(2) มีโครงสรางการบริหารทีช่ วยสงเสริมใหเกิดการปฏิบัติอยางมีจริยธรรม
Ethical behavior •(3) กํากับดูแล และการควบคุมตางๆ เพื่อเฝาติดตาม ใหการสนับสนุน และบังคับ
•(4) มีการกระตุนและสงเสริม
•(5) มีการปองกัน หรือแกไขการเกิดผลประโยชนทับซอน
•(6) มีรายงานผลการปฏิบัติ

4.
• ตองเคารพ พิจารณา และตอบสนองตอผลประโยชน
stakeholder ของผูมีสวนไดเสีย ดานประเด็นสิ่งแวดลอม
interests
การสรางวัฒนธรรมองคกร
ตามแนวทาง 7 principles SR (ตอ)
5. ตองปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายและขอกําหนดตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับดาน
rule of law สิ่งแวดลอม

6. ตองเคารพตอการปฏิบัติตามแนวทางสากลในดานสิ่งแวดลอม ในสถานการณที่
international norms กฎหมาย หรือการดําเนินการตามกฎหมายยังไมพอเพียงสําหรับการปกปอง
of behavior สิ่งแวดลอมได องคกรตองผลักดันใหเกิดความเคารพตอการปฏิบัติตามแนวทาง
ของสากล

7.
ตองเคารพตอสิทธิมนุษยชนในดานสิ่งแวดลอมที่ดี และใหการยอมรับถึง
Human rights ความสําคัญและความเปนสากลของสิทธิมนุษยชนในดานสิง่ แวดลอม

ตัวอยางองคกรที่ผานการประเมิน
ความมุงมั่นของผูบริหาร
นโยบายดานสิ่งแวดลอมขององคกรคืออะไร
ครอบคลุมผูมีสวนไดสวนเสียขององคกรหรือไม
Company Vision

คณะกรรมการการพัฒนาอยางยั่งยืน

คณะกรรมการบริิหารการพัฒนาอยางยั่งยืน

นโยบายธุรกิจิ บริษัท Creating value for our customers


Employee and all other stakeholders

Energy Policy
P li นโยบายการจัดการสารอินทรีย นโยบายสิ่งแวดลอม อาชีีวอนามัย ความ
ระเหยงาย ปลอดภัย
บริษัท บริษัท

ความมุงมั่นของผูบริหาร
นโยบายด
ยบายดานสิ่งแวดลอมขององคกรคืออะไร
อะไร 
นโยบายธุรกิจ บริษัท ครอบคลุมผูมีสวนไดสวนเสียขององคกรหรือไม
ปลู กฝ ง จิต สํ า นึ ก และส ง เสริ ม พฤติ กรรมความปลอดภัย จนเกิ ดเป น
วัฒนธรรมการทํางานทั่วทั้งองคกร เพื่อใหมีอุบัติเหตุเปนศูนย
ดําเนินกิจการใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยมุงเนน
การลดความสูญเสียใหเปนศูนยดวยการ
กาวสูความเปนเลิศดานการดําเนินงานดวยกิจกรรมการจัดการ
ผลผลิตทั่วทั้งองคกร ทั้งระบบบริหารจัดการตามมาตรฐานสากล
มุงสูการเปนโรงงานเชิงนิเวศน โดยมุงเนนการจัดการกระบวนการผลิต
และผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ มมี ก ารนํ า ของเสี ย มาทํ า
ประโยชน แลกเปลี่ยนสรางมูลคาเพิ่มกับโรงงานหรือชุมชนขางเคียง
ดูแลคุ ณ ภาพชีวิต ของคนในพื้ นที่ เพื่ อ ใหอ ยู ร วมกันกับชุมชน อย าง
ยั่งยืน โดยปราศจากขอรองเรียน

Stakeholder

Customers, Shareholders, Contractors, Suppliers,


Employees, Communities, Authorities
ความมุงมั่นของผูบริหาร

• ลดกาซเรือนกระจก
• ลดการใชพลังงาน
• สงเสริมสรางจิตสํานึกในการอนุรักษพลังงาน
• มีคณะกรรมการในการติดตามตรวจสอบ
• พัฒนาระบบการจัดการพลังงานอยางตอเนื่อง

Stakeholder

Employees, Contractor Shareholders ,


Communities, Authorities

-35-

ความมุงมั่นของผูบริหาร
นโยบายการจัดการสารอินทรียระเหยงาย
ควบคุมการรั่วซึมของ Fugitive VOCs ใหดีกวามาตรฐานไทย
และสากล 30% (350 ppm) ในป 2010 และ 50% ใน
ป 2011 (250 ppm)
Atmospheric Vent ตองผานการบําบัดกอนปลอยสูบรรยากาศ
จัดทํา VOCs Inventory แลวเสร็จในป 2010
ตรวจสอบการรั่วซึมของ VOCs อยางนอยปละ 1 ครั้ง
ประยุกตใชหลักการควบคุม VOCs ของ US.EPA
(LDAR :Leak Detection And Repair) ผาน VOCs DEE Program
สงเสริมใหพนักงานทุกคนมีสวนรวมในการ
จัดการและควบคุม VOCs

Stakeholder

Customers, Shareholders, Contractors, Suppliers,


-36-
Employees, Communities, Authorities
ความมุงมั่นของผูบริหาร
¾ องคกรมีการกําหนด คานิยมเพื่อสงเสริมจริยธรรมดานสิง่ แวดลอม และหลักั การตา งๆของคานิยิ มดัังกลา วไว
ไ อยางไร

อุดมการณ 4
• Adherence to Fairness 1. สิทธิและเสรีภาพ 1. บรรษัทภิบาล
2. สิ่งแวดลอม สุขภาพ และความปลอดภัย 1. การกํากับดูแลองคกร
ตั้งมั่นในความเปนธรรม 2. การจัดการและบริหารความเสี่ยง
3. การรับหรือใหทรัพยสิน
• Dedication to Excellence 3. การเปดเผยขอมูลและการรายงาน
4. ความขัดแยงทางผลประโยชน 2. เศรษฐกิจ
มุงมั่นในความเปนเลิศ 5. การจัดหา 1. มูลคาจากผลประกอบการ
• Belief in the Value of 6. การทําธุรกรรมกับรัฐ 2. การกระจายรายได
3. สังคม
the Individual 7. ขอมูลและทรัพยสิน 1. การลงทุนเพื่อชุมชนและการบริจาค
เชื่อมั่นในคุณคาของคน 8. การสื่อสารทางการตลาด 2. มาตรฐานดานแรงงานและการปฏิบัติ
3. สิทธิมนุษยชน
• Concern for Social Responsibility 9. การทําธุรกรรมของ SCG
4. ทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาความรู
ถือมั่นในความรับผิดชอบตอสังคม 10.การประกอบธุรกิจในตางประเทศ 5. สุขภาพอนามัยและความปลอดภัย
11.การแขงขันทางการคา 6. การมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสีย
12.การปองกันการฟอกเงิน 4. สิ่งแวดลอม
1. พลังงาน
2. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
3. การจัดการน้ํา
4. การจัดการของเสีย
5. ระบบนิเวศนและความหลากหลาย
6. ผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

ความมุงมั่นของผูบริหาร
¾ องคกรมีการกําหนด คานิยมเพื่อสงเสริมจริยธรรมดานสิง่ แวดลอม และหลักการตางๆของคานิยมดังกลาวไวอยางไร

มีการปลูกฝงจิตสํานึกดานสิง่ แวดลอม
ตั้งแตตอนสัมภาษณโดยดูทศั นคติจาก
คําถามสัมภาษณเขางานและ
ตอบแบบสอบถามดาน SD

บรรจุในหลักสูตรพนักงานใหม
Ready Together
NEOP Program
กระบวนการสรางวัฒนธรรมองคกรดานสิง่ แวดลอม
Policy Action Plan
Plan
™ กําหนดนโยบาย
™ กําหนดแผนงาน
™ กําหนดงบประมาณ

¾ ผูบริิหารมีีบทบาทอยางไรในการส
ไใ งเสริมคานิยม เพื่อสงเสริมจริยธรรมดานสิ่งแวดลอม

Budget

กระบวนการสรางวัฒนธรรมองคกรดานสิง่ แวดลอม
¾ ผูบริหารมีบทบาทอยางไรในการสงเสริมคานิยม เพืื่อสงเสริมจริยธรรมดานสิ่งแวดลอม

MD พบพนักงาน (SW พาที)


Motivate and Role Model DO
™ สื่อสาร
™ Motivate
™ Role Model

MD Diagnosis (Catch Ball)

Action Plan and KPI


กระบวนการสรางวัฒนธรรมองคกรดานสิง่ แวดลอม
¾ ผูบริหารมีบทบาทอยางไรในการสงเสริมคานิยม เพื่อสงเสริมจริยธรรมดานสิ่งแวดลอม
Action Plan Internal Audit EIA Report
Check
¾ Monitoring Program
™ Action Plan Monitoring
™ Customer Satisfaction
™ Envi. Monitoring
™ Internal Audit

OPR Abnormality Report


Action CAR & PAR

¾ Monitoring Program
™ CAR & PAR
™ OPR (Operation
Problem Report)
™ EPR (Equipment
Problem Report)
™ Abnormality

กระบวนการสรางวัฒนธรรมองคกรดานสิง่ แวดลอม
องคกรมีกระบวนการในการสรางบุคลากรภายใน ใหเกิดความเชื่อและมีพฤติกรรมรวมกัน เกี่ยวกับการดําเนินการดานสิ่งแวดลอม อยางไร

อบรม ปลูกฝงจิตสํานึกกิจกรรมดานสิ่งแวดลอม
Aspect Identification Job Impact Community
Analysis - JICA

Green ISO 14001


Procurement

ISO 26000

Engagement พนง. ใหมีสวนรวม


VOCs Dee Program
กระบวนการสรางวัฒนธรรมองคกรดานสิง่ แวดลอม
องคกรมีกระบวนการในการสรางคานิยมและจิตสํานึกดานสิ่งแวดลอมอยางไร มีวิธีการเผยแพรทําความเขาใจ
เกี่ยวกับคานิยมใหแกพนักงานและผูเกี่ยวของ อยางไร
Exhibition Activity

Energy Day
CSR & Envi Day

SCG Intranet

กระบวนการสรางวัฒนธรรมองคกรดานสิง่ แวดลอม
องคกรมีการกําหนดแนวทางสําหรับปฏิบัติเพื่อใหพฤติกรรมการใหความสําคัญและใสใจสิ่งแวดลอมใหคงอยูอยางยั่งยืน
จนกลายเปนวัฒนธรรมองคกร อยางไร
¾ วางกลยุทธระยะยาว โดยวางโครงสรางบุคลากรในการบริหารงานตางๆ
¾ ปลูกฝงจิตสํานึกพนักงานในดานโครงสรางบุคลากรใหมีสวนรวม ( Role Model)
โครงสรางการทํางานดานสิ่งแวดลอม
(ครอบคลุม พนักงานและผูรับเหมา)
¾ ติดตามผลการดําเนินงานผานที่ประชุมของคณะกรรมการตางๆ
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยของ
บริษัท

บริษัทมีคณะกรรมการและคณะทํางานในดานตางๆที่เกี่ยวของ
กับ สิ่งแวดลอมโดยทุกคณะจะมีผูบริหารเปนประธานและ
คณะกรรมการและ
มีมการประชุมเพื่อติดตามผลการดําเนินงานอยางสม่ําเสมอ
ประกอบด
ป วย
• Management Review Committee ความถี่ทุก 3 เดือน
• EH&S Management Committee ทุกถี่ทุก 1 เดือน
• Energy Steering Committee ความถี่ทุกๅ 3 เดือน
• Environmental Committee, Energy Committee,
Committee, และ Law Committee ทุกถี่ทุก 1 เดือน
กระบวนการสรางวัฒนธรรมองคกรดานสิง่ แวดลอม
องคกรมีการกําหนดวิธีการในการประเมินความคงอยูของวัฒนธรรมองคกรดานสิ่งแวดลอมอยางไร และนํามาปรับปรุง
พัฒนาอยางตอเนื่องไดอยางไร
¾ People Survey (ดานสิ่งแวดลอม)
¾ ปลูกฝงจิตสํานึกดานสิ่งแวดลอม เชน สื่อสาร อบรม กิจกรรมดานสิ่งแวดลอมตางๆ
¾ กําหนดเปนแผนงานดานสิ่งแวดลอมของทุกป และวัดผลการปฏิบัติงาน

ปลูกฝงจิตสํานึกดานสิ่งแวดลอม (อบรม, สื่อสาร, Motivate)

แผนงานดานสิ่งแวดลอม และวัดผลการ SCG People Survey (ดาน


ปฏิบัติ สิ่งแวดลอม)

ระดับที่ 5 : เครือขายสีเขียว Green Network


ขอ 1 องคกรตองมีระบบการจัดการดานสิ่งแวดลอมและมีการสรางวัฒนธรรม
องคกรเปนไปตามเกณฑ กําหนดอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 4 ทุกขอ

แนวทางปฏิบัติสําหรับผูประกอบการอุตสาหกรรม
องคกรตองไดรับการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 4 จากคณะกรรมการสงเสริม
และพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียว
ระดับที่ 5 : เครือขายสีเขียว Green Network

สรางเครือขายสีเขียว
ผูขายสินคา
ผูใหบริการ

องคกร
องค กร
ชุมชน วัฒนธรรมสีเขียว

ผูมีสวนได
สวนเสีย
ผูบริโภค

ระดับที่ 5 เครือขายสีเขียว

รายงาน
ความสําเร็จ
เผยแพร
ตอสาธารณะ

สงเสริม สราง และสานสัมพันธกิจกรรม


ดานสิ่งแวดลอม
กับ supply chain ชุมชน และบริโภค

ตองจัดทําระบบการจัดการสิ่งแวดลอมและมี
วัฒนธรรมสีเขียว ตามระดับที่ 4 ทุกขอ
ขอ 2 สงเสริม สราง และสานสัมพันธ

` สงเสริม สราง และสานสัมพันธกจิ กรรมดานสิ่งแวดลอมกับผูม ีสวนไดเสีย (stake holder)


ที่ครอบคลุมทั้ง
` หวงโซอุปทาน (supply chain)
` ชุมชน และ
` ผูบริโภค
` ตองทําใหประสบความสําเร็จเปนที่ประจักษ และมีการพัฒนาอยางตอเนื่องและยั่งยืน

การปฏิบัติ
1) ตองสงเสริมใหโซอปุ ทาน (supply chain) มุงสูอุตสาหกรรมสีเขียว และนํามาปฏิบัตใิ หเกิด
ประสิทธิผล โดยตองดําเนินการใหครอบคลุมทั้งโซอุปทาน และตองมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง
และยั่งยืน
(2) ตองสงเสริมการมีสวนรวมของชุมชน การพัฒนาชุมชน และตองรวมกับชุมชนในการกระตุน
จิตสํานึกและสงเสริมความรูความเขาใจตอการบริโภคที่ยั่งยืน โดยใหความสําคัญและใสใจตอ
สิ่งแวดลอม
(3) ตองใหความรูแ ละสรางความตระหนักแกผูบริโภคในการบริโภคที่ยั่งยืน
แนวทางปฏิบัติสําหรับ
ผูประกอบการอุตสาหกรรม
องคกรตองมีการชี้บงผูมีสวนไดเสียกับการดําเนินธุรกิจขององคกร
องคกรตองมีการกําหนดและรักษาไวซึ่งกลไกในการสงเสริม สราง และสานกิจกรรมดาน
สิ่งแวดลอมกับผูมีสวนไดเสีย
องคกรตองมีการจัดทําโครงการหรือแผนงานที่เกี่ยวของกับกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมรวมกับผูมีสวน
ไดเสียกับองคกร ตามศักยภาพและความพรอมของผูมีสวนไดเสียในการเขารวมกิจกรรมดาน
สิ่งแวดลอมกับองคกร
องคกรตองกําหนดและรักษาไวซึ่งกลไกในการสงเสริมใหโซอุปทานขององคกรมุงสูอุตสาหกรรมสี
เขียว โดยอยางนอยตองครอบคลุมถึงผูผลิตวัตถุดิบโดยตรงใหกับองคกร (Supplier) ผูรับจางชวง
งานขององคกร (Subcontractor) ผูสงมอบบริการโดยตรงใหกับองคกร (Service Provider)

แนวทางปฏิบัติสําหรับ
ผูประกอบการอุตสาหกรรม (ตอ)
องคกรตองมีการจัดทําโครงการหรือแผนงานที่เกี่ยวของสงเสริม สราง และสานสัมพันธกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมกับโซ
อุปทานขององคกร โดยอยางนอยตองครอบคลุมถึงผูผลิตวัตถุดิบโดยตรงใหกับองคกร (Supplier) ผูรับจางชวงงานของ
องคกร (Subcontractor) ผูสงมอบบริการโดยตรงใหกับองคกร (Service Provider)
องคกรควรมีการวางแผนงานสงเสริมผูที่อยูใ นโซอปุ ทานในการสงมอบวัตถุดิบ/บริการ ที่ไมไดสงมอบใหองคกรโดยตรง
แตเปนผูสงมอบในลําดับถัดๆ ไป รวมทั้งผูคาสง และผูคาปลีก เขารวมกิจกรรมดานสิ่งแวดลอม เพื่อใหเกิดการปรับปรุง
อยางตอเนื่องและมีการพัฒนาอยางยัง่ ยืน
องคกรตองมีการจัดทําโครงการหรือแผนงานที่เกี่ยวของสงเสริม สราง และสานสัมพันธกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมกับ
ชุมชนที่มีโอกาสไดรับผลกระทบดานสิ่งแวดลอมจากการดําเนินงานตางๆ ขององคกร เพื่อสรางจิตสํานึกดาน
สิ่งแวดลอม และสรางความเขาใจในการบริโภคอยางยั่งยืน
องคกรตองมีกิจกรรมหรือวิธีการในการสรางความรูความเขาใจ และสรางจิตสํานึกใหกับผูบริโภคซึ่งเปนกลุมลูกคาของ
องคกรผูแทนจําหนายสินคาขององคกร (Trade Agency) หรือผูใชผลิตภัณฑขององคกรใหตระหนักถึงการบริโภคที่
ยั่งยืน
ขอ 3 องคกรตองจัดทํารายงานการดําเนินการตางๆ ที่เกี่ยวของกับการสงเสริม
สราง และสานสัมพันธกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมกับผูมีสวนไดเสีย และสรุปรายงานผล
ความสําเร็จเพื่อเผยแพร

แนวทางปฏิบัติสําหรับผูประกอบการอุตสาหกรรม
องคกรตองมีการรวบรวมขอมูลผลการดําเนินการตางๆ ที่เกี่ยวของกับการสงเสริม สราง และสาน
สัมพันธกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมกับผูมีสวนไดสวนเสียโซอุปทาน ชุมชน และผูบริโภค
องคกรตองจัดทําสรุปรายงานผลการดําเนินการตางๆ เพื่อแสดงใหเห็นถึงผลความสําเร็จของการ
ดําเนินการ
องคกรตองกําหนดวิธีการในการเผยแพรรายงานการดําเนินการตางๆ

ตัวอยางการชี้บงผูมีสวนไดเสียขององคกร
การชี้บงผูมีสวนไดสวนเสียในโซอุปทาน
(Supply Chain)

หวงโซอุปทาน (Supply Chain)

` ตองสงเสริมใหหวงโซอุปทาน มุงสูอุตสาหกรรมสีเขียว และนํามาปฏิบัติใหเกิดประสิทธิผล โดยตอง


ดําเนินการใหครอบคลุมทั้งหวงโซอุปทาน และตองมีการพัฒนาอยางตอเนื่องและยั่งยืน
` ผูขาย/ผูใหบริการ ที่ติดตอโดยตรง (1st tier )
` ตองไดอุตสาหกรรมสีเขียวระดับ 2 ขึ้นไป
ชุมชนรอบขาง

ตองสงเสริมการมีสวนรวมของชุมชน การพัฒนาชุมชน และตองรวมกับชุมชน


ในการกระตุนจิตสํานึกและสงเสริมความรูความเขาใจตอการบริโภคที่ยั่งยืน โดยให
ความสําคัญและใสใจตอสิ่งแวดลอม

ผูบริโภค
ตองใหความรูและสรางความตระหนักแกผูบริโภคในการบริโภคที่ยั่งยืน
การยอมรับในสังคม
z จัดทํารายงานการดําเนินการตางๆ ที่เกี่ยวของกับการสงเสริม สราง และสานสัมพันธ
กิจกรรมดานสิ่งแวดลอมกับผูมีสวนไดเสีย และสรุปรายงานผลความสําเร็จเพื่อ
เผยแพร

การประเมินอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 5 เครือขายสีเขียว

• ผาน / ไมผาน ตามหลักการประเมินความสอดคลองกับขอกําหนดของอุตสาหกรรมสี


เขียว
• การประเมินดานผูบริโภคเปนการพิจารณาวาสถานประกอบการและครือขาย มีแนวทาง
ในการสื่อสารใหผูบริโภคตระหนักถึงความสําคัญของสิ่งแวดลอมหรือไมอยางไร
การประเมินอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 5 เครือขายสีเขียว
ชุมชนรอบขาง (Communities)
• ชุมชนรอบขาง คือ ประชากรที่อาศัยอยูโดยรอบสถานประกอบการในรัศมี 5 กิโลเมตร มี
สวนในการประเมินผูประกอบการที่ขอรับการรับรอง
• วิธีการคือสงแบบสํารวจใหแตละองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) ดําเนินการ (โดย
คาใชจายในการสํารวจใหเปนความรับผิดชอบของสถานประกอบการ)
• จํานวนตัวอยาง อปท. ละไมนอยกวา 50 คน

• สํารวจใหคะแนน โดยคะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยตองไมนอยกวา 70%

การประเมินอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 5 เครือขายสีเขียว
เกณฑการตัดสิน ผลการประเมินทั้งหมดตองผานทั้งสวนของผูประเมิน และชุมชนรอบขาง
ขอบเขตของชั้น (Tier) ใน Supply Chain พิจารณาเฉพาะ Supplier ที่เปน 1st Tier supplier คือ
• สถานประกอบการในประเทศ
• สถานประกอบอุตสาหกรรมในตางประเทศ
ซึ่งทําการผลิตวัตถุดิบที่ใชในกระบวนการผลิต (Process) ของสถานประกอบการที่ขอประเมิน ให
ดําเนินการแบง Supplier ของ 1st Tier อยางนอย 3 กลุม

กลุมที่มีผลกระทบดานสิ่งแวดลอมอยางมาก (High Impact)


• สถานประกอบการในประเทศ จะตองไดอุตสาหกรรมสีเขียวระดับ 2 ขึ้นไปทุกราย
• สถานประกอบการในตางประเทศ ตองแสดงหลักฐานการประเมินวาสถานประกอบการดังกลาวเปนไป
ตามเกณฑอุตสาหกรรมสีเขียวในระดับ 2 ขึ้นไปทุกราย
การประเมินอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 5 เครือขายสีเขียว
กลุมที่มีผลกระทบดานสิ่งแวดลอมปานกลาง (Medium Impact)
• สถานประกอบการในประเทศ จะตองไดอุตสาหกรรมสีเขียวระดับ 1 และมีแผนที่จะทําใหไดอุตสาหกรรมสีเขียว อยางนอย
ระดับ 2 ภายใน 1 ป
• สถานประกอบการในตางประเทศ ตองแสดงหลักฐานการประเมินของผูยื่นขอวาสถานประกอบการดังกลาวเปนไปตาม
อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 1 และมีแผนที่จะทําใหไดอุตสาหกรรมสีเขียวอยางนอยระดับ 2 ภายใน 1 ป

กลุมที่มีผลกระทบดานสิ่งแวดลอมนอย (Low Impact)


• สถานประกอบการในประเทศที่เปนโรงงานจําพวก 1,2 และ3 มีแผนที่จะทําใหไดอุตสาหกรรมสีเขียวอยางนอยระดับ 2
ภายใน 3 ป
• สถานประกอบการในตางประเทศ ตองแสดงหลักฐานการประเมินของผูยื่นขอวาสถานประกอบการดังกลาวมีแผนที่จะทําให
ไดอุตสาหกรรมสีเขียวอยางนอยระดับ 2 ภายใน 3 ป

การประเมินอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 5 เครือขายสีเขียว
การกําหนดระดับผลกระทบดานสิ่งแวดลอม การพิจารณาตองประกอบดวย
• ระดับความรุนแรง (Severity) ความรุนแรงของผลกระทบ ใน 3 ระดับ คือ นอย กลาง มาก
• โอกาส (Opportunity) ที่จะเกิดผลกระทบ ใน 3 ระดับ คือ นอย กลาง มาก

แนวทางการประเมินผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยที่เกี่ยวของ
1 ขั้ น ตอนที่ ร ะบุ ลํ า ดั บ ผลกระทบด า นสิ่ ง แวดล อ มและความปลอดภั ย ทั้ ง หมดที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การ
ประกอบการที่อาจกอใหเกิดผลกระทบดานสิ่งแวดลอม ความปลอดภัยและความเสียหายตอสิ่งแวดลอม
โดยรวม
2 การแบงระดับผลกระทบของ 1st tier supplier ใชหลักวิชาการในการประเมินตามแนวทางสากลที่เปน
มาตรฐานหรือตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมใหความเห็นชอบ
แนวทางการประเมินโรงงานโดยชุมชน

การประเมินผลกระทบจากโรงงานตอชุมชน

การประเมินผลกระทบจากโรงงานโดยชุมชนทั้งทางบวกและทางลบ การประเมินผลอาจ
นิยามไดวาเปนกระบวนการเพื่อการบงชี้ ทํานายและบรรเทาผลกระทบทางชีวภาพ กายภาพ
สังคม และผลกระทบที่เกี่ยวของอื่นๆ
วัตถุประสงคของการประเมินก็เพื่อใหเปนการประกันไดวา ชุมชนและประชาชนรอบโรงงาน
ได พิ จ ารณาอย า งรอบคอบถึ ง ผลกระทบของโรงงานที่ ก ารประกอบกิ จ การจะไม มี ต อ
สิ่งแวดลอม ชุมชน สังคม กอนที่โรงงานจะผานการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 5
เครือขายสีเขียว (Green Network)
แนวทางการดําเนินการ
ารร (กระบวนการและมาตรการ
( าร)
1. กายภาพ การประเมินถึงผลกระทบจากการประกอบจากการประกอบกิจการโรงงานดาน
กายภาพ เชน ดิน น้ํา อากาศ เสียง
2. ชีวภาพ การประเมินถึงผลกระทบจากการประกอบจากการประกอบกิจการโรงงานดานชีวภาพ
เชน ปาไม สัตวปา สัตวน้ํา ประชาชน เปนตน
3. ชุมชน การประเมินถึงผลกระทบจากการประกอบจากการประกอบกิจการโรงงานตอชุมชนทั้ง
ทางกายภาพและชีวภาพของชุมชน

แนวทางการดําเนินการ
ารร (ต
(ตอ)
4. เศรษฐกิจ การประเมินถึงผลกระทบจากการประกอบจากการประกอบกิจการโรงงานดาน
เศรษฐกิ
ฐ จของชุมชน
5. สังคม การประเมินถึงผลกระทบจากการประกอบจากการประกอบกิจการโรงงานตอสังคม
โดยรวม
6. สิ่งแวดลอม การประเมินถึงผลกระทบจากการประกอบจากการประกอบกิจการโรงงานตอ
สิ่งแวดลอมในชุมชนและโดยภาพรวม
อุตสาหกรรมสีเขียว 7 มิติ

มิติ กรอบโครงการของอุตสาหกรรมสีเขียวของกระทรวงอุตสาหกรรม
1. ฐานขอมูลสีเขียว จัดทําฐานขอมูลและ ขอมูลรวมกาซ บริหารจัดการกาซเรือน ฐานขอมูล
ประเมินวัฏจักรวงจร คารบอนไดออกไซด กระจก อุตสาหกรรมสีเขียว
ชีวิตผลิตภัณฑ (Carbon Footprint) (GHG Management)
(LCI-LCA)

2. องคความรูสีเขียว พัฒนาศักยภาพ เสริมศักยภาพเครือขาย ประชาสัมพันธการเทียบ ความเขาใจเกี่ยวกับ


บุคลากร ระดับ/การปรับตัว อุตสาหกรรมสีเขียว

อุตสาหกรรมสีเขียว 7 มิติ (ตอ)


มิติ กรอบโครงการของอุตสาหกรรมสีเขียวของกระทรวงอุตสาหกรรม
3. กระบวนการ สงเสริมการใชเทคโนโลยี อนุรักษพลังงาน เพิ่มผลิตภาพ กําจัดความสูญเปลา ดวยการ
ผลิตสีเขียว สะอาด Energy Saving for Green Productivity ผลิตแบบ LEAN
Clean Technology Small Enterprises

จัดการทรัพยากรโดยใชหลัก ลดการปลดปลอย CO2 เหมืองแรสีเขียว Green


ลดการเกิด/ใชซ้ํา/แปรใชใหม - 3Rs ผานกลไก CDM Mining

4. วัตถุดิบสีเขียว ลดของเสียฝงกลบ Zero สงเสริมการใชประโยชน – แลกเปลี่ยนของเสีย ผลิตเอทานอลจากของเสีย


Waste to Landfill Waste Utilization (Waste Exchange) (Ethanol production
from waste)
อุตสาหกรรมสีเขียว 7 มิติ (ตอ)
มิติ โครงการ/กรอบโครงการของอุตสาหกรรมสีเขียวของกระทรวงอุตสาหกรรม
5. การจัดการสี ระบบจัดการสิ่งแวดลอม ระบบจัดการสิ่งแวดลอม ระบบจัดการพลังงาน มาตรฐานการจัดการพลังงาน
เขียว EMS for SMEs (ISO 14001) (EnMS-DIW) (ISO 50001)
ยกระดับมาตรฐานการจัดการของเสียของผูรับจัดการ การจัดการภายในโรงงาน บริหารจัดการกากของเสีย
กากของเสีย โดยหลัก 5ส (Waste Management)

6. ผลิตภัณฑสีเขียว ฉลากเขียว Green Label ฉลากคารบอน Carbon Label

7. เทคโนโลยีสีเขียว พัฒนาเทคโนโลยีการจัดการของเสีย พัฒนาของเสียเปนแหลงทรัพยากรทดแทน


Waste Recycling Technology Waste to Resource

สิทธิประโยชนเบือ้ งตน

สิทธิประโยชน เงื่อนไข หนวยงาน

ยกเวนคาธรรมเนียมรายป (๑) ไดรับการรับรองดานระบบการจัดการ กรมโรงงาน


เปนเวลา 5 ป สิ่งแวดลอม (มอก. 14001 หรือ ISO 14001) อุตสาหกรรม
(๒) มาตรฐานดานระบบการจัดการอาชีว
อนามัย และความปลอดภัย (มอก. 18001)

ยกเวนคาธรรมเนียมรายป (๑) นําของเสียหรือวัสดุเหลือใชจากการประกอบ กรมโรงงาน


เปนเวลา 5 ป กิจการมาผลิตกาซชีวภาพเพื่อเปนพลังงานทดแทน อุตสาหกรรม
(๒) นําเอาอากาศเสียจากการเผาไหมใน กระบวนการ
ผลิตทั้งหมดกลับมาใชประโยชนได
สสิิทธิประโยชนเบือ้ งตน (ต
(ตอ)

สิทธิประโยชน เงื่อนไข หนวยงาน


ยกเวนคาธรรมเนียมรายป (๑) ไดรับการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 3 กรมโรงงาน
(Green System) อุตสาหกรรม
เงินกูดอกเบี้ยต่ํา Productivity Loan กรมโรงงาน
อุตสาหกรรม
Green Industry Mark ไดรับการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 1-5 สํานักงาน
Download ปลัดกระทรวง
www.greenindustry.go.th อุตสาหกรรม

สสิิทธิประโยชนเบือ้ งตน (ต


(ตอ)
สิทธิประโยชน เงื่อนไข หนวยงาน
การผอนคลายการตรวจกํากับ ความถี่ในการตรวจเพื่อกํากับดูแล กรมโรงงานอุตสาหกรรม และสํานักงาน
ดูแลโรงงานที่ไดรับการรับรอง โรงงานลดลง อุตสาหกรรมจังหวัด
อุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 3
ขึ้นไป
การยกยองชมเชย การประกาศหรือจัดทํารายชื่อ สํานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
ในเวปไซด
Green Logo
รางวัลอุตสาหกรรมดีเดน สํานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
การใชตราสัญลักษณ

อุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่....
การรับรองเลขที่............................

คุณสมบตของผู
สมบัติของผูตรวจประเมิ
รวจประเมนฝกหด
นฝกหัด ผูตรวจประเมิ
รวจประเมนน
และหัวหนาผูตรวจประเมิน อุตสาหกรรมสีเขียว
ผูตรวจประเมินฝกหัด

การศึกษา ประสบการณทํางาน การฝกอบรม ประสบการณตรวจ


ประเมิน

ขั้นต่ําระดับปริญญาตรี มี ป ระ สบ กา รณ ก า ร สํ า เร็ จ การฝ ก อบรม -ไมกําหนด-


ด า นวิ ศ วกรรมศาสตร ทํางานไมนอยกวา 4 ป ห ลั ก สู ต ร ผู ต ร ว จ
วิทยาศาสตร หรือสาขา ( ไ ม นั บ ร ว ม ก า ร ประเมิน/หัวหนาผูตรวจ
ที่เกี่ยวของ ฝกอบรม) ประเมิ น สํ า หรั บ การ
ต ร ว จ ป ร ะ เ มิ น
อุ ต สาหกรรมสี เ ขี ย ว*
อยางนอย 40 ชั่วโมง

ผูตรวจประเมิน

การศึกษา ประสบการณทํางาน การฝกอบรม ประสบการณตรวจ


ประเมิน

ขั้นต่ําระดับปริญญาตรี มี ป ระ สบ กา รณ ก า ร สํ า เร็ จ การฝ ก อบรม มีประสบการณในการตรวจ


ด า นวิ ศ วกรรมศาสตร ทํางานไมนอยกวา 4 ป ห ลั ก สู ต ร ผู ต ร ว จ ปร ะเ มิ น อุ ต สาหกรรมสี
เขียว** ไมนอยกวา 4 ครั้ง
วิทยาศาสตร หรือสาขา ( ไ ม นั บ ร ว ม ก า ร ประเมิน/หัวหนาผูตรวจ และเปนเวลาอยางนอย 20
ที่เกี่ยวของ ฝกอบรม) ประเมิ น สํ า หรั บ การ วั น ในบทบาทของผู ต รวจ
ต ร ว จ ป ร ะ เ มิ น ประเมิ น ฝ ก หั ด ภายใต ก าร
อุ ต สาหกรรมสี เ ขี ย ว* ควบคุ ม และแนะนํ า ของ
อยางนอย 40 ชั่วโมง หั ว หน า ผู ตร วจปร ะเ มิ น
อุตสาหกรรมสี เขีย วที่ไดรับ
การแต ง ตั้ ง จากสํ า นั ก งาน
ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า
อุตสาหกรรมสีเขียว
หัวหนาผูตรวจประเมิน

การศึกษา ประสบการณทํางาน การฝกอบรม ประสบการณ ต รวจ


ประเมิน

ขั้นต่ําระดับปริญญาตรี ดาน มี ประสบการณ การทํ างาน สํ า เ ร็ จ ก า ร ฝ ก อ บ ร ม มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ใ น ก า ร


วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร ไมนอยกวา 4 ป (ไมนับรวม หลั ก สู ต รผู ต รวจประเมิ น / ป ฏิ บั ติ ง า น เ ป น หั ว ห น า
วิ ท ยาศาสตร หรื อ สาขาที่ การฝกอบรม) หั ว หน า ผู ต รวจประเมิ น ผูตรวจประเมินอุตสาหกรรม
เกี่ยวของ สํ า หรั บ การตรวจประเมิ น สี เ ขี ย ว ไม น อ ยกว า 3 ครั้ ง
อุตสาหกรรมสีเขียว* อยาง และเปนเวลาอยางนอย 15
นอย 40 ชั่วโมง วัน ภายใตการควบคุ ม และ
แนะนํ า ของหั ว หน า ผู ต รวจ
ประเมิ น ที่ ไ ด รั บ การแต ง ตั้ ง
จากสํ า นั ก งานส ง เสริ ม และ
พัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียว
ความหมายของเศรษฐกิจสเี ขียว

เศรษฐกิจสเี ขียว (Green Economy) คือ


การพัฒนาความเป็ นอยูข ่ องมนุษย์ สง่ เสริมความเป็ นธรรม
ทางสั ง คม รวมทั งลดความเส ียงด ้านส งแวดลิ ้อมและ

ความเสอมโทรมของระบบนิ เวศน์ การลดคาร์บอนการใช ้
ิ ธิภ าพและการมีส่ ว นร่ ว มของ
ทรั พ ยากรอย่ า งมีป ระส ท
ประชาชนทุกภาคสว่ น (ทีมา: UNEP)

ความเสยงด้ ิ
านสงแวดล้
อม
+ การขาดแคลนในระบบ
นิเวศ

ความอยูด
่ ม
ี ส ี ข
ุ ของมนุษย์
+ ความเท่าเทียมทาง

สงคม

ทําไมต้องข ับเคลือนภาคอุตสาหกรรมสู่
เศรษฐกิจสเี ขียว

9 พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให ้เข ้มแข็ง



9 ลดการใชและการทํ าลายทรัพยากรธรรมชาติ
9 กระแสการผลิตและการบริโภคเปลียนไป
9 ตอบสนองต่อความต ้องการของตลาด
9 เป็ นทียอมรับของสงั คมและสงแวดล
ิ ้อม
Cost Saving
9 ลดต ้นทุนการผลิตได ้ในระยะยาว
9 สร ้างความยังยืนให ้กับองค์กร
“คุณภาพสิงแวดล้อม” หมายความว่า ดุลยภาพของธรรมชาติ
อันได้แก่ สัตว์ พืช และทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ และสิงทีมนุษย์ได้ทาํ ขึน
ทังนี เพือประโยชน์ ต่อการดํารงชีพของประชาชนและความสมบูรณ์ สืบไปของ
มนุษยชาติ
“มาตรฐานคุณภาพสิงแวดล้อม" หมายความว่า ค่ามาตรฐานคุณภาพนํา
อากาศ เสียง และสภาวะอืน ๆ ของสิงแวดล้อม ซึงกําหนดเป็ นเกณฑ์ทวไป ั
สําหรับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิงแวดล้อม
"มลพิษ" หมายความว่า ของเสีย วัตถุอนั ตราย และมลสารอืน ๆรวมทังกาก
ตะกอน หรือสิงตกค้างจากสิงเหล่านัน ทีถูกปล่อยทิงจากแหล่งกําเนิดมลพิษ
หรือทีมีอยู่ในสิงแวดล้อมตามธรรมชาติ ซึงก่อให้เกิดหรืออาจก่อให้เกิด
ผลกระทบต่อคุณภาพสิงแวดล้อม หรือภาวะทีเป็ นพิษภัยอันตรายต่อสุขภาพ
อนามัยของประชาชนได้ และให้หมายความรวมถึง รังสี ความร้อน แสง เสียง
กลิน ความสันสะเทือน หรือเหตุราํ คาญอืน ๆ ทีเกิดหรือถูกปล่อยออกจาก
แหล่งกําเนิดมลพิษด้วย 83

ระบบนิเวศน์ กบั การพัฒนา


ทรัพยากรธรรมชาติ
- นํา
ปุ๋ย/ยาฆ่ าแมลง
- พลังงาน อุตสาหกรรม เกษตรกรรม
- วัตถุดบิ

ผลผลิต

ของเสี ย นิเวศน์ มนุษย์


ของเสี ย ของเสี ย

มลพิษสิ งแวดล้ อม
- มลพิษนํา (นําเสี ย)
- มลพิษอากาศ (อากาศเสี ย)
-มลพิษดิน (ขยะและของเสี ยอันตราย) 84

ผลกระทบต่อสงแวดล้
อมจากการ
ประกอบกิจการโรงงาน
เสียงและความสันสะทือน

มลพิ ษทางอากาศ

• นํา
• พลังงาน
• วัตถุดิบ
• สารเคมี
ผลิตภัณฑ์
ของเสีย

มลพิ ษทางดิ น มลพิ ษทางนํา

พืนทีวิกฤตคุณภาพอากาศ ในปี 2556

แหล่งกําเนิด
พืนทีวิกฤติ สถานการณ์
มลพิษ
ต.หน้าพระลาน ดีขน
ึ กิจกรรมโรงโม่
อ.เฉลิมพระเกียรติ จ. (PM10) เหมืองหิน โรงงาน
สระบุร ี ปูนซเี มนต์
โรงแต่งแร่
พืนทีมาบตาพุด ทรงต ัว-แย่ลงเล็กน้อย อุตสาหกรรม และ
จ.ระยอง (VOCs) ยานพาหนะ
กรุงเทพมหานคร แย่ลง ยานพาหนะเป็นหล ัก
และปริมณฑล (PM10, O3, VOCs,) และอุตสาหกรรมใน
เขตปริมณฑล
ภาคเหนือตอนบน ดีขน
ึ (PM10) เผาในทีโล่ง ไฟป่า
ดเห ั
ปศุสตว์
ชุมชน

ปศุสตว์
ชุมชน
ปศส
ปศุ ั เพาะปล
สตว์ เพาะปลูก
ชุมชน
ั เพาะปลูก
ปศุสตว์
ชุมชน อุตสาหกรรม

ั เพาะปลูก ชุมชน
ปศุสตว์
อุตสาหกรรม


อุตสาหกรรม ปศุสตว์

สถานการณ์ขยะมูลฝอย
ผลการสสํารวจข้อมลขยะมลฝอยท
มูลขยะมูลฝอยทวประเทศใหม่
ั ในปี
ป2 2556 ขยะ
มูลฝอยเกิดขึนประมาณ26.774 ล้านต ัน หรือ 73,355 ต ัน/ว ัน

อปท. ปริมาณขยะมูลฝอย
ทีเกิดขึน

(ล้านต ัน) (ร้อยละ)


กทม. 4.137 16%
เทศบาล 10.241 38%
แ ล ะ เ มื อ ง
พ ัทยา
อบต. 12.396 46%
รวม 26.774 100%
เปรียบเทียบปริมาณขยะมูลฝอยทีเกิดขึนก ับตึกใบห
หยก
ก2

ปริมาณขยะมูลฝอยที ตึกใบหยก 2
เกิดขึน 26.77 ล้านต ัน 139 ตึก

้ ระโยชน์ขยะมูลฝอยชุมชน
การใชป

90
ี อ ันตราย
ของเสย

ภาคอุตสสาหกรรม
าหกรรม 2.044 ลานตั
านตนั
( 77 %)

4%

ี อ ันตรายจากชุมชน
ของเสย
65
5 % : ซากผลิตภณ
ภณฑ
ัณฑ์
ฑเเเค
คร
ครื
รอ
อง
องใช
ใช
ชไไ้ ฟฟ
ไฟ เล็กทรอนิกส ์ :
ฟ้ าและอิ
ฟา แ
(368 8,300
, 0 ตน ัน
ัน/
/ป
ปีี )
ƒ โทรท ัศน์ (27 %)
ƒ เครืองปร ับอากาศ (19 %)
ƒ ตูเ้ ย็น (16 %)
ƒ เครืองซกผ้ั า (15 %)
ƒ คอมพิวเเตอร์ (14 %)
ƒ เครืองเล่นวีซดี /
ี ดีวด ั
ี ี โทรศพท์ และกล้องถ่ายรูปดิจต
ิ อล (9 %)

35 % : อืนๆ
™สงที
ิ น่าห่วงใย คือ ซาก
• แบตเตอรีชนิดตะกวั (68 %) WEEE จะเพิมขีนเพราะ
• หลอดไฟ (8 %) เทคโนโลยีเปลียน
• แบตเตอรี (17 %) ™ไม่มรี ะบบเก็บรวบรวมและ
• ภาชนะบรรจุสารเคมี (7 %) เรียกคืนซากผลิตภ ัณฑ์

มูลฝอยติดเชอ


กฎหมายจ ัดการมลพิษในสงแวดล้
อม

zพ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ. 2535


zพ.ร.บ.การสง่ เสริมและรักษาคุณภาพสงแวดล
ิ ้อม
แห่งชาติ พ.ศ.2535
zพ.ร.บ.การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
พ.ศ.2522
zพ.ร.บ.วัตถุอน
ั ตราย พ.ศ.2535
zฯลฯ

94
กฎหมายทีเกียวก ับการจ ัดการมลพิษ

เสย ั
ี งและความสนสะทื
อน
มลพิษทางอากาศ ่ เสริมและร ักษา
พ.ร.บ.สง

คุณภาพสงแวดล้ อม
และ พ.ร.บ. โรงงาน

• การบ ังค ับใชม้ าตรฐาน


ระบายมลพิษจากแหล่งกําเนิด
้ าตรฐานคุณภาพ
• การบ ังค ับใชม

สงแวดล้ อมและรายงาน EIA
• การบ ังค ับใชก้ ฎระเบียบและ

ของเสย มาตรการปฏิบ ัติตา่ ง ๆ

มลพิษทางนํา
มลพิษทางดิน

แรงกดด ันจากปัญหามาบตาพุด
z คณะร ัฐมนตรีมม ี ติเมือ 6 ต.ค.52
เห็นชอบให้ปร ับเปลียนแนวการพ ัฒนา
พืนทีอุตสาหกรรมหล ักของประเทศ 2 แห่ง คือ
– จ ังหว ัดระยอง และ
– พืนทีทีอยูภ่ ายใต้โครงการพ ัฒนาพืนทีชายฝัง
ทะเลภาคใต้ ให้เป็น "เขตอุตสาหกรรมเชงิ
นิเวศ“ (Eco Industrial Town)

96
แนวคิดระบบนิเวศอุตสาหกรรม
(eco-industrial system)
z "นิเวศอุตสาหกรรม“
„ หมายถึง ระบบทีไร้ของเสยี (zero waste) เพราะของ
ี จากโรงงานหนึงสามารถนําไปใชเ้ ป็นว ัตถุดบ
เสย ิ ของ
โรงงานหรือกิจกรรมอืนในพืนทีเดียวก ันได้
z นิเวศอุตสาหกรรมต ัวอย่างของโลก
„ เมืองคาลุนด์บอร์ก (Kalundborg) ประเทศเดนมาร์ก
‹ มีโรงไฟฟ้า โรงกลนนํั าม ัน โรงงานผลิตซเี มนต์ ประมง ฟาร์มเลียงหมู เกษตรกร
รายย่อย เทศบาลเมืองคาลุนด์บอร์ก ฯลฯ
‹ ถูกออกแบบมาตงแต่ั แรกให้ทก ุ ฝ่ายได้ประโยชน์จากการลดค่าใชจ ้ า
่ ยในการ
ี ปร ับปรุงประสท
กําจ ัดของเสย ิ ธิภาพในการใชท ้ ร ัพยากร และสร้างผลตอบแทน

ด้านสงแวดล้ อม

97

98

การจ ัดทําแนวป้องก ันสงแวดล้
อมรอบนิคมอุตสาหกรรม
(Protection Strip)

99

การเคลือนอุตสาหกรรมไปสู่
"นิเวศอุตสาหกรรม”
z ต้องอาศยท ั งวิ
ั สยทั ัศน์ ความรูค ี
้ วามเชยวชาญ
และเทคโนโลยีลา ่ เสริมการพ ัฒนาอย่าง
่ สุดทีสง
ยงยื
ั น
z สถาบ ันการพ ัฒนาอย่างยงยื ั นนานาชาติ
(International Institute for Sustainable
Development) แบ่งเทคโนโลยีออกเป็น 4 "รุน ่ "
ด้วยก ัน ได้แก่
„เทคโนโลยีแก้ปญ ั หา
„เทคโนโลยีบรรเทาปัญหา
„เทคโนโลยีป้องก ันปัญหา และ
„เทคโนโลยีทย ี งยื
ั น 100
เทคโนโลยีแก้ปญ
ั หา

zเทคโนโลยีทใช ้ อ
ี ต ่ เมือปัญหาได้เกิดขึนแล้ว
zข้อเสยี – มีราคาแพง ไม่ได้แก้ทต้ ี นเหตุ
zต ัวอย่าง
„ เทคโนโลยีฟืนฟูหน้าดิน
„ เทคโนโลยีชําระล้างพืนทีมีพษ ิ
„ เทคโนโลยีบําบ ัดนําเสย ี ฯลฯ

101

เทคโนโลยีบรรเทาปัญหา

zมุง
่ ก ักเก็บสารพิษหรือบําบ ัดสารพิษทีปลายท่อ
(end-of-pipe) ก่อนปล่อยไปภายนอกโรงงาน
zข้อเสย ี – มีราคาค่อนข้างแพงและต้องใชเ้ งิน
พล ังงาน และทร ัพยากรอืนๆ อย่างสมําเสมอ และ
สร้างไอนําทิง (waste steam) เป็นของเสย ี
zต ัวอย่าง
„เทคโนโลยีการจ ับก๊าซซลเฟอร์ ั ไดออกไซด์ออก

จากก๊าซเชอเพลิ ง (flue gas
desulfurization)
„หม้อพ ักลดเสย ี ง (catalytic mufflers)
102
เทคโนโลยีป้องก ันมลพิษ
zมุง
่ ป้องก ันมลพิษ ตงแต่
ั ขนตอนการออกแบบ

กระบวนการอุตสาหกรรม หรือการออกแบบ
ผลิตภ ัณฑ์
zเปลียนแปลงกระบวนการผลิตหรือต ัวสน ิ ค้าเพือ
ลดหรือป้องก ันมลพิษ คุม ้ ค่ากว่าเทคโนโลยี
บรรเทาปัญหา และลดการปล่อยไอนําทิงด้วย
zต ัวอย่าง
„กระดาษปลอดสารคลอรีน
„กระบวนการเคลือบโลหะปลอดสารไซยาไนด์
„นําม ันปลอดสารตะกวั และ
„การออกแบบกระบวนการอุตสาหกรรมอืนๆ
103

เทคโนโลยีทย
ี งยื
ั น
zมุง
่ ออกแบบสนิ ค้าหรือบริการใหม่ทเป
ี ็ นผลดีตอ

ระบบเศรษฐกิจ สงคมั ิ
สงแวดล้ อม และใช ้
ทร ัพยากรอย่างมีประสทิ ธิภาพ
zต ัวอย่าง
„ หลอดไฟฟ้าประหย ัดพล ังงาน
„ กระดาษรีไซเคิล
„ พล ังงานทดแทน ฯลฯ

104
การสร้างความสมดุลระหว่าง

เศรษฐกิจ สงคม ิ
และสงแวดล้ อม
• ความเขาใจวา เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง เปนเรื่องของ
ภาคเกษตรกรรม เปนเรื่องของชนบทและ เปนเรื่องไกล
ตัวของสังคมเมือง ?
• ทํ า ให ก ารประยุ ก ต ใ ช ใ นภาคอุ ต สาหกรรมไม เ ป น ที่
แพรหลาย
• กระทรวงอุ ต สาหกรรม จึ ง จั ด ทํา มาตรฐานแนวทาง
เศรษฐกิ จ พอเพีย งภาคอุต สาหกรรม (มอก.9999)
เพื่อใหภาคอุตสาหกรรมการผลิตนําใชบนพื้นฐานของ
หลัก 3 หวง กับ 2 เงื่อนไข เพื่อใหองคกรพัฒนาอยาง
สมดุ ล ทั้ง ดา นเศรษฐกิจ สั ง คม สิ่ง แวดล อม มี ความ
มั่นคง และยั่งยืน
• เปนหนึ่งองคประกอบของอุตสาหกรรมสีเขียวระดับ 5

มาตรฐานเศรษฐกิจพอเพียง
สมดุล มั่นคง ยั่งยืน และมีความสุข
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการปรัชญาของ
ทางสายกลาง เศรษฐกิจพอเพียงทั่วทั้งองคกร

การนํนาอง
าองคกร
ความ
พอประมาณ
การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอม

ความมี ความมี การวางแผน • สังคม


เหตุผล ภูมิคุมกัน • เทคโนโลยี
• เศรษฐกิจ
• สิ่งแวดลอม
ความรู คุณธรรม การปรับปรุง การนําไปปฏิบัติ • การเมืองและกฎระเบียบ
หลักการ
• การมีสวนรวมของบุคลากร
• การเคารพตอผลประโยชนของผูมี
การติดตามเฝาระวัง
สวนไดสวนเสีย การวัดผล และการทบทวน
• การบริหารแบบองครวม
• การบริหารเชิงระบบ
อุตสาหกรรมสเี ขียว...เพือการพัฒนาอย่างยังยืน

คุณภาพ/ผลิตภาพด้านสิงแวดล้อม

Continuous
Improvement

Green Sustainable
Industry Development

Corporate
Social
Responsibility เศรษฐกิจพอเพียง/ การพัฒนาอย่างยังยืน
การจัดการห่วงโซ่อุปทาน
ความรับผิดชอบต่อสังคม
107

เอกสารองคความรู
ํ เร็จ
ปัจจ ัยแห่งความสา

ความรู ้
ความสาม
ารถของผู ้
มีสว่ นได้
ความต่อเนือง สว่ นเสยี

ชดเจน และ กระตุน ้ ฝัง
เป็นรูปธรรม ผูบ
้ ริโภค
ของนโยบาย
ความร่วมมือ
ของทุกฝ่าย
การ ระบบการ
สน ับสนุน ร ับรอง
ของ และผูใ้ ห้
ภาคร ัฐ บริการ
มาตรการ
การเงิน
การคล ัง
109

สํสานกง
าานกง
นักงานส
งานสงเสรมและพฒน
งเสริมและพัพฒน
ฒนาอุ
น ตสาหกรรมสเขยว
สาหกรรมสีเขียว
Tel
Te eell 0 22 2202 02 3249 Fa Fax
aaxx 0 22
2202 3249
Email:
Emai
http://
il:l:l gip
ggipo.moi@gmail.com
ppo.moi@gmail.com
@g
:///www.greenindustry.go.th
://
Thank You

You might also like