Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 23

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3

แผนบูรณาการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
รหัส ว 30226 ชื่อรายวิชาเคมี 1 กลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 อะตอมและสมบัติของธาตุ
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4
เรื่อง กลุ่มของธาตุในตารางธาตุ
เวลา 1 ชั่วโมง
ผู้สอน นางสาวฐิตาภา อินเทพ (นักศึกษาทดลองสอน)

1. ผลการเรียนรู้
8. ระบุหมู่ คาบ ความเป็ นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะของกลุ่ม
ธาตุธาตุเรพรีเซนเททีฟ และ ธาตุแทรนซิชันในตารางธาตุ

2. สาระสำคัญ
การที่นักวิทยาศาสตร์พบธาตุเป็ นจํานวนมากจําเป็ นต้องหาความ
สัมพันธ์ระหว่างสมบัติต่างๆ ของธาตุ แล้วนํามาจัดกลุ่มเพื่อให้ง่าย
ต่อการศึกษาทัง้ นีต
้ ารางธาตุที่ใช้อยู่ในปั จจุบันแบ่งธาตุเป็ น 7 คาบ
18 หมู่ โดยหมู่ธาตุยังแยกเป็ นหมู่ย่อย A ซึ่งเรียกว่า กลุ่มธาตุเรพรี
เซนเททีฟหรือกลุ่มธาตุหมู่หลัก และ B ซึง่ เรียกว่า กลุ่มธาตุแทรนซิ
ชัน กลุ่มธาตุหมู่หลักมีแนวโน้มสมบัติบางประการเช่น ขนาด
อะตอม ขนาดไอออน พลังงานไอออไนเซชัน สัมพรรคภาพ
อิเล็กตรอน และอิเล็กโทรเนกาติวิตี ตามหมู่และคาบส่วนกลุ่มธาตุ
แทรนซิชันมีสมบัติคล้ายกันตามคาบมากกว่าตามหมู่

3. สาระการเรียนรู้
ตารางธาตุในปั จจุบัน ทัง้ หมด 118 ธาตุโดยแบ่งธาตุในแนวตัง้
เป็ น 18 แถว และแบ่งธาตุในแนวนอนเป็ น 7 แถว โดยหมู่ธาตุยัง
แยกเป็ นหมู่ย่อย A ซึ่งเรียกว่า กลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟหรือกลุ่มธาตุ
หมู่หลัก และ B ซึ่งเรียกว่า กลุ่มธาตุแทรนซิชัน ซึ่งจะคุณสมบัติของ
ธาตุดังนี ้ ธาตุโลหะ ธาตุกึ่งอะโลหะ ธาตุอโลหะ

4. งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีวัตถุประสงค์
ให้เยาวชนได้มีโอกาสใกล้ชิดกับพืชพรรณไม้ได้เรียนรู้ถึงพืชท้องถิ่น
ของตนช่วยกันดูแลไม่ให้สูญพันธุ์ ซึ่งจะก่อให้เกิดจิตสำนึกในการที่
จะอนุรักษ์สืบไปการดำเนินงานประกอบด้วย
องค์ประกอบที่ 2 หลักการ คือ คลุกคลี เห็นคุณ สุนทรีย์
การรวบรวมพันธุ์ไม้เข้าไปปลูกในโรงเรียนอาจเป็ นพืชในกลุ่มที่
สนใจ เน้นพืชพรรณไม้ในท้องถิ่น ซึ่งมีการศึกษาค้นคว้าข้อมูลการใช้
ประโยชน์ในท้องถิ่นเป็ นการนำองค์ความรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
โดยใช้ใบงานที่ 5 เรื่องการศึกษาพรรณไม้หลังการปลูก และบันทึก
ข้อมูลการดูแลรักษา การเจริญเติบโตตลอดจนการเปลี่ยนแปลง
และความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยต่างๆ
องค์ประกอบที่ 5 หลักการ คือ นำองค์ความรู้ ที่เป็ นวิทยาการ
เผยแพร่เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่
การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษาการบูรณาการสู่การเรียนการ
สอนในกลุ่มสาระ และสาขาวิชาต่าง ๆ การเผยแพร่องค์ความรู้ การ
สร้าง การใช้ การดูแลรักษา และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ เพื่อการใช้
ประโยชน์องค์ความรู้ในวงกว้าง

5. จุดประสงค์การเรียนรู้
5.1 ด้านรายวิชาที่สอน
5.1.1 ด้านความรู้ (K)
บอกหมู่ คาบ ความเป็ นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะของ
ธาตุในตารางธาตุได้
5.1.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P)
จำแนกคุณสมบัติของธาตุได้
5.1.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน
5.2 ด้านงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
5.2.1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ โดยการศึกษาคุณ
ของพืชพรรณที่ปลูก และบันทึกการเปลี่ยนแปลง
5.2.2 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ และศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับพืช

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มุ่งมั่นในการทำงาน
7. ชิน
้ งาน/ภาระชิน
้ งาน
1. ใบงานที่ 2.4 เรื่อง ตารางธาตุและสมบัติของธาตุหมู่หลัก 1
2. การปลูกต้นไม้ 1 ชนิด และบันทึกใบงานที่ 5 เรื่องการศึกษา
พรรณไม้หลังการปลูก
8. การวัดและประเมินผล
สิ่งที่จะประเมิน วิธีการวัด เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์การ
(จุดประสงค์การ ประเมิน ในการ ประเมิน
เรียนรู้) ประเมิน
(K) บอกหมู่ คาบ - ตรวจ ใบ - แบบ - ระดับ
ความเป็ นโลหะ งานที่ 2.4 ประเมินชิน
้ คุณภาพ 2
อโลหะ และกึ่ง เรื่อง ตาราง งาน ขึน
้ ไปผ่าน
โลหะของธาตุใน ธาตุและ (ด้านความรู้) เกณฑ์
ตารางธาตุได้ สมบัติของ
ธาตุหมู่หลัก 1
(P) จำแนก - ตรวจ ใบ - แบบ - ระดับ
คุณสมบัติของธาตุ งานที่ 2.4 ประเมินผล คุณภาพ 2
ได้ เรื่อง ตาราง จำแนกข้อมูล ขึน
้ ไปผ่าน
ธาตุและ (ด้านทักษะ เกณฑ์
สมบัติของ กระบวนการ)
ธาตุหมู่หลัก 1
- ตรวจ การ
ปลูกต้นไม้ 1
ชนิด และ
บันทึกใบงาน
สิ่งที่จะประเมิน วิธีการวัด เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์การ
(จุดประสงค์การ ประเมิน ในการ ประเมิน
เรียนรู้) ประเมิน
ที่ 5 เรื่องการ
ศึกษาพรรณ
ไม้หลังการ
ปลูก
(A) นักเรียนมี - ตรวจจาก - แบบ - ระดับ
ความมุ่งมั่นในการ การสังเกต ประเมิน คุณภาพ 2
ทำงาน พฤติกรรม คุณลักษณะ ขึน
้ ไปผ่าน
อันพึง เกณฑ์
ประสงค์

9. กิจกรรมการเรียนการสอน
กิจกรรมการเรียนรู้ 5E (5E Instructional Model)
1. ขัน
้ สร้างความสนใจ (Engagement)
1.1 ครูทบทวนความรู้เดิมให้นักเรียนว่า ตารงธาตุแบ่งธาตุออก
เป็ น 18 แถว เรียกแถวในแนวตัง้ ว่า หมู่ เรียกแถวในแนว
นอนว่า คาบ
1.2 ครูตงั ้ คำถาม ถามนักเรียนว่า ในเรื่องของตารางธาตุ
นักเรียนรู้จักชื่อธาตุอะไรบ้าง
( แนวตอบ : H = ไฮโดรเจน Mg = แม็กนีเซี่ยม Ca =
แคลเซียม C = คาร์บอน N = ไนโตรเจน P =
ฟอสฟอรัส O = ออกซิเจน S = กำมะถัน เป็ นต้น )

2. สำรวจค้นหา (Exploration)
2.1 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาเกี่ยวกับกลุ่มของธาตุใน
ตารางธาตุ จากหนังสือเรียนเคมี ม.4 เล่ม 1 หน้า 83-84
2.2 ครูถามคำถามนักเรียนแต่ละกลุ่มว่า นักวิทยาศาสตร์จัด
ธาตุในตารางธาตุตามคุณสมบัติความเป็ นโลหะได้กก
ี่ ลุ่ม
อะไรบ้าง
( แนวตอบ : 3 กลุ่ม ได้แก่ ธาตุโลหะ ธาตุกึ่งอะโลหะ ธาตุ
อโลหะ )
2.3 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไปเพราะเมล็ดหรือปลูกต้นไม้
กลุ่มละ 1 ชนิด บริเวณสวนป่ าหลังโรงเรียน
2.4 ครูให้นักเรียนนำความรู้ในเรื่อง กลุ่มของธาตุในตารางธาตุ
โดยให้นักเรียนบันทึกข้อมูลการดูแลรักษา การเจริญเติบโต
ตลอดจนถึงการเปลี่ยนแปลง และสัมพันธุ์ระหว่างปั จจัย
ต่างๆ (ข้อมูลการให้น้ำ ปุ๋ย ยารัษาโรค เป็ นการนำธาตุ และ
กลุ่มธาตุใดมาใช้) และพืชต้องการธาตุใดบ้างในการเจริญ
เติบโต

3. ขัน
้ อธิบายและสรุป (Explanation)
3.1 ครูอธิบายความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับกลุ่มของธาตุในตาราง
ธาตุเรื่อง ตารางธาตุ และสมบัติของธาตุหมู่

- ธาตุโลหะ (metal) โลหะทรานซิชันเป็ นต้นฉบับของ


โลหะ ธาตุโลหะเป็ นธาตุที่มีสถานะเป็ นของแข็ง (ยกเว้น
ปรอท ที่เป็ นของเหลว) มีผิวที่มันวาว นำความร้อน และ
ไฟฟ้ าได้ดี มีจุดเดือด และจุดหลอมเหลวสูง (ช่วงอุณหภูมิ
ระหว่างจุดหลอมเหลวกับจุดเดือดจะต่างกันมาก) ได้แก่
โซเดียม (Na) เหล็ก (Fe) แคลเซียม (Ca) ปรอท (Hg)
อะลูมิเนียม (Al) แมกนีเซียม (Mg) สังกะสี (Zn) ดีบุก (Sn)
เป็ นต้น
- ธาตุอโลหะ (Non metal) มีได้ทงั ้ สามสถานะ สมบัติ
ส่วนใหญ่จะตรงข้ามกับอโลหะ เช่น ผิวไม่มันวาว ไม่นำ
ไฟฟ้ า ไม่นำความร้อน จุดเดือด และจุดหลอมเหลวต่ำ
เป็ นต้น ได้แก่ คาร์บอน (C) ฟอสฟอรัส (P) กำมะถัน (S)
โบรมีน (Br) ออกซิเจน (O) คลอรีน (Cl) ฟลูออรีน (F)
เป็ นต้น
- ธาตุก่งึ โลหะ (metalloid) เป็ นธาตุกึ่งตัวนำ คือ จะ
สามารถนำไฟฟ้ าได้เฉพาะในภาวะหนึ่งเท่านัน
้ ธาตุกึ่งโลหะ
เหล่านีจ
้ ะอยู่บริเวณเส้นขัน
้ บันได ได้แก่ โบรอน (B) ซิลิคอน
(Si) เป็ นต้น

4. ขัน
้ ขยายความรู้ (Elaboration)
4.1 ครูให้นักเรียนสืบค้นหาข้อมูล เกี่ยวกับธาตุที่พืชต้องการใน
การเจริญเติบโต (พืชที่นักเรียนได้ปลูก) เพื่อที่จะได้นำความ
รู้ไปใช้ในการดูแลพืชที่นักเรียนปลูก โดยการนำความรู้ใน
ทางวิทยาศาสตร์เรื่องธาตุมาปรับใช้ในสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียน
4.2 ครูเปิ ดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัยในเนื้อหา เกี่ยว
กับเรื่อง กลุ่มของธาตุในตารางธาตุ
4.2 ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 2.4 เรื่อง ตารางธาตุ และสมบัติ
ของธาตุหมู่หลัก
5. ขัน
้ ประเมิน (Evaluation)
5.1 ครูตรวจสอบผลจากการทำใบงานที่ 2.4 เรื่อง ตารางธาตุ
และสมบัติของธาตุหมู่หลัก 1
5.2 ครูตรวจสอบผลจากการทำบันทึกใบงานที่ 5 เรื่องการ
ศึกษาพรรณไม้หลังการปลูก
5.2 ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนที่มีความมุ่งมั่นในการ
ทำงาน

10. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
10.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนเคมี ม.4 เล่ม 1
10.2 แหล่งการเรียนรู้
1) อินเทอร์เน็ต
ชื่อ ............................................. นามสกุล …….…..……….....……………….. เลขที่ …….….

ใบงานที่ 2.4
เรื่อง ตารางธาตุและสมบัติของธาตุหมู่หลัก 1

คำชีแ
้ จง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี ้

1. ปั จจุบันใช้สิ่งใดเป็ นเกณฑ์ในการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ
.......................................................................................................
...................................................
2. ธาตุที่มีสมบัติคล้ายกับธาตุไนโตรเจน (N) มากที่สุดคือธาตุใด
เพราะเหตุ
ใด...................................................................................................
.......................................................
3. ธาตุกลุ่ม f ออร์บิทัล ประกอบด้วยธาตุในกลุ่มใดบ้าง
.......................................................................................................
...................................................
4. ตารางธาตุสามารถบอกข้อมูลใดบ้างเกี่ยวกับธาตุ
.......................................................................................................
...................................................
5. แก๊สเฉื่อยในตารางธาตุคือธาตุในหมู่ใด เพราะเหตุใดจึงเรียกเช่น
นัน

.......................................................................................................
...................................................
6. ธาตุ A B C D E และ F มีเลขอะตอม 4 7 13 31 55 และ 88
ตามลำดับ ธาตุใดที่มีสมบัติเป็ นโลหะ และมีความเป็ นโลหะแตก
ต่างกันอย่างไร

ธา เลข การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับ
คาบ หมู่
ตุ อะตอม พลังงานหลัก
A
B
C
D
E
F
ชื่อ ............................................. นามสกุล …….…..……….....……………….. เลขที่ …….….

ใบงานที่ 2.4
เฉลย
เรื่อง ตารางธาตุและสมบัติของธาตุหมู่หลัก 1

คำชีแ
้ จง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี ้
1. ปั จจุบันใช้สิ่งใดเป็ นเกณฑ์ในการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ
ตอบ เลขอะตอม และสมบัติทางเคมี
2. ธาตุที่มีสมบัติคล้ายกับธาตุไนโตรเจน (N) มากที่สุดคือธาตุใด
เพราะเหตุใด
ตอบ ธาตุ P As Sb และ Bi เพราะมีจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน
เท่ากับธาตุไนโตรเจน
3. ธาตุกลุ่ม f ออร์บิทัล ประกอบด้วยธาตุในกลุ่มใดบ้าง
ตอบ ธาตุในกลุ่มแลนทาไนด์ และกลุ่มแอกทิไนด์
4. ตารางธาตุสามารถบอกข้อมูลใดบ้างเกี่ยวกับธาตุ
ตอบ เลขมวล เลขอะตอม สัญลักษณ์ของธาตุ สมบัติของธาตุ
เช่น ความเป็ นโลหะ ขนาดของธาตุ จุดเดือด จุดหลอมเหลว
5. แก๊สเฉื่อยในตารางธาตุคือธาตุในหมู่ใด เพราะเหตุใดจึงเรียกเช่น
นัน

ตอบ ธาตุหมู่ 8A เนื่องจากเป็ นกลุ่มแก๊สที่ไม่มีความว่องไวต่อ
การทำปฏิกิริยากับสารอื่น
6. ธาตุ A B C D E และ F มีเลขอะตอม 4 7 13 31 55 และ 88
ตามลำดับ ธาตุใดที่มีสมบัติเป็ นโลหะ และมีความเป็ นโลหะแตกต่าง
กันอย่างไร
ตอบ
เลข การจัดเรียงอิเล็กตรอนใน
ธาตุ คาบ หมู่
อะตอม ระดับพลังงานหลัก
A 4 2 2 2 2
B 7 2 5 2 5
C 13 2 8 3 3 3
D 31 2 8 18 3 4 3
E 55 2 8 18 18 8 21 6 1
F 88 2 8 18 32 18 8 2 7 2

บันทึกหลังสอน
ผลการสอน มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ห้อง 1

1. ก า ร ด ำ เ น น
ิ ก า ร ( ) เป็ นไปตามแผน ( ) ไม่เป็ นไป
จัดการเรียนรู้ ตามแผน
2. ความเหมาะสมของ ( ) ด ( ) ดี ( ) ( ) ต ้อ ง
ระยะเวลา มาก พอใช้ ปรับปรุง
3. ความเหมาะสมของ ( ) ด ( ) ดี ( ) ( ) ต ้อ ง
เนื้อหา มาก พอใช้ ปรับปรุง
4. ความเหมาะสมของ ( ) ด ( ) ดี ( ) ( ) ต ้อ ง
กิจกรรม มาก พอใช้ ปรับปรุง
5. ความเหมาะสมของ ( ) ด ( ) ดี ( ) ( ) ต ้อ ง
สื่อการสอน มาก พอใช้ ปรับปรุง
6. การมีส ่วนร่ว มของ ( ) ด ( ) ดี ( ) ( ) ต ้อ ง
นักเรียน มาก พอใช้ ปรับปรุง
ด้านความรู้
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………...
………………………………………………………………………………………………
………………………………
ด้านทักษะ
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………...
………………………………………………………………………………………………
………………………………
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………...
………………………………………………………………………………………………
………………………………
ปั ญหา/อุปสรรค/แนวทางการแก้ไข
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………...
………………………………………………………………………………………………
………………………………
ลงชื่อ........................................................
. ผู้บันทึก
(นางสาวฐิตาภา อินเทพ)

นักศึกษาฝึ กประสบการณ์

บันทึกหลังสอน
ผลการสอน มัธยมศึกษาปี ที่ 4 ห้อง 2

1. ก า ร ด ำ เ น น
ิ ก า ร ( ) เป็ นไปตามแผน ( ) ไม่เป็ นไป
จัดการเรียนรู้ ตามแผน
2. ความเหมาะสมของ ( ) ด ( ) ดี ( ) ( ) ต ้อ ง
ระยะเวลา มาก พอใช้ ปรับปรุง
3. ความเหมาะสมของ ( ) ด ( ) ดี ( ) ( ) ต ้อ ง
เนื้อหา มาก พอใช้ ปรับปรุง
4. ความเหมาะสมของ ( ) ด ( ) ดี ( ) ( ) ต ้อ ง
กิจกรรม มาก พอใช้ ปรับปรุง
5. ความเหมาะสมของ ( ) ด ( ) ดี ( ) ( ) ต ้อ ง
สื่อการสอน มาก พอใช้ ปรับปรุง
6. การมีส ่วนร่ว มของ ( ) ด ( ) ดี ( ) ( ) ต ้อ ง
นักเรียน มาก พอใช้ ปรับปรุง
ด้านความรู้
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………...
………………………………………………………………………………………………
………………………………
ด้านทักษะ
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………...
………………………………………………………………………………………………
………………………………
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………...
………………………………………………………………………………………………
………………………………
ปั ญหา/อุปสรรค/แนวทางการแก้ไข
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………...
………………………………………………………………………………………………
………………………………
ลงชื่อ........................................................
. ผู้บันทึก
(นางสาวฐิตาภา อินเทพ)

นักศึกษาฝึ กประสบการณ์

แบบประเมินชิน
้ งาน
(ด้านความรู้)

ระดับคุณภาพ
รายการ 3 2 1 น้ำ คะแ
ประเมิน หนัก นน
1.ความถูก ความถูก ความถูก ความถูก
ต้องของ ต้องของ ต้องของ ต้องของ
เนื้อหา และ เนื้อหา เนื้อหา เนื้อหา 2 6
ข้อมูลครบ และข้อมูล และข้อมูล และข้อมูล
ถ้วน ครบถ้วน ครบถ้วน ไม่ครบ
ชัดเจน ชัดเจน ถ้วน
เป็ นส่วน ชัดเจน
ใหญ่

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
คะแนน ระดับคุณภาพ
6 ดี
4 พอใช้
2 ปรับปรุง

เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ 2 ขึน


้ ไปผ่านเกณฑ์

ลงชื่อ ................
......................................... ผู้ประเมิน
(นางสาวฐิตา
ภา อินเทพ)
นักศึกษาฝึ ก
ประสบการณ์

แบบประเมินการจำแนกข้อมูล
(ด้านทักษะกระบวนการ)

ระดับคุณภาพ
รายการ 3 2 1 น้ำ คะแ
ประเมิน หนัก นน
1.จำแนก สามารถ สามารถ สามารถ
กลุ่มของธาตุ จำแนก จำแนก จำแนก
ในตารางธาตุ กลุ่มของ กลุ่มของ กลุ่มของ 1 3
ได้ ธาตุใน ธาตุใน ธาตุใน
ตารางธาตุ ตารางธาตุ ตารางธาตุ
ได้ถก
ู ต้อง ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง
ข้อมูลครบ ข้อมูลครบ บางส่วน
ถ้วน และ ถ้วน เป็ น
ชัดเจน ส่วนใหญ่

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
คะแนน ระดับคุณภาพ
3 ดี
2 พอใช้
1 ปรับปรุง

เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ 2 ขึน


้ ไปผ่านเกณฑ์

ลงชื่อ ................
......................................... ผู้ประเมิน
(นางสาวฐิตา
ภา อินเทพ)
นักศึกษาฝึ ก
ประสบการณ์
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(คุณลักษณะอันพึงประสงค์)

ระดับคุณภาพ
รายการ 3 2 1 น้ำ คะแ
ประเมิน หนัก นน
1.ม ุ่ง ม ั่น ใ น ตัง้ ใจ เสนอ เสนอไม่
การทำงาน ทำงานที่ ความจริง เป็ น ความ
ได้รับมอบ ถึงแม้ว่า จริงและ
หมาย ผลที่ ออก แอบอ้าง 1 3
พยายาม มาตรงกับ ข้อมูล คน
หา คำ คนอื่นแต่ อื่น
ตอบ แอบอ้าง
สืบค้น ข้อมูลคน
ข้อมูลจาก อื่น
แหล่ง
เรียนรู้เพื่อ
ให้ ได้มา
ของคำ
ตอบ

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
คะแนน ระดับคุณภาพ
3 ดี
2 พอใช้
1 ปรับปรุง

เกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ 2 ขึน


้ ไปผ่านเกณฑ์

ลงชื่อ ................
......................................... ผู้ประเมิน
(นางสาวฐิตา
ภา อินเทพ)
นักศึกษาฝึ ก
ประสบการณ์

สรุปผลการประเมิน

ด้านความรู้
ดี จำนวน..........คน คิดเป็ นร้อยละ ..............
พอใช้ จำนวน..........คน คิดเป็ นร้อยละ ..............
ปรับปรุง จำนวน..........คน คิดเป็ นร้อยละ ..............
ด้านทักษะกระบวนการ
ดี จำนวน..........คน คิดเป็ นร้อยละ ..............
พอใช้ จำนวน..........คน คิดเป็ นร้อยละ ..............
ปรับปรุง จำนวน..........คน คิดเป็ นร้อยละ ..............

ด้านคุณลักษณะฯ
ดี จำนวน..........คน คิดเป็ นร้อยละ ..............
พอใช้ จำนวน..........คน คิดเป็ นร้อยละ ..............
ปรับปรุง จำนวน..........คน คิดเป็ นร้อยละ ..............

ลงชื่อ ......................................................... ผู้สอน


(นางสาวฐิตาภา
อินเทพ)
นัก
ศึกษาฝึ กประสบการณ์

You might also like