Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 4

มะ : ก่อนที่ผมจะนิยามคำศัพท์เหล่านี ้ ผมก็อยากจะรับฟั งความคิดเห็น

ของผู้ร่วมฟั งสัมมนาในวันนีว้ ่าทุกคนนิยามคำว่าความยากจนไว้ว่าอย่างไร


บ้าง
---รอเพื่อนตอบ หากไม่มีแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าแทน---
มะ : ขอบคุณสำหรับความคิดเห็นนะครับ สำหรับตัวผมเองที่ได้ไปศึกษา
งานวิจัยในเรื่องนีผ
้ มก็มีคำนิยามคำศัพท์ทงั ้ 3 คำ ดังนี ้ คือ
1.ความยากจน (Poverty) หมายถึง ความขัดสนในโอกาสและทาง
เลือกของมนุษย์ ที่จะนำไปสู่การดำรงชีวิตที่ยืนยาว
สุขภาพแข็งแรง และทำให้ไม่สามารถไปสู่มาตรฐานการดำรงชีวิตที่ดีได้
์ รี การให้เกียรติ
นอกจากนี ้ รวมถึงความขัดสนทางเสรีภาพ ความมีศักดิศ
ตัวเองและผู้อ่ น

มะ : สำหรับด้านสาธารณูปโภคและด้านสาธารณสุข
จากแผนภูมิแสดงค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของปั ญหา
ความยากจน ด้านสาธารณูปโภคแล้ว ก็จะเห็นได้ว่าผู้ตอบแบบสอบถาม
ให้ความเห็นว่าความยากจนมีผลต่อการเข้าถึงสาธารณูปโภคอยู่ในระดับ
มาก ประมาณว่าคนยากจนจะมีอุปสรรคในการเข้าถึงมากต่างกับคนที่มี
อำนาจหรือมีเงินที่สามารถเข้าถึงได้ง่ายกว่า คิดเป็ นร้อยละมากถึง 87
ส่วนการกระจายสาธารณูปโภคขัน
้ พื้นฐานมีผลต่อระดับความยากจน เช่น
ถนน ไฟฟ้ า น้ำ ประปา อยู่ในระดับมาก เพราะพวกเขาคิดว่าการกระจาย
สาธารณูปโภค เช่น ถนน ถ้าเข้าถึงหมู่บ้านหรือที่ที่มีคนยากจนก็จะทำให้
พวกเขา มีโอกาสที่จะสร้างพื้นที่ในการสร้างรายได้ได้ โดยคิดเป็ นร้อยละ
82.2 ส่วนรัฐมีการแก้ปัญหาด้านสาธารณูปโภคอย่างตรงจุด อยู่ในระดับ
ปานกลาง คิดว่ารัฐสามารถแก้ปัญหาด้านสาธารณูปโภคได้อย่างตรงจุด
แค่ในบางเรื่อง และอีกบางเรื่องรัฐไม่สามารถแก้ปัญหาได้ โดยคิดเป็ นร้อย
ละ 53.6
และจากจากแผนภูมิแสดงค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของ
ปั ญหาความยากจน ด้านสาธารณสุขจะเห็นได้ว่าผู้ตอบแบบสอบถามให้
ความเห็นว่าความสามารถในการเข้าถึงการบริการด้านสาธารณสุขของผู้มี
รายได้น้อยอยู่ในระดับปานกลาง เพราะบางคนก็ไม่ได้รับการเข้าถึงระบบ
สาธารณสุข คิดเป็ นร้อยละ 59.8 ส่วนความเป็ นธรรมในการเข้าถึงการ
รักษาพยาบาลที่มีคุณภาพ อยู่ในระดับปานกลาง เพราะบางคนก็ไม่ได้รับ
การรักษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน โดยคิดเป็ นร้อยละ 57.8

มะ : และสำหรับส่วนที่ 3 เป็ นการถามความคิดเห็นจากผู้ทำ


แบบสอบถามออนไลน์และจากการสัมภาษณ์บุคคลที่ประกอบอาชีพ
ข้าราชการ และบุคคลที่ไม่ได้ทำงานประจำ ซึ่งมีคำถามด้วยกัน 3 ข้อ คือ
ข้อที่ 1 นิยาม "ความยากจน" สำหรับคุณคืออะไร
- คนส่วนใหญ่ร้อยละ 41.17 ให้นิยามความยากจนว่า ไม่มีเงิน มี
รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย รองลงมา เป็ นความเหลื่อมล้ำ การขาด
โอกาสในด้านต่าง ๆ ร้อยละ 15.68 ขาดแคลนปั จจัย 4 ร้อยละ 10.78
อดอยาก ไม่มีจะกิน ร้อยละ 8.82 ยากลำบาก ร้อยละ 4.90 ไม่มีอาชีพ
ร้อยละ 2.94 ตามลำดับ และอื่น ๆ ร้อยละ 15.68

มะ : ผมขอเสริมในส่วนข้อเสนอแนะเพิ่มเติมนะครับ ในฐานะที่พวกเรา
เองก็เป็ นนิสิตครูสังคมศึกษา ซึ่งในวันข้างหน้าก็จะได้เป็ นข้าราชการครู
เราสามารถนำการศึกษาวิจัยของเราไปบูรณาการกับวิชาสังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม ในสาระเศรษฐศาสตร์
วิจัย เรื่อง การศึกษาทัศนคติที่มีต่อปั ญหาความยากจนในสังคม
ไทย สามารถนำมาบูรณาการ กับกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม ในสาระเศรษฐศาสตร์
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากร
ในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ พอ
เพียงเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ ความจำเป็ นของการร่วมมือกัน
ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตัวชีว
้ ัด
ตัวชีว้ ัด ส 3.1 ม.3/2 มีส่วนร่วมในการแก้ไขปั ญหาและพัฒนา
ท้องถิ่นตามปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชีว้ ัด ส 3.2 ม.3/5 วิเคราะห์ผลเสียจากการว่างงาน และ
แนวทางการแก้ปัญหา
ตัวอย่างแนวทางในการจัดการเรียนรู้
ตัวชีว้ ัด ส 3.1 ม.3/2
1. คุณครูให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับปั ญหาความยากจนใน
ชุมชนของตนเอง แล้วสรุป ออกมาในรูปแบบของแผนที่ความคิด
2. หลังจากนัน
้ คุณครูให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอ
เพียง
3. คุณครูให้เรียนนำหลักการเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้
ในการแก้ปัญหาความยากจน ในชุมชนของนักเรียน
4. คุณครูให้นักเรียนนำเสนอการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมา
ใช้แก้ปัญหาความยากจน ในชุมชนของนักเรียน
ตัวชีว้ ัด ส 3.2 ม.3/5
1. คุณครูสอน เรื่อง ปั ญหาการว่างงาน โดยอธิบายถึงสภาพ
ปั ญหา สาเหตุ และผลกระทบ จากปั ญหาการว่างงาน
2. คุณครูยกตัวอย่าง เรื่อง ปั ญหาความยากจน ซึ่งเป็ นหนึ่งใน
ผลกระทบจากปั ญหา การว่างงาน
3. คุณครูให้นักเรียนรวมกลุ่มกัน ระดมความคิด เพื่อเสนอ
แนวทางการแก้ไขปั ญหา การว่างงาน
4. คุณครูให้นักเรียนนำเสนอ แนวทางการแก้ไขปั ญหาการว่าง
งาน

You might also like