Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

คูมือการปฏิบัติงานกอสรางทางหลวง 

กอนการกอสราง
หัวขอ ขอปฏิบัติ
1. การตรวจสอบวัสดุ - ตรวจสอบคุณสมบัติและขนาดมิติตางๆ ของแผนยางใหเปนไปตามที่กําหนดไวในแบบ หรือ
ตามที่ผูรับจางไดออกแบบตามมาตรฐาน BS, ASTM หรือมาตรฐาน AASHTO ภายใต
เงื่อนไขที่กําหนด และตองไดรับความเห็นชอบจากสํานักสํารวจและออกแบบ

- ทดลองตัวอยางจากแหลงผลิต (General Test) โดยใหผูรับจางสงแผนตัวอยางจํานวน 1


ตัวอยาง ของแผนยางแตละชนิด เพื่อทดสอบคุณสมบัติกอนการผลิตใชงานจริง

- ทดลองตัวอยางจากแผนยางที่ผลิตแกว (Control Test) โดยใหผูรับจางสงแผนตัวอยางจํานวน


รอยละ 1 หรือ อยางนอย 3 แผน จากจํานวนที่ผลิต

- ทดสอบเพื่อการใชงาน (Quick Production Test) โดยผูควบคุมงานตองควบคุมการทดสอบ


แผนยางที่จะนํามาใชงานทุกแผน โดยตองใหผลใชไดตามขอกําหนด
2. การทดสอบเพื่อการ 2.1 การทดสอบแผน Elastomeric Bearing Pad ชนิดเสริมเหล็ก
ใชงาน (Quick - การทดสอบแผน Elastomeric Bearing Pad ชนิดเสริมเหล็ก มีจุดประสงคดังนี้ คือ
Production Test) • Check for Misplaced Reinforcing Plate
• Bond Failure at Steel/Elastomer Interface
• Surface Defects
• คา Stiffness ของแผน Elastomeric Bearing

- เครื่องมือที่ทําการทดลองประกอบดวยเครื่อง Compression ที่มีประสิทธิภาพที่สามารถกด


ดวยแรงมากกวา Max Design Load ประมาณ 1.5-2 เทา และ Dial Gauge ที่สามารถอานคา
Deflection ไดละเอียดถึง 1/100 มิลลิเมตร

- กอนทําการทดลองกดแผน Elastomeric Bearing ใหคอยๆเพิ่ม Load ถึง Max Design Load


ตามที่ Design ไวแลวคอยๆ ปลอย Load ลงทีละนอย วิธีการนี้เพื่อใหแผน Bearing ปรับตัว
กอนแลวจึงจะเริ่มการทดลอง โดยเพิ่ม Load ขึ้นทีละนอยและจดบันทึกคา Load และ
Deflection เมื่อ Load ถึง 1/3 ของ Max Design Load ใหจดคา Deflection (∆1) ของ Bearing
ไวแลวคอยๆเพิ่ม Load จนถึง Max Design Load ใหจดคา Deflection (∆2) อีกครั้งหนึ่ง นํา
คาที่ไดมาหาคา Compressive Stiffness (KC)

Stiffness (KC) = Max Design Load – 1/3 Max Design Load


งานกอสรางโครงสรางสวนบน Page 1
คูมือการปฏิบัติงานกอสรางทางหลวง 

กอนการกอสราง
หัวขอ ขอปฏิบัติ
Total Deflection (∆1 - ∆2)

- คา KC (Compressive Stiffness หรือ Vertical Stiffness) จากการทดลองตองอยูใน Range ±


20% ของคา KC เฉลี่ยใน Batch ที่ผลิตและไมเกิน ± 20% ของคา KC ที่ออกแบบดวยจึงจะ
ถือวาผานการทดลองเฉพาะในคา Compressive Stiffness และในระหวางเพิ่ม Load ถึง Full
Load ใหคาง Load ไวเพื่อทําการตรวจสอบดวยสายตาวามีสิ่งผิดปกติอื่นๆหรือไม ดังนี้
• ตรวจสอบวาการเรียงแผนเหล็กภายในแผน Bearing วางเรียงตรงตามตําแหนงที่
ออกแบบไวหรือไม และสามารถตรวจนับจํานวนแผนเหล็กเสริมภายในแผน Bearing
ได
• ถาแผนเหล็กวางไมตรงตําแหนง เมื่อเวลากด Load จะสังเกตเห็นลักษณะของการพอง
(Bulging) จะโยไปมาไมอยูนิ่งในแนวดิ่ง ถาอยูในแนวดิ่ง เมื่อเวลาใส Load จะสังเกต
ไดงายวา Bulging จะปูดออกมาเทาๆกันถือวาผานการทดสอบไปอีก 1 ขั้น
• กรณีไมเกิด Bond Failure at the Steel/Elastomer ลักษณะของการพอง (Bulging) ทุก
อันจะโปงออกมาเทาๆ กัน หากมี Bond Failure ที่ใด Bulging ที่อยูติดกับแผนเหล็กนั้น
จะโปงออกมามากกวาที่อื่น
• ตรวจสอบรอยแตก (Crack) บนแผนยางทดสอบ และภายหลังการทดสอบ
• กรณีเกิด Surface Defects เนื่องจากการผลิตหรือภายหลังการทดสอบ โดยสังเกตจาก
ผิวหนาของแผนยางยุบลงหรือโปงออก

2.2 การทดสอบแผน Plain Bearing ชนิดไมเสริมแผนเหล็ก


- ตามมาตรฐาน BS 5400 : Section 9.2 ใหทํา Load Test เพื่อตรวจสอบการแสดงผลของ
Bearing ทั้งความสามารถในการใชงาน (Serviceability) และ Ultimate Limit State กอนการ
ทดสอบควรทําการกดแผน Bearing ถึง Load ที่ใชงานแลวปลอย Load จากนั้นทําการทดลอง
แผน Bearing โดยการเพิ่ม Load อยางชาๆ และจดคา Load และคา Deflection ทุกๆคาตาม
Rate ที่เพิ่มขึ้นจนถึง Maximum Load และคางไวจนกระทั่ง Creep ที่เกิดขึ้นยุติลง (ขณะที่เข็ม
ของ Dial Gauge อานคาของ Deflection หยุดนิ่ง) จากนั้นคลาย Load ลงตาม Rate เหมือนการ
เพิ่ม Load ตรวจสอบและบันทึกคา Deflection ของทุกๆ Load เดียวกันขณะที่เพิ่มขึ้นละลดลง
หากคา Deflection ไมเกิน 20% แสดงวาแผน Bearing นั้น ผานการทดสอบ

งานกอสรางโครงสรางสวนบน Page 2

You might also like