Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 32

Unit XIV

Respiratory System
Breathing and Cellular respiration
การหายใจ (Breathing) คือ เป็นกลไกการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยการนาแก๊สออกซิเจน
จากอากาศเข้าไปใช้ในการหายใจระดับเซลล์ (Cellular respiration) และปล่อยแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดการจากการหายใจระดับเซลล์ออกสู่สิ่งแวดล้อม
Cellular respiration : C6H12O6 + 6O2 → Energy + 6CO2 + 6H2O

C
O O O O H O H

Sugar Oxygen ATP Carbondioxide Water

O2
แลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างหลอด
CO2 เลือดฝอยและเซลล์ร่างกาย

แลกเปลี่ยนแก๊ส
ระหว่างถุงลมและ ลาเลียงผ่านระบบ

→ หมุนเวียนเลือด
หลอดเลือดฝอย
Air composition

สัดส่วนโดย ความดันย่อย
• อากาศที่เราหายใจเข้าไปประกอบไปด้วย
แก๊ส
ปริมาตร (%) (mmHg) • แก๊สต่างๆ หลายชนิด เช่น ไนโตรเจน ,
ออกซิเจน , คาร์บอนไดออกไซด์ , แก๊ส
Nitrogen 78 592.8 เฉื่อย เช่น อาร์กอน , และ ไอนา
• มีฝุ่นละออง หรือสสารที่เป็นอนุภาค
Oxygen 20 152.0 ขนาดเล็ก
• สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ลอยฟุ้งในอากาศ เช่น
Carbondioxide 0.03 0.2 ไวรัส , แบคทีเรีย และ สปอร์ของเชือรา
Argon and
orther
0.97 7.4

Water vapor 1 7.6


• ความดันย่อย (Partial pressure) คือ เป็นความดันของแก๊สชนิดหนึ่งภายในปริมาตรที่กาหนด
คานวณได้จาก ผลคูณของความดันรวมของอากาศ (1 atm) และสัดส่วนของแก๊สนัน เช่น ความดัน
ย่อยของ O2 คือ P = 760 X 20 = 152 mmHg
O2 100
Air composition
• อากาศที่เราหายใจเข้าไปประกอบไปด้วย
แก๊ส
สัดส่วนโดย ความดันย่อย
ปริมาตร (%) (mmHg)
• แก๊สต่างๆ หลายชนิด เช่น ไนโตรเจน ,
ออกซิเจน , คาร์บอนไดออกไซด์ , แก๊ส
Nitrogen 78 592.8 เฉื่อย เช่น อาร์กอน , และ ไอนา
• มีฝุ่นละออง หรือสสารที่เป็นอนุภาค
Oxygen 20 152.0 ขนาดเล็ก
• สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ลอยฟุ้งในอากาศ เช่น
Carbondioxide 0.03 0.2 ไวรัส , แบคทีเรีย และ สปอร์ของเชือรา
Argon and
orther
0.97 7.4

Water vapor 1 7.6


• ความดันย่อย (Partial pressure) คือ เป็นความดันของแก๊สชนิดหนึ่งภายในปริมาตรที่กาหนด
คานวณได้จาก ผลคูณของความดันรวมของอากาศ (1 atm) และสัดส่วนของแก๊สนัน เช่น ความดัน
ย่อยของ O2 คือ 20
PO2 = 760 X 100 = 152 mmHg
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม (Mammals)
• ใช้ปอด (Lung) เป็นอวัยวะในการแลกเปลี่ยนแก๊ส และมีระบบหมุนเวียนเลือดช่วยในการ
ลาเลียง
• อากาศจากภายนอกเข้าร่างกายทางรูจมูก (Nostril) แล้วไปอวัยวะต่างๆ ตามลาดับดังนี
• โพรงจมูก (Nasal cavity) มีเยื่อบุผิวที่มีซีเลีย (Cilia) และ เมือก สาหรับดักจับสิ่ง
แปลกปลอมไม่ให้เข้าสู่ปอด
• คอหอย (Pharynx)
• กล่องเสียง (Larynx) ภายในมีสายเสียง (Vocal cord) สาหรับการออกเสียง
• ท่อลม (Trachea) มีเยื่อบุผิวที่มี Cilia และเมือก สาหรับดักจับสิ่งแปลกปลอมไม่ให้เข้าสู่ถุง
ลม ท่อลมจะแตกแขนงออกเป็นหลอดลมเข้าปอดทังสองข้าง
• หลอดลม (Bronchi) ต่อจากขัวปอดมี 2 ข้าง และจะแตกแขนงออกเป็นหลอดลมฝอย
• หลอดลมฝอย (Bronchiole) มีลักษณะเป็นท่อขนาดเล็กๆ ผนังบาง ปลายสุดเป็นถุงขนาด
เล็กจานวนมาก เรียก ถุงลม
• ถุงลมในปอด (Alveolus) เป็นถุงขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.25 mm ในปอด
มีระมาณ 300 ล้านถุง มีผนังบาง มีความชืนสูง และมีร่างแหของหลอดเลือกฝอยห่อหุ้ม
โดยรอบ เป็นบริเวณหลักที่เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม (Mammals)

โพรงจมูก

คอหอย
กล่องเสียง
ปอดซ้าย
ท่อลม

หลอดลม
หลอดลม
ฝอย

กล้ามเนื้อ
กระบังลม
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม (Mammals)

ถุงลม
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

การแลกเปลี่ยนแก๊สบริเวณถุงลมและหลอดเลือดฝอย

หลอดเลือดฝอย
เยื่อถุงลม
เยื่อที่เกิดการ
แลกเปลี่ยนแก๊ส

ออกซิเจนแพร่จากถุงลมเข้า คาร์บอนไดออกไซด์แพร่ออก
สู่หลอดเลือดฝอย จากหลอดเลือดฝอยเข้าถุงลม
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

• สารจะแพร่เข้าสู่เซลล์ได้ดีเมื่ออัตราส่วนระหว่างพืนที่ผิวต่อปริมาตรมีค่าสูงกว่า เช่น ถุงลม
A มีรัศมี 0.1 mm และถุงลม B มีรัศมี 0.3 mm จงเปรียบเทียบอัตราส่วนต่อปริมาตรของ
ถุงลม A และ ถุงลม B
2 2
ถุงลม A : พืนที่ผิว = 4𝜋𝑟 2 = 4 x 3.14 x 0.1 = 0.1256 mm
ปริมาตร = 4𝜋𝑟 3= 4 x 3.14 x 0.13 = 0.0042 mm3
3 3
ดังนัน อัตราส่วนของพืนที่ผิวต่อปริมาตรของถุงลม A = 0.1256/0.0042 = 30 : 1
2 2
ถุงลม B : พืนที่ผิว = 4𝜋𝑟 2= 4 x 3.14 x 0.3 = 1.1304 mm
ปริมาตร = 4𝜋𝑟 3 = 4 x 3.14 x 0.33 = 0.1130 mm3
3 3
ดังนัน อัตราส่วนของพืนที่ผิวต่อปริมาตรของถุงลม B = 1.1304/0.1130 = 10 : 1

จะเห็นได้ว่า ถุงลม B ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า จะมีอัตราส่วนของพืนที่ผิวต่อปริมาตร


น้อยกว่าถุงลม A ซึ่งมีขนาดเล็กกว่า
สรุป ยิ่งถุงมีขนาดเล็ก อัตราส่วนระหว่างพืนที่ผิวต่อปริมาตรก็ยิ่งมีค่ามาก
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

A B

สรุป ยิ่งถุงมีขนาดเล็ก อัตราส่วนระหว่างพืนที่ผิวต่อปริมาตรก็ยิ่งมีค่ามาก


จึงมีประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนสารได้ดกี ว่าถุงขนาดใหญ่
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

โรคถุงลมโป่งพอง (Emphysema)
• เกิดจากการสูดอากาศที่เป็นพิษ เช่น บุหรี่ ควันจากท่อไอเสีย ฝุ่นละออง
• ผนังของถุงลมขาดทะลุถึงกันกลายเป็นถุงเดียวที่มีขนาดโตขึน ทาให้พืนที่ผิวลดลง ผู้ป่วย
จึงหายใจหอบ เหนื่อย เนื่องจากได้รับแก๊สออกซิเจนไม่เพียงพอ
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

ความดันย่อยของ O2 และ CO2 ในบรรยากาศและในส่วนต่างๆ ของร่างกาย
อากาศออก อากาศเข้า
120 160

27
0.3
PO2 PCO2 PO2 PCO2

หลอดเลือดเวน ถุงลม
104

40 45
40
PO2 PCO2 PO2 PCO2
เนื้อเยื่อ หลอดเลือดอาร์เทอรี
104

<40 >45
40
PO2 PCO2 PO2 PCO2
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

การแลกเปลี่ยนแก๊ส

O2 ถุงลม
CO2
ถุงลม
พลาสมา
CO2 พลาสมา
O2
H2O CO2 Hb
H2CO3 HbO2
H+
HCO3-

- HbO2
HCO3 HCO3- Hb O2
H+
H2CO3
H2O
O2 พลาสมา
CO2 พลาสมา
O2 เนื้อเยือ

CO2 เนื้อเยือ

การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

การลาเลียงแก๊สออกซิเจน Heme Hemoglobin Erythrocyte
• O2 เมื่อเข้าสู่หลอดเลือดฝอยแล้ว จะไปจับกับ
ฮีโมโกลบิน (Hemoglobin; Hb) บริเวณหมู่ฮีม
(Heme group) ในเซลล์เม็ดเลือดแดง เกิดเป็น
Heme Group
ออกซีฮีโมโกลบิน (Oxyhemoglobin; HbO2) ทา
ให้เลือดมีสีแดงสด
O2 + Hb HbO2
Hemoglobin Oxyhemoglobin

• Hemoglobin สามารถจับกับ Carbonmonoxide


ได้ดีกว่า oxygen ถึง 210 เท่า ซึ่งร่างกายได้รับ CO CO
CO มากเกินไป จะทาให้ขาดออกซิเจน จึงมีอาการ CO CO
ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย หรือถึงขันเสียชีวิต CO CO
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

การลาเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
• CO2 ที่เกิดจากการหายใจระดับเซลล์จะแพร่ออกจากเซลล์บริเวณเนือเยื่อเข้าสู่หลอด
เลือดฝอยเพื่อลาเลียงไปถุงลมในปอด
• โดยจะทาปฏิกิริยากับนาที่อยู่ภายใน RBC เกิดเป็นกรดคาร์บอนิก (H2CO3) โดยมี
เอนไซม์คาร์บอนิกแอนไฮเดรส (Carbonic anhydrase) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา และ
-
H2CO3 จะแตกตัวได้เป็นไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน (HCO3 ) และไฮโดรเจนไอออน
-
(H+) จากนัน HCO3 จะแพร่ออกจาก RBD โดยวิธี facilitated diffusion เข้าสู่พลาสมา
เพื่อลาเลียงไปหัวใจและปอดตามลาดับ
CO2 + H2O Carbonic anhydrase H2CO3 HCO3- + H+

• ที่หลอดเลือดฝอยรอบถุงลม HCO3- จะรวมตัวกับ H+ เกิดเป็น H2CO3 จากนันเอนไซม์


คาร์บอนิกแอนไฮเดรส (Carbonic anhydrase) จะเร่งให้ H2CO3 แตกตัวเป็น CO2 และ
H2O ซึง่ CO2 จะแพร่ออกจากหลอดเลือดฝอยเข้าสู่ถุงลมเพื่อกาจัดออกจากร่างกาย
ต่อไป HCO - + H+ Carbonic anhydrase H CO CO + H O
3 2 3 2 2
การแลกเปลีย
่ นแก๊สของสิ่ งมีชว
ี ต

การลาเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

หลอดเลือดฝอยบริเวณเนื้อเยื่อ
CO2 HCO3-

CO2 + H2O Carbonic anhydrase H2CO3 H+ + HCO3-

CO2 HCO3-
หลอดเลือดฝอยบริเวณถุงลม
Test your knowledge
การลาเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

A
B
C
D E

จากรูปหลอดเลือดฝอยที่ล้อมรอบถุงลมในปอดซึ่งมีทิศทางการไหลเวียนเลือดตามลูกศร
ตอบคาถามต่อไปนีโดยใช้ตัวอักษร A-E (สามารถตอบซากันได้)
1. ลาดับทิศทางการแพร่ของ O2 เป็นอย่างไร
ตอบ
2. บริเวณใดที่ CO มีผลต่อการแลกเปลี่ยนแก๊ส O2
ตอบ
3. ตาแหน่งใดที่มีออกซีฮีโมโกลบิน
ตอบ
4. ที่ตาแหน่ง A และ D บริเวณใดมีความเข้มข้นของ CO2 สูงกว่า
ตอบ
การหายใจ (Breathing)
กลไกการหายใจ
• เป็นกระบวนการนาอากาศจากภายนอกเข้าสู่ร่างกายเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส
• การหายใจเข้า (Inhalation) และการหายใจออก (Exhalation) เกิดจากการการ
เปลี่ยนแปลงความดันภายในช่องอก ซึ่งเป็นผลมาจากการทางานของกล้ามเนือยึดซึ่โครง
และกล้ามเน้ือกระบังลม
• Boyle’s Law “เมื่ออุณหภูมิคงที่ ความดัน (P) จะแปรผกผันกับปริมาตร (V)
Boyle’s Law at constant temperature
นั่นหมายความว่า ถ้าปริมาตรเพิ่มความดันจะลด
ถ้าปริมาตรลดความดันจะเพิ่ม
อากาศจะเคลื่อนที่จากที่ที่มีความดันสูงไปที่ที่มีความดันต่่า
• การหายใจเข้า ต้องขยายปริมาตรช่องอกเพื่อลดความดันในช่องอกจน
ต่ากว่าความดันอากาศ อากาศจากภายนอกจึงไหลเข้าสู่ช่องอกภายใน
ร่างกาย
• การหายใจออก ต้องลดปริมาตรช่องอกเพื่อเพิ่มความดันในช่องอกจน
สูงกว่าความดันอากาศ อากาศภายในช่องอกจึงไหลออกสู่สิ่งแวดล้อม
การหายใจ (Breathing)
กลไกการหายใจ
กล้ามเนือระหว่างกระดูก หายใจ กล้ามเนือระหว่างกระดูก หายใจ
ซี่โครงแถบนอกหดตัว เข้า ซี่โครงแถบนอกคลายตัว ออก
กระดูกซี่โครงยกสูงขึน กระดูกซี่โครงลดต่าลง

กล้ามเนื้อกระบังลมหดตัว กล้ามเนื้อกระบังลมคลายตัว
กระบังลมเลื่อนต่าลง กระบังลมโค้งขึ้น

• ปริมาตรช่องอกเพิ่ม • ปริมาตรช่องอกลด
• ความดันในช่องอกลด • ความดันในช่องอกเพิ่มสูง
ต่าลงกว่าอากาศภายนอก กว่าอากาศภายนอก
• อากาศไหลเข้าปอด • อากาศไหลออกจากปอด
การหายใจ (Breathing)
การวัดปริมาตรของอากาศในปอดขณะหายใจเข้า-ออก
• การวัดปริมาตรของอากาศในปอดมนุษย์ขณะหายใจเข้าและหายใจออก สามารถวัดได้
ด้วยเครื่องสไปโรมิเตอร์ (Spirometer)

Spirometer
การหายใจ (Breathing)
ปริมาตรของอากาศในปอดขณะหายใจเข้า-ออก
6,000-
5,800- หายใจเข้าเต็มที่

5,000-
ปริมาตรของอากาศในปอด (mL)

4,000-

หายใจเข้าปกติ
3,000-
2,900-
2,400-
2,000- หายใจออกปกติ
หายใจออกเต็มที่
1,200-
1,000-
อากาศที่ตกค้างในปอดเมื่อหายใจออกเต็มที่

0- เวลา
การหายใจ (Breathing)
ปริมาตรของอากาศในปอดขณะหายใจเข้า-ออก
ตอบคำถำมโดยใช้ข้อมูลจำกกรำฟในสไลด์ก่อนหน้ำนี้
ในการหายใจปกติแต่ละครัง ปริมาตรของอากาศในการหายใจเข้าเป็นเท่าไร และปริมาตรของการ
หายใจออกเป็นเท่าไร
Volume of inhale =
Volume of Exhale =
ปริมาตรของอากาศจากการหายใจเข้าเต็มที่และการหายใจออกเต็มที่ต่างกันหรือไม่ อย่างไร
Volume of INHALE =
Volume of EXHALE =
เมื่อหายใจออกปกติจะมีปริมาตรของอากาศที่ตกค้างในปอดเป็นเท่าไร

มนุษย์สามารถหายใจเอาอากาศออกจากปอดจนหมดได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
การควบคุมการหายใจ
การควบคุมการหายใจ
• การหายใจถูกควบคุมโดยระบบประสาททังการควบคุมภายใต้อานาจจิตใจและนอก
อานาจจิตใจ
• ระบบประสาทอัตโนวัติ ควบคุมการหายใจนอกอานาจจิตใจ โดยมีศูนย์ควบคุมที่สมอง
ส่วนพอนส์ (Pons) และเมดัลลาออบลองกาตา (Medulla oblongata) สมองสอง
ส่วนนีจะส่งสัญญาณไปกระตุ้นกล้ามเนือที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ ทาให้เกิดการหายใจ
เข้าและหายใจออกเป็นจังหวะสม่าเสมอตลอดเวลา
• การควบคุมการหายใจที่อยูใ่ ต้อานาจจิตใจ
โดยสมองส่วนหน้า (Forebrain) บริเวณ
เซรีบรัลคอร์เท็กซ์ (Cerebral cortex)
และไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) ทา
ให้ควบคุมหรือปรับการหายใจให้เหมาะสม
กับกิจกรรมต่างๆ เช่น การพูด ร้องเพลง
การว่ายนา การหายใจยาวและลึก รวมไป
ถึงการกลันหายใจ
การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในเลือด

• ความเป็นกรด - เบส เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการหายใจของมนุษย์


• เมื่อร่างกายทากิจกรรมต่างๆ จะมี CO2 เกิดขึน และมี H+ ในเลือดตลอดเวลา ส่งผลให้
เลือดมีความเป็นกรดมากขึน ร่างหายจึงต้องหายใจเพื่อขับ CO2 ออก เป็นการรักษาดุลย
ภาพของร่างกาย
ความเข้มข้นของ CO2
ในเลือดสูง
ค่า pH ในเลือดลดลง

ความเข้มข้นของ CO2
ในเลือดอยู่ในระดับปกติ

ความเข้มข้นของ CO2
ในเลือดต่า
ค่า pH ในเลือดเพิ่มขึ้น
การรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในเลือด

• ความเป็นกรด - เบส เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการหายใจของมนุษย์


• เมื่อร่างกายทากิจกรรมต่างๆ จะมี CO2 เกิดขึน และมี H+ ในเลือดตลอดเวลา ส่งผลให้
เลือดมีความเป็นกรดมากขึน ร่างหายจึงต้องหายใจเพื่อขับ CO2 ออก เป็นการรักษาดุลย
ภาพของร่างกาย อัตราการหายใจ
เพิ่มขึ้น
ความเข้มข้นของ CO2 สมองสั่งการให้เพิ่ม
ในเลือดสูง อัตราการหายใจ
ค่า pH ในเลือดลดลง Pons ,
Medulla oblongata
ความเข้มข้นของ CO2 ลดลง
Homeostasis ความเข้มข้นของ CO2
ภาวะธารงดุล ในเลือดอยู่ในระดับปกติ
ความเข้มข้นของ CO2 เพิ่มขึน

ความเข้มข้นของ CO2
ในเลือดต่า
Pons , สมองสั่งการให้ลด
ค่า pH ในเลือดเพิ่มขึ้น Medulla oblongata อัตราการหายใจ อัตราการหายใจ
ลดลง
ความผิดปกติทเี่ กีย
่ วของกั
้ บระบบหายใจ
โรคถุงลมโป่งพอง (Emphysema)
• เป็นโรคที่ผนังของถุงลมถูกทาลายจนทะลุถึงกันเกิดเป็นถุงขนาดใหญ่
• ส่งผลให้มีพืนที่ผิวในการแลกเปลี่ยนแก๊สลดลง ผู้ป่วยจึงมีอาการเหนื่อยหอบ หายใจถี่
หัวใจทางานหนัก อาจมีอาการหัวใจวาย
• สาเหตุ: สูดอากาศที่เป็นพิษ เช่น ควันบุหรี่ ควันจากโรงงาน ควันจากท่อไอเสีย และฝุ่น
ละอองต่างๆ ที่เม็กเลือดขาวไม่สามารถทาลายได้
ความผิดปกติทเี่ กีย
่ วของกั
้ บระบบหายใจ
โรคปอดบวม (Pneumonia)
• เป็นโรคที่เนือเยื่อปอดเกิดการอักเสบและบวม ส่งผลให้หลอดลมและถุงลมมีของเหลว
หรือเมือกเพิ่มขึน จึงมีพืนที่ผิวในการแลกเปลี่ยนแก๊สลดลง
• สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการติดเชือแบคทีเรียหรือไวรัส
• อาการ ผู้ป่วยจะมีอาการไอ เหนื่อยง่าย หายใจเร็ว
ความผิดปกติทเี่ กีย
่ วของกั
้ บระบบหายใจ
โรควัณโรค (Tuberculosis; TB)
• เกิดจากการติดเชือ (Mycobacterium tuberculosis) ทาให้เกิดการอักเสบบริเวณปอด
ผู้ป่วยจะมีอาการไอเรือรัง
• สามารถติดต่อไปสู่ผู้อื่นได้ผ่านละอองเสมหะจากการไอหรือจาม
ความผิดปกติทเี่ กีย
่ วของกั
้ บระบบหายใจ
โรคมะเร็งปอด (Lung cancer)
• เกิดจากการแบ่งเซลล์ที่ผิดปกติเกิดเป็นมะเร็ง ส่งผลต่อการทางานของปอด
• ผู้ป่วยจะมีอาการไอเรือรัง แน่นหน้าอก เหนื่อยง่าย
• ผู้ป่วยมะเร็งปอด 85% เป็นผู้เคยมีประวัติสูบบุหรี่ หรือสูดดมควันพิษเป็นระยะเวลานาน
ความผิดปกติทเี่ กีย
่ วของกั
้ บระบบหายใจ
โรคหอบหืด (Asthma)
• เกิดจากการอักเสบ
เรือรังของหลอดลม
เนื่องจากผู้ป่วยมีความไว
ต่อสิ่งกระตุ้น เช่น
pollen , ฝุ่น และ
สารเคมี ทาให้ทางเดิน
หายใจมีการระคายเคือง
กล้ามเนือบริเวณ
หลอดลมหดตัวทาให้
หลอดลมตีบ ผู้ป่วยจึง
หายใจไม่สะดวก มี
อาการหอบ
ความผิดปกติทเี่ กีย
่ วของกั
้ บระบบหายใจ
โรคหลอดลมอักเสบ (Bronchitis)
• เกิดจากการอักเสบของเยื่อบุหลอดลม มีเสมหะ ทาให้ผู้ป่วยมีอาการไอ หายใจไม่สะดวก
References

th
1. Reece, J. B., & Campbell, N. A. (2011). Campbell biology 9 ed.. Boston: Benjamin
Cummings. Pearson.
2. ศุ ณัฐ ไ โ หกุล. Biology. ิ ค ์ ง้ั ที่ 1. ก ุงเท หานค : บ ษ
ิ ท
ั แอคที น
้ิ ท ์ จากัด, 2559.
3. ส่งเส ิ กา สอนวิท าศาสต และเทคโนโล
์ ,ี สถาบัน. ก ะท วงศึ กษาธิกา . หนังสือเรียนรายวิชา
เพิม่ เติม ชีววิทยา เล่ม ๔.ค ิ
์ ง้ั ที่ 1 (ฉบับป บ
ั ป ุง ๒๕๖๐). ก งุ เท หานค : สานัก ิ ์
จุฬาลงก ณ์ หาวิท าลั ., ๒๕๖๒.

You might also like