ข้อสอบวิชาสามัญฟิสิกส์ 62

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 21

รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 1

วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์
สอบวันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562
เวลา 11.00 – 12.30 น.

ชื่อ..................................................นามสกุล...................................................เลขที่นงั่ สอบ...................................
สถานที่สอบ.....................................................................................................ห้องสอบที่......................................

เพื่อเป็ นประโยชน์ ทางการศึกษาและใช้ เป็ นวิทยาทานเท่านั้น


รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 2
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

กาหนดให้ใช้ค่าต่อไปนี้ สาหรับกรณี ที่ตอ้ งแทนค่าตัวเลข


g = 9.8 m/s2
π = 3.14159
180° = π เรเดียน
ความหมายของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในโจทย์
สัญลักษณ์ log แทนลอการิ ทึมฐานสิ บหรื อตามที่กาหนดในโจทย์
log 2 = 0.30, log 3 = 0.48
𝑘𝑞1 𝑞2
ใช้กฎของคูลอมบ์ในรู ป 𝐹 = 𝑟2

𝐺 คือ ค่าคงที่โน้มถ่วงสากล
ℎ คือ ค่าคงที่ของพลังก์
รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 3
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

1. กระสุ นมวล 𝑚 เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 𝑢 เข้าชนก้อนไม้มวล 𝑀 ซึ่ งอยูน่ ิ่ งก่อนชนบน


พื้นระดับ กระสุนทะลุออกด้วยความเร็ว 12 u ก้อนไม้มีความเร็วเป็ นเท่าไรหลังชน

1. 1𝑚
2𝑀
𝑢 2. (√
1𝑚
2𝑀
)𝑢 3. 1
2
𝑢

4. 1𝑚
4𝑀
𝑢 5. 3𝑚
4𝑀
𝑢

2. ยิงโพรเจกไทล์ในระนาบดิ่งเดี ยวกันพร้อมกัน ลูกหนึ่ งออกจาก A อีกลูกออกจาก B


ด้วยความเร็วต้นที่มีขนาดเท่ากันและมุมตั้งต้นเท่ากันและเท่ากับ θ ระยะห่าง AB ต้อง
มีค่าไม่เกินเท่าไร โพรเจกไทล์จึงจะชนกันก่อนถึงพื้น

𝑢2 𝑢2 𝑢2
1. 2𝑔
sin𝜃 2. 𝑔
sin𝜃 3. 2𝑔
sin2𝜃

𝑢2 2𝑢2
4. 𝑔
sin2𝜃 5. 𝑔
sin2𝜃
รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 4
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

3. มวล 𝑚 กาลังเคลื่อนที่ตามแนววงกลมในระนาบระดับบนผิวด้านในที่เกลี้ยงของถ้วย
ครึ่ งทรงกลมรัศมี 𝑅 ด้วยอัตราเร็วเชิงมุม 𝜔 ที่โตเหมาะสม มุม 𝜃 ต้องเป็ นตามข้อใด

𝜔2 𝑅 𝜔2 𝑅
1. cos 𝜃 =
𝑔
2. cos 𝜃 =
𝑔
𝜔2 𝑅
3. tan 𝜃 =
𝑔

𝜔2 𝑅
4. sin 𝜃 =
𝑔
5. sin 𝜃 =
𝑔
𝜔2 𝑅

4. ศักย์ไฟฟ้าที่จุด A สูงกว่าศักย์ไฟฟ้าที่จุด B อยูก่ ี่โวลต์

1. 1 2. 𝑅−𝑟
𝑅+𝑟
3. 𝑅
𝑅+𝑟
4. 𝑟
𝑅+𝑟
5. 𝑅+𝑟
𝑅−𝑟
รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 5
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

5. อัตรา (𝑃) ที่พลังงานไฟฟ้าสู ญเสี ยไปเป็ นพลังงานความร้อนในตัวต้านทาน 𝑥 โอห์ม


ขึ้นอยูก่ บั ค่า 𝑥 ตามกราฟรู ปใด

1. 2.

3. 4.

5.
รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 6
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

6. มุม 𝜃 ในรู ปนี้มีค่าเป็ นกี่เรเดียน

1 3
ℎ 2
1. ℎ 2
( )
𝑓
2. ℎ
𝑓
3. ℎ 2
( )
𝑓
4. ( )
𝑓
5. ℎ
𝑓+ℎ
รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 7
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

7. วัตถุส้ นั ๆ AB วางตัวบนเส้นแกนมุขสาคัญของเลนส์นูน โดยมีระยะ 𝐴𝑂 = 𝑢 และ


ระยะภาพจริ งของ A คือ 𝑂𝐴′ = 𝑣 ภาพจริ ง (𝐴′𝐵′) มีทิศทางอย่างไรและมีขนาด
ยาวเป็ นกี่เท่าของ AB

A′ B′ B′ A′
𝑣 𝑣
1. , 𝑢 เท่า 2. , 𝑢 เท่า

A′ B′ B′ A′
𝑣 2 𝑣 2
3. ,(𝑢) เท่า 4. , (𝑢) เท่า

B′ A′
𝑣 1
5. , (𝑢)2 เท่า
รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 8
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

8. พิจารณาสมการ 11
5B +
1
1H → 84Be + (. . . )
ธาตุในวงเล็บเป็ นธาตุในข้อใด
1. 1
1H 2. 3
1H 3. 3
2He 4. 4
2He 5. 1
1Li

9. แหล่งกาเนิ ดเสี ยงอยูท่ ี่จุดศูนย์กลาง O ของวงรี ซ่ ึ งมีระยะครึ่ งแกนเป็ น 𝑎 และ 𝑏 ดังรู ป


คนที่เดิ นวนรอบ O ตามแนววงรี น้ ี จะได้ยินเสี ยงดังสุ ดมีระดับความเข้มเสี ยงสู งกว่า
ของเสี ยงเบาสุดอยูก่ ี่เดซิเบล

1. 10 log ( )
𝑏
𝑎
2. 20 log ( )
𝑏
𝑎
3. 10
𝑎
𝑏

4. 10 log ( )
𝑎
𝑏
5. 20 log ( )
𝑎
𝑏
รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 9
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

10. ลูกแก้วทรงกลมทาด้วยแก้วดรรชนีหกั เห 𝜇 แนวแสงออกทามุมกี่องศากับแนวแสงเข้า

1. 𝜃
sin 𝜃
2. 𝜃 − 𝑎𝑟𝑐sin ( 𝜇
)

sin 𝜃
3. 2 {𝜃 − 𝑎𝑟𝑐sin ( 𝜇
)}

4. 𝜃 − arcsin(𝜇 𝑠𝑖𝑛𝜃)

5. 2{𝜃 − arcsin(𝜇 𝑠𝑖𝑛𝜃)}


รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 10
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

11. วงแหวนโลหะบาง ๆ รัศมี 𝑅 มวล 𝑚 อุณหภูมิ 𝑇 ทาด้วยโลหะที่มีสัมประสิ ทธิ์ การ


ขยายตัวเชิงเส้นเท่ากับ 𝛼 จะมีพลังงานศักย์โน้มถ่วงเพิ่มขึ้นหรื อลดลงจากเดิมเท่าไรที่
อุณหภูมิ 𝑇 + ∆𝑇

1. เท่าเดิม
2. เพิ่มขึ้นอีก 𝑚𝑔𝑅𝛼𝛥𝑇 3. เพิ่มขึ้นอีก 2𝑚𝑔𝑅𝛼𝛥𝑇

4. ลดลง 𝑚𝑔𝑅𝛼𝛥𝑇 5. ลดลง 2𝑚𝑔𝑅𝛼𝛥𝑇


รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 11
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

12. ธาตุกมั มันตรังสี A สลายไปเป็ นธาตุกมั มันตรังสี B ซึ่งสลายต่อไปเป็ นธาตุ C ที่เสถียร


ตามสมการ A → B → C โดยที่จานวนนิวเคลียสตั้งต้นของ A เป็ น 𝑁0 และของ B
เท่ากับ C เป็ นศูนย์ ดังแสดงในกราฟ
จงจับคู่กราฟ ①, ②, ③ กับธาตุที่ถูกต้องตามลาดับ

1. A, B, C 2. A, C, B 3. B, A, C
4. B, C, A 5. C, B, A
รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 12
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

13. ที่ จุ ด O ของรู ป ก. ซึ่ งเป็ นวงลวดเดี่ ย ว ๆ รั ศ มี 𝑅 กระแส 𝐼 มี ส นามแม่ เ หล็ ก


𝐵 = 0 จงหาค่าสนามแม่เหล็กที่จุด O สาหรับรู ป ข.
𝜇 𝐼
2𝑅

1. 0 2. 𝜇0 𝐼
3𝑅
3. 𝜇0 𝐼
4𝑅
4. 𝜇0 𝐼
6𝑅
5. 𝜇0 𝐼
8𝑅
รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 13
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

14. ตัวนาทรงกลมสองอันซ้อนกันอยู่และมีจุดศูนย์กลางร่ วมกัน อันในมีรัศมี 𝑅1 และมี


ประจุ +𝑄1 อัน นอกมี รัศมี 𝑅2 ประจุ +𝑄2 อัน ในมี ศกั ย์ไฟฟ้ า สู ง กว่า อัน นอกอยู่
เท่าไร

1. 𝑘𝑄1 (
1
𝑅1

𝑅2
1
) 2. 𝑘𝑄2 (
1
𝑅1

1
𝑅2
) 3. 𝑄2
𝑘 (
𝑅2

𝑄1
𝑅1
)

4. 𝑘 (
𝑄1
𝑅1

𝑄2
𝑅2
) 5. 𝑄2
𝑘 (
𝑅1

𝑄1
𝑅2
)
รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 14
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

15. 𝑀 เป็ นมวลรวมของก้อนน้ าหนัก ถามดและลูกสูบซึ่งมีพ้ืนที่ภาคตัดขวาง 𝐴


𝑃𝑎 เป็ นความดันบรรยากาศ ที่สภาวะสมดุลเชิ งกลเราจะได้วา่
{M + (. . . )}ℎ = คงที่
จงหาปริ มาณใน (. . . )

𝑃𝑎
1. 0 2. 𝑃𝑎 𝐴 3. 𝑔
gA 𝑃𝑎 𝐴
4. 𝑃𝑎
5. 𝑔
รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 15
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

16. น้ า ซึ่ งมี ค วามหนาแน่ น 𝜌 ไหลเข้า จากทางซ้า ยของท่ อ ปลายเปิ ดทั้ง สองด้า นด้วย
ความเร็ ว 𝑣1 และไหลออกทางขวาด้วยความเร็ ว 𝑣2 พลังงานจลน์ของน้ าไหลผ่านท่อ
ต่อหน่วยเวลามีค่าเท่าไร

1. 1
2
𝜌𝐴1 𝑣12 2. 1
2
𝜌𝐴2 𝑣22 3. 1
2
𝜌𝐴1 𝐴2 𝑣1 𝑣2

4. 1
2
𝜌𝐴1 𝑣13 5. 1
2
𝜌𝐴1 𝑣14

17. แรงไฟฟ้าที่โปรตอนมวล 𝑚 ประจุ 𝑞 ผลักกันมีขนาดเป็ นกี่เท่าของขนาดของแรงโน้ม


ถ่วงระหว่างโปรตอนคู่เดียวกัน

𝐺 𝑞 2 𝑘 𝑚 2 𝑘 𝑞 2
1. 𝑘
( )
𝑚
2. 𝐺
( )
𝑞
3. 𝐺
( )
𝑚

𝑘 𝑞 𝐺 𝑚
4. 𝐺 𝑚
5. 𝑘 𝑞
รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 16
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

18. ท่อรู ปตัวยูปลายเปิ ดตั้งดิ่งอยู่ มีของเหลว A ความหนาแน่น 𝜌A กับของเหลว B ความ


หนาแน่น 𝜌B ซึ่งไม่ผสมกันบรรจุอยูด่ งั รู ป จงหาค่าของอัตราส่วน 𝜌𝜌A
B

1 1 1
1. 4
2. 3
3. 2
4. 2 5. 4
รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 17
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

19. ถ้าอุณหภูมิของแก๊สอุดมคติในกระเปาะเพิ่มขึ้น 1 เคลวิน เม็ดปรอทจะเลื่อนขึ้นจาก


ระดับเดิมเป็ นระยะทางเท่าไร (ไม่ตอ้ งคานึงถึงการขยายตัวของท่อ)

𝑉 𝑉𝑇 𝑉
1. 𝑎𝑇
2. 𝑎
3. 𝑎

𝑎2 𝑎2 𝑇
4. 𝑉
5. 𝑉
รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 18
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

20. คลื่นเสี ยงที่มีความถี่เท่ากับความถี่เรโซแนนซ์พ้ืนฐาน 𝑓0 ของท่อก้นเปิ ดในรู ป ก. กับ


ของรู ป ข. จะให้ความถี่บีตส์เท่ากับเท่าไร (ให้ถือว่า ∆𝑥 ≪ 𝐿)

1. 𝑓0
𝛥𝑥
𝐿
2. 2𝑓0
𝛥𝑥
𝐿
3. 1
2
𝑓0
𝛥𝑥
𝐿

3. √2𝑓0
𝛥𝑥
𝐿
5. 1
√2
𝑓0
𝛥𝑥
𝐿

21. หลักการความไม่แน่ นอนของ Heisenberge ∆𝑝𝑥 ∆𝑥 ≈ ℎ บอกว่าอนุ ภาคมวล 𝑚


ที่ถูกกักไว้ในกล่องลูกบาศก์ดา้ นยาว 𝑎 มีพลังงานจลน์ต่าสุดโดยประมาณตามข้อใด
1. 0 2. ℎ
𝑚𝑎
3. 𝑚𝑎

ℎ2 𝑚𝑎2
4. 𝑚𝑎2
5. ℎ2
รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 19
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

22. ความเข้มของแสงที่ เลี้ ยวเบนเนื่ อ งจากสลิ ต เดี่ ยวกว้า ง 𝑏 (รู ป ก.) บรรยายได้ด้วย
sin(𝛽) 2
ฟังก์ชนั 𝐼(𝜃 ) = 𝐼 (0) {
𝛽
} ,𝛽 =
𝜋𝑏
𝜆
sin(𝜃 ) (รู ป ข.)
แถบสว่างข้างแถบที่ 1 มีค่าสูงสุดที่ค่า 𝛽 เท่ากับกี่เรเดียนโดยประมาณ

π π 3π
1. 0 2. 4
3. 2
4. π 5. 2
รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 20
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

23. ก้อนโลหะมีโพรงอยู่ภายใน ผิวนอกของก้อนอยู่ที่ศกั ย์ไฟฟ้า 𝑉0 ดังรู ป สมมติให้ 𝑉1


เป็ นศักย์ไฟฟ้าในเนื้อโลหะ และ 𝑉2 เป็ นศักย์ไฟฟ้าในโพรงและที่ผวิ โพรง
ข้อใดเป็ นความสัมพันธ์ที่ถูกต้องสมบูรณ์ที่สุด

1. 𝑉1 = 𝑉0 2. 𝑉2 = 𝑉0 3. 𝑉1 = 𝑉2
4. 𝑉2 = 𝑉1 = 𝑉0 5. 𝑉0 > 𝑉1 > 𝑉2

24. กระแสที่ไหลผ่าน 𝑅2 มีมุมเฟสต่างจากมุมเฟสของกระแสที่ไหลผ่าน 𝑅1 กี่องศา

1. 90 2. 60 3. 45 4. 30 5. 0
รหัสวิชา 49 ฟิ สิ กส์ หน้ า 21
วันเสาร์ ที่ 16 มีนาคม 2562 เวลา 11.00 - 12.30 น.

25. ลวดยาว 𝐿0 เมื่ อใช้เป็ นสายลูกตุม้ มวล 𝑀 ห้อยอยู่นิ่ง ๆ จะยืดยาวขึ้นจากเดิ ม ∆𝐿1


(รู ป ก.) แต่เมื่อปล่อยลูกตุม้ 𝑀 เคลื่อนที่โดยประมาณตามแนววงกลม และเมื่อถึงจุด
ต่าสุดลวดจะยืดยาวขึ้นจากเดิม (จาก 𝐿0 ) เท่ากับ ∆𝐿2 (รู ป ข.)
จงหาความสัมพันธ์ระหว่าง ∆𝐿1 กับ ∆𝐿1

1. ∆𝐿2 = (3 − 2 cos 𝜃0 )∆𝐿1


2. ∆𝐿2 = (3 + 2 cos 𝜃0 )∆𝐿1
3. ∆𝐿2 = (cos 𝜃0 )∆𝐿1
4. ∆𝐿2 = (1 + sin 𝜃0 )∆𝐿1
5. ∆𝐿2 = ∆𝐿1 เสมอ

You might also like