Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 37

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษาการใชประโยชนกากมันสําปะหลังและชานออยในการปรับปรุงดินเค็มสําหรับ
การปลูกผักบุงจีนครั้งนี้ ผูศึกษาไดคนควาเอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วของเพื่อนํามาใชเปน
กรอบแนวคิดในการศึกษา ตามรายละเอียดดังนี้
1. ความหมายและองคประกอบของดินเค็ม
1.1 แหลงกําเนิดดินเค็ม
1.2 การแพรกระจายของดินเค็ม
1.3 การจําแนกดินเค็ม
1.4 ลักษณะของดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
1.5 พื้นที่ดินเค็มอาจมีขอสังเกต
1.6 ระดับความเค็มของดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
1.7 ผลของความเค็มตอการจํากัดการเจริญเติบโตของพืช
1.8 ระดับความเค็มที่มีผลตอการเจริญเติบโตของพืช
1.9 แนวทางการปรับปรุงดินเค็ม
1.10 ความสําคัญของการเพิ่มอินทรียวัตถุในการปรับปรุงดิน
2. กากมันสําปะหลัง
2.1 สารพิษในมันสําปะหลังและการกําจัดสารพิษ
3. ชานออย
3.1 การใชประโยชนจากชานออย
4. วัสดุปลูก
5. ธาตุอาหารพืช
6. พืชที่ใชในการทดสอบ
7. งานวิจยั ที่เกี่ยวของ
7.1 งานวิจยั ในประเทศ
7.2 งานวิจยั ตางประเทศ

Mahasarakham University
7

ความหมายและองคประกอบของดินเค็ม

ดินเค็ม หรือ Salt-Affected Soil เปนคําที่มีความหมายกวางมาก เปนคํารวม ๆ ของดินที่


มีเกลือชนิดละลายน้ําไดในปริมาณมาก หรือเปนดินที่มีโซเดียมที่แลกเปลี่ยนไดในปริมาณสูง หรือมี
ทั้งเกลือและโซเดียมในปริมาณสูงจนเปนอันตรายตอรากพืช หรือทําใหคุณสมบัตทิ างกายภาพของ
ดินไมดี ทําใหเกิดปญหาการปลูกพืชใหผลผลิตต่ําหรือไมไดเลย
เกลือที่มีอยูในดินเค็มทั่วไป ไดแก เกลือคลอไรดและซัลเฟต ของธาตุแคลเซียม
แมกนีเซียม และโซเดียม สําหรับชนิดเกลือของดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนใหญเปนเกลือ
โซเดียมคลอไรด (กรมพัฒนาที่ดิน. 2548 : เว็บไซต)
1. แหลงกําเนิดของดินเค็ม
ดินเค็มในประเทศไทยแบงเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ ดินเค็มบกและดินเค็ม
ชายทะเล ดินเค็มบกมีทั้งดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และดินเค็มภาคกลาง ดินเค็มแตละ
ประเภทมีสาเหตุการเกิดชนิดของเกลือ การแพรกระจายตามลักษณะสภาพพื้นที่ และตามลักษณะ
ภูมิประเทศดวย (กรมพัฒนาที่ดิน. 2548 : เว็บไซต) ดังนี้
1.1 ดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แหลงเกลือมาจากหินเกลือใตดิน น้ําใตดนิ เค็มหรือหินทราย หินดินดานที่
อมเกลืออยู ลักษณะอีกประการหนึ่ง คือ ความเค็มจะไมมีความสม่ําเสมอในพื้นที่เดียวกันและ
ความเค็มจะแตกตางกันระหวางชั้นความลึกของดินซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล ลักษณะของ
ดินเค็มที่สังเกตได คือ จะเห็นขุยเกลือขึ้นตามผิวดิน และมักเปนที่วา งเปลาไมไดทําการเกษตร หรือ
มีวัชพืชทนเค็ม เชน หนามแดง หนามป เปนตน
1.2 ดินเค็มภาคกลาง
แหลงเกลือเกิดจากตะกอนน้ํากรอย หรือเค็มที่ทับถมมานานหรือเกิดจาก
น้ําใตดนิ เค็มทัง้ ที่อยูลึกและอยูตื้น เมื่อน้ําใตดินไหลผานแหลงเกลือแลวไปโผลที่ดินไมเค็มที่อยู
ต่ํากวา ทําใหดินบริเวณที่ตา่ํ กวานัน้ กลายเปนดินเค็มทั้งนี้ขึ้นกับภูมิประเทศแตละแหง สาเหตุการเกิด
แพรกระจายออกมามาก สวนใหญเกิดจากมนุษยโดยการสูบน้ําไปใชมากเกินไป เกิดการทะลักของ
น้ําเค็มเขาไปแทนทีก่ ารชลประทาน การทําคลองชลประทานรวมทั้งการสรางอางเก็บน้ําเพือ่ ใชในไรนา
บนพื้นที่ที่มีการทับถมของตะกอนน้ําเค็ม หรือจากการขุดหนาดินไปขาย ทําใหตะกอนน้ําเค็มถึงจะ
อยูลึกนั้นกลายเปนแหลงแพรกระจายเกลือได

Mahasarakham University
8

1.3 ดินเค็มชายทะเล
สาเหตุการเกิดดินเค็มชายทะเล เนื่องมาจากการไดรับอิทธิพลจากการขึ้นลง
ของน้ําทะเลโดยตรง องคประกอบของเกลือในดินเค็มเกิดจากการรวมตัวของธาตุที่มีประจุบวก พวก
โซเดียม แมกนีเซียม แคลเซียม รวมกับธาตุที่ประจุลบ เชน คลอไรด ซัลเฟต ไบคารบอเนต และ
คารบอเนต ดินเค็มที่เกิดในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออยูในรูปของเกลือโซเดียมคลอไรด (NaCl)
คลายคลึงกับดินเค็มชายทะเล แตดินเค็มชายทะเล มีแมกนีเซียมอยูในรูปคลอไรดและซัลเฟตมากกวา
สวนชนิดของเกลือในดินเค็มภาคกลางมีหลายรูปมีหลายแหงที่ไมใชเกลือ NaCl แตมักจะพบอยู
ในรูปของเกลือซัลเฟต คลอไรด ไบคารบอเนต หรือ คารบอเนตของแมกนีเซียม แคลเซียม และ
โซเดียม
2. การแพรกระจายของดินเค็ม
สาเหตุการแพรกระจายดินเค็ม เกิดขึ้นจาก 2 สาเหตุดงั นี้
2.1 การแพรกระจายดินเค็มสาเหตุจากธรรมชาติ
2.1.1 หินหรือแรสลายตัวหรือผุฟงและเปลีย่ นคุณสมบัติไปโดยกระบวนการ
ทางเคมีและทางกายภาพ ก็จะทําใหมีเกลือตาง ๆ เกิดขึน้ มาเกลือเหลานี้อาจสะสมอยูกับที่หรือ
สลายตัวไปกับน้ําแลวซึมลงสูชั้นลาง แลวกลับขึ้นมาสะสมอยูบนชั้นบนอีก โดยน้าํ ที่ซึมขึ้นมานั้น
ไดระเหยแหงไปโดยใชแสงแดดหรือถูกพืชนําไปใช
2.1.2 มีน้ําใตดินเค็มอยูระดับตื้นใกลผิวดิน เมื่อน้ํานี้ซึมขึ้นบนดินก็จะนํา
เกลือขึ้นมาดวย ภายหลังจากที่น้ําระเหยแหงไปแลวก็จะทําใหมีเกลือเหลือสะสมอยูบนดินได
2.1.3 บางแหงเปนที่ต่ํา เปนเหตุใหน้ําไหลลงไปรวมกัน น้ําแหลงนีส้ วนมาก
จะมีเกลือละลายอยูดว ย เมื่อน้ําระเหยไปจะมีเกลือสะสมอยู พื้นทีแ่ หงนั้นอาจเปนหนองน้ําหรือ
ทะเลสาบมากอนก็ได
2.2 การแพรกระจายดินเค็มสาเหตุจากมนุษย
2.2.1 การทํานาเกลือ ทั้งวิธีการสูบน้ําเค็มขึ้นมาตาก หรือวิธีการขุดคราบเกลือ
จากผิวดินมาตม เกลือที่อยูนา้ํ ทิ้งจะมีปริมาณมากพอทีจ่ ะทําใหพนื้ ที่บริเวณใกลเคียงกลายเปนพื้น
ที่ดินเค็มหรือแหลงน้ําเค็มได
2.2.2 การสรางอางเก็บน้ําบนดินเค็มหรือมีน้ําใตดนิ เค็ม จะทําใหอางเก็บน้ํา
นั้นและพื้นที่รอบ ๆ อางกลายเปนน้ําเค็มและดินเค็ม เนือ่ งจากการยกระดับของน้ําใตดินที่เค็มขึ้นมา
ใกลเคียงกับระดับน้ําในอางหรือใกลผิวดิน
2.2.3 การตัดไมทําลายปาหรือการปลอยพืน้ ที่บริเวณที่มศี ักยภาพในการ
แพรกระจายเกลือใหวางเปลา ทําใหเกิดดินเค็มแพรไปในบริเวณเชิงเนิน ซึ่งสวนใหญเปนนาขาว

Mahasarakham University
9

2.2.4 เกิดขึ้นจากการใชน้ําชลประทาน น้ําชลประทานจากแหลงตาง ๆ ยอม


มีเกลือละลายอยูเปนจํานวนมากนอยตาง ๆ กัน ดังนั้นการใชน้ําชลประทานควรจะตองมีความ
ระมัดระวังใหดี การตรวจดินอยูเรื่อย ๆ จะทําใหไมเกิดดินเกลือได และจะตองพิจารณาอยางยิ่ง
ประกอบดวย เชน คุณภาพของน้ํา ปริมาณของน้ําที่พืชใช และอื่น ๆ การระบายน้ําของดิน ชนิด
ของดิน พืชทีจ่ ะปลูก เปนตน เกลือจะมีการสะมอยูในดินมากนอยและรวดเร็วแคไหนนั้นขึน้ อยูก บั
คุณภาพของน้าํ หรือปริมาณเกลือที่ละลายอยูในน้ําและปริมาณน้ําที่ทดเขาไปในไรนาดวย กรณีที่มี
น้ําใตดนิ เค็มอยูไมลึกนัก เมือ่ มีการใชชลประทานก็จะไปยกระดับน้ําเค็มใหใกลผิวดิน ทําใหเกิด
ดินเค็ม
2.2.5 ดินเค็มยังสามารถเกิดจากการใชน้ําทิ้งอุตสาหกรรมที่มีเกลือหรือ TDS
หรือการนําไฟฟาสูงเมื่อมีการใชในการเกษตรหรือปลอยสูพื้นที่วางเปลาเปนเวลานานก็จะทําใหพนื้ ที่
ดังกลาวมีการสะสมเกลือใหเห็นและทําใหพืชที่ออนแอตายไปในที่สุด
3. การจําแนกดินเค็ม
ดินเค็มอาจจําแนกออกไดเปน 3 ชนิดคือ
3.1 ดินเกลือ (Saline Soil)
ดินที่มีปริมาณเกลือมากจนเปนอันตรายตอรากพืช และจํากัดการเจริญเติบโต
และการใหผลผลิตของพืช ดินเหลานี้สามารถเปลี่ยนใหเปนดินธรรมดาได โดยการชะลางเกลือที่มี
อยูมากใหออกไปจากบริเวณรากพืช โดยทัว่ ไปดินเกลือมี pH นอยกวา 8.5 และดินเกาะตัวกันดี
พืชที่เจริญเติบโตในดินเหลานี้อาจมีลักษณะแคระแกรน ใบหนาขึ้น และมีสีเขียวเขม การเจริญเติบโต
ของพืชสามารถลดลงไดอยางมาก โดยที่ลกั ษณะของพืชไมเปลี่ยนแปลงก็ได
3.2 ดินเกลือโซดิก (Saline Sodic Soil)
เปนดินที่มีทั้งปริมาณเกลือสูงและปริมาณ Exchangeable Sodium สูง ตัวที่
จํากัดการเจริญเติบโตของพืชก็ คือ ปริมาณเกลือที่มอี ยูสูง โดยปกติดินเกลือโซดิกมี pH นอยกวา
8.5 ขอควรระวังในการแกไขปรับปรุงดินเกลือโซดิกดวยวิธีการชะลางดวยน้ําก็ คือ การชะลาง
อาจทําใหดนิ นีก้ ลายเปนดินโซดิก ทั้งนีเ้ นือ่ งจากเกลือถูกชะลางออกไปจากดินไดเร็วกวา Exchangeable
Sodium ทําใหดินมี Exchangeable Sodium สูงเปนสาเหตุใหดินแนน การไหลซึมของน้ําลดลง
3.3 ดินโซดิก (Sodic Soil)
เปนดินที่มีปริมาณ Exchangeable Sodium สูง การแกไขปรับปรุงดินนี้ทําได
ยากมาก โดยทั่วไปการไหลซึมของน้ําในดินนี้ชามาก โดยปกติดินโซดิก pH สูงกวา 9 หรือ 9.5
อนุภาคดินเหนียวและอนุภาคของสารอินทรีย อยูในสภาพแพรกระจายและอินทรียวัตถุอาจสะสมอยู
บนผิวหนาดินทําใหหนาดินมีสีดํา ดินนี้จงึ มีชื่อสามัญวา Black Alkali เนื่องจากดินนี้มีปริมาณเกลือ

Mahasarakham University
10

คอนขางนอย และมี pH สูงจนอาจเปนผลใหโซเดียมเปนพิษตอพืชได (กรมพัฒนาที่ดิน. 2548 :


เว็บไซต)
4. ลักษณะของดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักมีความเค็มไมสม่ําเสมอกัน ในพืน้ ที่เดียวกัน
และในชัน้ ของดินตางกันก็มีเกลือสะสมอยูไมเทากัน นอกจากนี้ชนั้ ของเกลือยังเปลีย่ นแปลงไปตาม
ฤดูกาลอีกดวย โดยทั่วไปในฤดูฝนเกลือจะถูกชะลางไปสะสมอยูที่ชั้นลางของโปรไฟลดิน แตใน
ฤดูแลงเกลือก็จะซึมมาสะสมอยูที่ชั้นดินบน เนื่องจากดินสวนใหญเปนดินทราย การขึ้นลงของเกลือ
จึงเปนไปอยางรวดเร็ว ดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนใหญมีคา ความซาบซึมน้ําสูง ทําให
ทิศทางการไหลและการสะสมของเกลือเปลี่ยนไปโดยรวดเร็ว
ลักษณะประจําอีกอยางหนึ่งของดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ก็คือ ดินเค็มมี
ปฏิกิริยาเปนกรดถึงกรดจัด
5. ลักษณะเฉพาะของพื้นทีด่ ินเค็ม
5.1 มีขุยหรือคราบเกลืออยูบนผิวดินเปนหยอม ๆ
5.2 มักเปนทีว่ างเปลาหรือมีพืชชอบดินเค็ม เชน หนามดง หนามป หญาขี้กลาก
หรือกระถินทุง
5.3 สังเกตลักษณะของพืชทีข่ ึ้นในบริเวณพื้นที่ดิน ถึงแมวาจะไมเห็นคราบเกลือ
บนผิวดิน ลักษณะของพืชทีเ่ จริญเติบโตในดินเค็มจะมีใบสีเขมและหนา ปลายใบและขอบใบไหม
5.4 หากเปนนาขาว ใหสังเกตลักษณะของตนขาวและความสม่ําเสมอของแปลง
ปลูกขาว ในพืน้ ที่ดินเค็มตนขาวจะมีการเจริญเติบโตไมสม่ําเสมอหรือมีตนขาวตายเปนหยอม ๆ
ตนขาวแคระแกรนไมแตกกอ ปลายใบมวนงอ เมื่อออกเมล็ดเมล็ดขาวจะลีบ และผลผลิตจะต่ํากวา
ปกติมาก
6. ระดับความเค็มของดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การแบงระดับความเค็มของดินภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไมสามารถจะใชสามารถ
จะใชกฎเกณฑของระบบการแบงแบบที่ใชกนั ทั่วไปแตเพียงอยางเดียว เนื่องจากความเค็มของดินเค็ม
ในพื้นทีห่ นึ่ง ๆ มีระดับความเค็มไมสม่ําเสมอกันตลอดทั้งพื้นที่ เกลือจะสะสมอยูเปนหยอม
นอกจากนี้แลวชั้นที่สะสมเกลือจะเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาลดวย เนือ่ งจากดินเค็มในภาคนี้มีเนื้อดิน
เปนดินทราย ทําใหระดับความเค็มเปลี่ยนแปลงไดงาย
คณะเจาหนาทีข่ องหนวยงานปรับปรุงดินเค็มของกรมพัฒนาที่ดิน จึงไดนําเอา
คุณสมบัติอื่น ๆ มาประกอบเปนกฎเกณฑรวมดวยในการแบงระดับความเค็ม อาทิเชน ปริมาณ
ความเค็มนอยของคราบเกลือผิวดิน ระดับความตื้นลึกและคุณภาพของน้ําใตดิน ตลอดจนชั้นหินที่อยู
เบื้องลางวามีเกลือสะสมอยูหรือไม ซึ่งพอสรุปไดวาในปจจุบันพืน้ ทีด่ ินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Mahasarakham University
11

ไดถูกแบงออกเปน 5 ระดับ และระดับความเค็มของดินกับการตอบสนองตอการเจริญเติบโตของพืช


ดังตาราง 1 ดังนี้ (มงคล ตะอุน. 2547 : 19)

ตาราง 1 ระดับความเค็มของดินกับการตอบสนองตอการเจริญเติบโตของพืช

คา EC (mS/cm) ระดับความเค็ม ผลของความเค็มที่มีตอพืช


0–2 ไมเค็ม ไมมีผลกระทบกระเทือนตอพืช
2–4 เค็มนอย จํากัดการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชชนิดที่ไว
ตอความเค็ม
4–8 เค็มปานกลาง จํากัดการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชหลายชนิด
8 – 16 เค็มมาก เฉพาะพืชที่ทนตอความเค็มไดเทานัน้ จึงจะ
เจริญเติบโตใหผลผลิตได
> 16 เค็มจัด เฉพาะพืชที่ทนตอความเค็มจัดไดจึงจะเจริญเติบโต
ใหผลผลิตได

1. พื้นที่ดินเค็มจัด
หมายถึง ดินที่มีปริมาณเกลือในดินประมาณ 0.5 - 1.0 เปอรเซ็นต วัดดวย
เครื่องมือวัดความเค็มได 8-16 mS/cm มีพืชบางชนิดเทานั้นที่สามารถเจริญเติบโตใหผลผลิตได พืช
ที่สามารถทนตอสภาพดินทีม่ ีความเค็ม 0.5-0.75 เปอรเซ็นต หรือ 8-12 mS/cm ไดแก ผักกาดหอม
มะเขือเทศ ขาวพันธุที่ทนเค็ม มันเทศ ขี้เหล็ก มะมวงหิมพาน พืชทีท่ นตอสภาพดินที่มีความเค็ม
0.75-1.0 เปอรเซ็นต หรือ 12-16 mS/cm ไดแก หนอไมฝรั่ง คะนา ผักบุงจีน ชะอม ฝาย ละมุด
พุทรา มะขาม สะเดา สนและพืชที่ขึ้นไดในพื้นที่ที่สภาพความเค็มมากกวา 1 เปอรเซ็นต หรือ
มากกวา 16 mS/cm ไดแก ชะคราม สะเม็ด แสม โกงกาง
2. พื้นที่ดินเค็มปานกลาง
หมายถึง ดินที่มีปริมาณเกลือในดินประมาณ 0.25 - 0.5 เปอรเซ็นต วัดดวย
เครื่องมือวัดความเค็มได 4-8 mS/cm โดยทั่ว ๆ ไปจะแสดงอาการบางเล็กนอย เนือ่ งจากความเค็ม
ในดิน ดังนั้นกอนมีการปลูกพืชจึงตองมีการปรับปรุงดินเสียกอน ดวยการใสปุยคอก ปุยหมักหรือ
ปุยพืชสด แตก็มีพืชบางชนิดที่สามารถทนตอสภาพดินที่มีความเค็มปานกลางนี้ได เชน ขาวโพด
ขาว หอมใหญ ผักกาดหอม แตงโม สับปะรด มะกอก แค ฯลฯ

Mahasarakham University
12

3. พื้นที่ดินเค็มนอย
หมายถึง ดินที่มีปริมาณเกลือในดินประมาณ 0.12 - 0.25 เปอรเซ็นต วัดดวย
เครื่องมือวัดคาความเค็มได 2 - 4 mS/cm พืชที่ไมทนเค็มเริ่มแสดงอาการ เชน การเจริญเติบโต
ลดลงใบสีเขมขึ้น ปลายใบไหม ปลายใบมวนงอ ผลผลิตลดลง แตพืชทนเค็ม บางชนิดสามารถ
ขึ้นไดตามปกติ เชน ขึ้นฉาย ผักกาด แตงราน มะมวง สม กลวย ฯลฯ
4. พื้นที่มีศักยภาพเปนดินเค็ม
พบในบริเวณที่ต่ําซึ่งไมมีคราบเกลือบนผิวดิน หรือหากมีก็จะมีอยูนอยกวา 1
เปอรเซ็นตของพื้นที่ น้ําใตดินเปนน้ํากรอยแตอยูคอนขางลึก คือ ลึกมากกวา 2 เมตรจากผิวดิน
ในชวงฤดูแลง
5. พื้นที่ดินทีม่ ีศักยภาพเปนแหลงกระจายความเค็ม
พบในบริเวณที่สูงขึ้นไมมีคราบเกลือบนผิวดินเลย แตเปนบริเวณที่พบหินที่มี
เกลือปะปนโดยที่หินเหลานีอ้ ยูลึกกวา 3 เมตร น้ําใตดินบางแหงเปนน้าํ กรอยหรือเค็มอยูลึกมากกวา
6 เมตร
7. ผลของความเค็มตอการจํากัดการเจริญเติบโตของพืช
เมื่อนําดินไปวัดคาการนําไฟฟา (Electrical Conductivity) ที่ระดับความชื้นอิ่มตัว
ดวยน้ํา ถามีคามากกวา 2 มิลลิโมหตอเซนติเมตร (mmhos/cm หรือ mS/cm หรือ dS/m) ถือวา
ดินนั้นเริ่มมีปญหาดานความเค็ม โดยมีคณ ุ สมบัติไมเหมาะสมเนื่องจากเกลือหรือความเค็มตอการ
เพาะปลูก โดยเฉพาะพืชที่ออ นแอตอความเค็มของดิน จึงจําเปนตองมีการปรับปรุงแกไขเพื่อใหใช
ประโยชนไดเต็มที่ ดินชนิดนี้มักพบอยูทั่ว ๆ ไปในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะบริเวณพืน้ ที่
ราบลุมเปนดินที่มีเกลือโซเดียมอยูสูงซึ่งเรียกวา เกลือสินเธาว ในฤดูแลงจะพบเปนคราบเกลือเกิด
กระจัดกระจายอยูตามผิวดิน ความเค็มของดินที่มีผลกระทบตอการเจริญเติบโตของพืช ทําใหพืชที่
ปลูกไมสามารถเจริญเติบโตตอไปได เกิดการชะงักและแหงตายลงในที่สุด จึงทําใหดินบริเวณ
ดังกลาวเกิดมีปญหา ไมสามารถใชประโยชนในการปลูกพืช ผลกระทบของดินเค็มที่มีตอพืชโดยตรง
แบงไดเปน 2 ประการคือ
1. ความเค็มของดิน มีผลตอการดูดน้ําของพืช โดยการเพิ่มแรงดึงดูดจาก
ความเขมขนทีต่ างกัน (Osmotic Pressure) ของสารละลายดิน ทําใหพชื แสดงอาการขาดน้ํา
การเจริญเติบโตของพืชลดลง หรืออาจตายไป
2. เกิดมีธาตุบางชนิดในดินเค็มเปนพิษแกพืชโดยตรง หรือทําใหเกิดความไม
สมดุลของธาตุอาหาร เนื่องจากมีโซเดียม (Na) โบรอน (B) คลอไรด (CI) หรือคารบอเนต (CO32-)
มากเกินไป ผลกระทบกับพืชทางออม คือ เกลือจะทําลายโครงสรางของดิน ทําใหการซาบซึมน้ํา
ในดินชา คุณสมบัติทางกายภาพของดินเลวลง และยังทําใหคุณสมบัตทิ างเคมีเปลี่ยนแปลงไป
Mahasarakham University
13

กลไกของพืชทนเค็ม พืชทีข่ ึ้นไดในดินเค็มตองมีกลไกบางอยาง เพื่อบรรเทา


ความเปนพิษของเกลือ อาจแบงไดเปน 3 ลักษณะใหญ ๆ คือ การไมดูดเกลือเขาไป การดูดเกลือ
เขาไปแลวสะสมเอาไว และการคายเกลือออกมาพืชที่จดั วาอยูใ นประเภทที่ไมดดู เกลือเขาไป หรือ
การหลีกเลี่ยงความเค็มหรือการหนีเค็ม พืชจะพยายามปรับตัวเองใหเขากับสภาพดินเค็ม ไดแก
การปรับระบบโครงสรางของรากใหแผกระจายไปยังจุดที่เค็มนอยกวา หรือปรับตัวเองใหมีการออก
ดอกลาชาหรือเร็วกวาปกติ ขณะที่ดนิ มีความเค็มลดลงเพื่อหนีชวงทีเ่ ค็มจัด หรืออาจจะมีการฟน
ตัวอยางรวดเร็วเมื่อความเค็มลดลง
พืชทนเค็มประเภททีด่ ูดเกลือเขาไป เมื่อดูดเกลือเขาไปอาจจะนําไปสะสมอยู
ในสวนทีไ่ มเปนอันตรายตอพืช เชน สะสมใน Vacuole หรือเพิ่มความหนาของใบ มีกลไกอวบน้ํา
เพิ่มปริมาณน้ําในเซลล เพื่อใหความเขมขนของเกลือลดลง หรือเพิ่มความเครียดของปากใบ
เพื่อใหคายน้ํานอยลง นอกจากนี้มีการเลือกดูดธาตุโพแทสเซียมเขาไปมากขึ้นหรือดูดธาตุโซเดียม
นอยลง มีการขนยายธาตุโซเดียมจากใบออนไปใบแก หรือสามารถสะสมธาตุโซเดียมไวตามลําตน
และราก เปนตน สวนพืชบางประเภทก็มตี อมเกลือเพื่อคายเกลือออกมา ลักษณะตาง ๆ ดังกลาวเปน
กลไกของพืชที่สามารถปรับตัวเองใหเขากับสภาพความเค็มเพื่อความอยูรอด โดยพืชชนิดหนึ่ง ๆ
อาจจะมีลักษณะเดียวหรือหลายลักษณะรวมกันได กลไกการทนเค็มของพืชโดยทัว่ ไป สามารถสรุป
ไดดังนี้
1) หลีกเลี่ยงการสะสมเกลือในไซโตพลาสซึมในปริมาณที่เปนพิษ โดย
การมี Salt Gland หรือเคลื่อนยายเกลือไปสะสมใน Vacuole
2) สราง Enzyme ตาง ๆ เพื่อใหมีความสามารถในการทนตอ
ความเขมขนของเกลือสูง
3) ดูดเกลือเขามาสะสมในบริเวณรากหรือลําตน
4) เพิ่มปริมาณน้ําภายในเซลลทําใหความเขมขนของเกลือภายในเซลล
ลดลง
5) รากพืชสามารถที่จะแทรกตัวในดินที่เปนแผนทึบได
6) รากพืชจะไมดูดเกลือ แตดูดเอาเฉพาะน้าํ เขาไปได
7) สรางสารเคลือบใบ สรางใบใหหนาขึน้ เพื่อเก็บน้ําไวใช
ผลของความเค็มที่มีตอพืชที่ขึ้นในดินเค็มโดยมากมักพบตายเปนหยอม ๆ
ตนแคระแกร็น การเจริญเติบโตของพืชที่อยูในแปลงไมสม่ําเสมอกัน อาการที่พบ เชน ใบขาวโพด
จะมีขนาดใบลดลงและมีใบสีเขียวเขมกวาปกติ ใบหนา หรือมีอาการอวบน้ํา ใบกรอบกระดาง
ใบไหมจากปลายใบมายังโคนใบ และใบแกจะไหมกอนใบออน ใบมวนและความเค็มมีผลตอ
การเปลี่ยนแปลงทางการเจริญเติบโตและผลผลิตลดลง บางตนตายในที่สุด เนื่องจาก การสังเคราะห
Mahasarakham University
14

ลดลง การสรางอินทรียสารและโปรตีนลดลง การหายใจเร็วขึน้ ความเค็มยังมีผลทําใหพืชเกิด


อาการขาดน้ํา ถึงแมจะมีน้ําแตพืชนะดูดไปใชได เนื่องจากมีแรงดันออสโมติคซึ่งผันแปรตาม
ความเค็ม ถาความเค็มสูงขึ้นแรงดันออสโมติคก็สูงขึ้นดวย พืชก็ดูดน้ํายิ่งนอยลง ความเปนพิษ
ของธาตุที่เปนสวนประกอบของเกลือที่ละลายออกมาโดยเฉพาะอยางยิง่ ธาตุโซเดียมและคลอไรด
ลักษณะที่พชื ไดรับผลกระทบกระเทือนจากเกลือในระยะการเจริญเติบโตตาง ๆ นอกจากความสามารถ
ในการทนเค็มของพืชตางชนิดไมเทากันแลว พืชแตละชนิดก็มีระยะของการเจริญเติบโตแตละชวง
ที่ทนเค็มตาง ๆ กันอีกดวย โดยจะแยกเปนระยะ ๆ ดังนี้
1) ในระยะงอก ความเค็มมีผลใหเมล็ดงอกชากวาปกติ และเปอรเซ็นต
ความงอกลดลง ซึ่งขึ้นอยูกบั ชนิดของพืชที่ระยะความเค็มที่ตางกัน แตอยางไรก็ตามใบพืชที่งอก
ออกมาเอง บางชนิดจะไมแสดงอาการ หรือมีอาการนอยมาก เนื่องจากพืชยังใชอาหารที่มีอยูภายใน
เมล็ดพืช
2) ระยะกลาออน ในระยะนีพ้ ืชจะไดผลจากความเค็มมากและมี
เปอรเซ็นตตายสูง
3) ระยะกอนออกดอก เปนระยะที่มีความสามารถในการทนเค็มสูง
การเจริญเติบโตนอยมาก พืชจะแสดงอาการใหเห็นคือปลายใบไหมและมวน
4) ระยะออกดอก ความเค็มมีผลตอการเจริญของเกสรตัวผูทําใหการผสม
เกสรติดลดลง เปอรเซ็นตเมล็ดลีบสูงเปนผลใหผลผลิตลดลง
5) ระยะเก็บเกี่ยว ความเค็มทําใหจํานวนแขนงและรวงตอกอลดลง
ความยาวรวงและเมล็ดตอรวงต่ํา ผลผลิตและน้ําหนักตอซังลดลง ซึ่งเปนผลตอเนื่องมากอนชวง
เก็บเกีย่ ว
8. ระดับความเค็มที่มีผลตอการเจริญเติบโตของพืช
การเปรียบเทียบความทนเค็มของพืช พืชทนเค็มคือพืชทีส่ ามารถอยูรอดและ
เจริญเติบโตไดในดินเค็ม โดยใหผลผลิตไดอยางครบวงจร พืชตางชนิดกันก็มีความสามารถใน
การทนเค็มแตกตางกันแมแตพืชชนิดเดียวกันแตตางพันธุกัน ความทนตอความเค็มก็ไมเทากัน
พืชบางชนิดความแตกตางระหวางพันธุในการทนเค็มไดแคบ เชน ถัว่ เขียวกวา 300 พันธุ จะทนเค็ม
ไดระหวาง 2 – 4 mS/cm เทานั้น ขณะที่ขาวพันธุตาง ๆ กันมีความทนเค็มอยูในชวง 4 – 11 mS/cm
การตอบสนองของพืชตอความเค็มนั้น ถาจะเทียบระดับความเค็มเปนคาการนําไฟฟาที่มีหนวยเปน
mS/cm หรือ dS/m หรือ mmhos/cm ที่ 25 องศาเซลเซียส แสดงในตาราง 2 พืชทนเค็มหลายชนิด
มีความออนแอตอความเค็มในระยะงอก ซึ่งจะงอกไดดใี นสภาพทีเ่ ค็มนอยกวาระยะการเจริญเติบโต
ดังนั้นในระยะงอก ตองควบคุมใหดินบริเวณเมล็ดใหมีความเค็มนอยทีส่ ุด สวนระยะการเจริญเติบโต
นั้นพืชทนเค็มสวนมากจะมีความทนทานตอความเค็มสูงในระยะการเจริญเติบโตไดมากกวาระยะอื่น
Mahasarakham University
15

ในขณะที่พืชหลายชนิดจะออนแอในชวงระยะออกดอก จึงมีความจําเปนในการวางแผนการปลูกพืช
เพื่อใหระยะออกดอกอยูในชวงที่มีความเค็มนอยจะทําใหไดผลผลิตสูงขึ้นดังนั้นจึงเลือกพืชปลูกที่
เหมาะสม (มงคล ตะอุน. 2547 : 18)
9. แนวทางการปรับปรุงดินเค็ม
การปองกันไมใหเกิดการแพรกระจายดินเค็มเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ตองพิจารณาจาก
สาเหตุการเกิดดําเนินการไดโดยวิธีการทางวิศวกรรม วิธีทางชีวิทยา และวิธีผสมผสานระหวาง
ทั้งสองวิธี
9.1 วิธีทางวิศวกรรม จะตองมีการออกแบบพิจารณาเพื่อลดหรือตัดกระแส
การไหลของน้าํ ใตดินใหอยูในสมดุลของธรรมชาติมากที่สุด ไมใหเพิ่มระดับน้ําใตดนิ เค็มในที่ลุม
9.2 วิธีทางชีววิทยา โดยใชวิธีการทางพืช เชน การปลูกปาเพื่อปองกัน
การแพรกระจายดินเค็ม มีการกําหนดพื้นที่รับน้ําที่จะปลูกปา ปลูกไมยืนตนหรือไมโตเร็วมีรากลึก
ใชน้ํามากบนพื้นที่รับน้ําที่กาํ หนด เพื่อทําใหเกิดสมดุลการใชน้ําและน้าํ ใตดินในพืน้ ที่ สามารถแกไข
ลดความเค็มของดินในที่ลุมที่เปนพื้นทีใ่ หน้ําได
9.3 วิธีผสมผสาน การแกไขลดระดับความเค็มดินลงใหสามารถปลูกพืชได
โดยการใชน้ําชะลางเกลือจากดินและการปรับปรุงดิน ดินที่มีเกลืออยูส ามารถกําจัดออกไปไดโดย
การชะลางโดยน้ํา การใหน้ําสําหรับลางดินมีทั้งแบบตอเนื่องและแบบขังน้ําเปนชวงเวลาแบบตอเนื่อง
ใชเวลาในการแกไขดินเค็มไดรวดเร็วกวาแตตองใชปริมาณน้ํามาก สวนแบบขังน้ําใชเวลาในการ
แกไขดินเค็มชากวา แตประหยัดน้ํา
การใชพื้นทีด่ นิ เค็มใหเกิดประโยชนตามสภาพที่เปนอยู ไมปลอยใหพนื้ ดิน
วางเปลา โดยการคลุมดินหรือมีการเพิ่มผลผลิตพืชโดยเปลี่ยนพืชเปนพืชเศรษฐกิจทีเ่ หมาะสม เชน
พืชทนเค็ม พืชชอบเกลือ (พินิติ รตะนานุกุล และคณะ. ม.ป.ป. : เว็บไซต)
นอกจากนี้พบวา ดินเค็มมักขาดความอุดมสมบูรณ มีอินทรียวัตถุที่เปนแหลง
ธาตุอาหารใหแกพืชต่ํา พืชที่ปลูกในดินเค็มนั้น นอกจากจะถูกผลกระทบโดยตรงจากเกลือแลว
ดินยังมีธาตุอาหารไมเพียงพอ ดังนั้นวิธีการหนึ่งในการปรับปรุงดินเค็ม คือ การเพิ่มอินทรียวัตถุลง
ในดินเค็ม ซึ่งการเพิ่มธาตุอาหารในดินโดยการใสปยุ อินทรีย เชน ปุย คอก ปุย หมัก หรือการใชพืช
ปุยสดที่ไถกลบลงดินเปนปุย พืชสด นอกจากเปนการเพิม่ ปริมาณไนโตรเจนแกดิน ยังเปนการเพิ่ม
ธาตุอาหารอื่น ๆ เชน ทําใหเพิ่มธาตุอาหารโดยเฉพาะฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม และ
แมกนีเซียม และจุลธาตุบางอยาง เชน เหล็ก ทองแดง โบรอน สังกะสี และแมงกานีส ใหแกดิน
ทําใหดนิ มีปริมาณธาตุอาหารตาง ๆ เพิ่มมากขึ้น และอินทรียวัตถุชว ยในการลดความแนนทึบของดิน
และดินมีชองอากาศและน้ํามากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพราะวาอินทรียวัตถุที่ใสลงดินจะเขาไปแทรกอยูใ น

Mahasarakham University
16

ระหวางอนุภาคของดิน ทําใหเกิดมีชองวางระหวางเม็ดดิน (Pore Space) ความพรุนของดิน (Soil


Porosity) จึงเปนการปรับปรุงดินเค็มใหดขี ึ้นอีกวิธีหนึ่ง
10. ความสําคัญของการเพิ่มอินทรียวัตถุในการปรับปรุงดิน
10.1 ปรับปรุงคุณสมบัติทางชีวภาพของดิน
การใชปุยอินทรียในการบํารุงดินสามารถเพิ่มปริมาณการกระตุนกิจกรรมของ
สิ่งมีชีวิตในดินได ระบบปลูกพืชที่มีการใชปุยพืชสดและเศษเหลือพืชตระกูลถั่วบํารุงดิน จะมีผลตอ
ปริมาณจุลินทรียในดินที่ระดับความลึก 0 – 20 เซนติเมตร โดยเฉพาะแบคทีเรีย คือ มีจํานวนเทากับ
24.0 – 25.0 x 106 เซลล/กรัมดินแหง นอกจากนีย้ ังมีผลตอชนิดและปริมาณของจุลินทรีย ซึ่งมีผลตอ
การควบคุมโรคบางชนิดในดินได เชน การไถกลบเศษถั่วเหลืองสามารถปองกันการเกิดโรค Scab
ในมันฝรั่งที่เกิดจากเชื้อ Streptomyces scabies ในดินไดเศษอินทรียใ หมที่ใสลงในดิน จะเปนแหลง
อาหารของสัตวในดินซึ่งกิจกรรมของสัตวเหลานี้จะมีผลตอความพรุน การเกิดเม็ดดินที่คงทน และ
การเกิดชองวางที่ตอเนื่องที่ยอมใหน้ําและอากาศผานเขาออกได การเพิ่มขึ้นของกิจกรรมของ
สิ่งมีชีวิตในดินเหลานี้จะมีผลทั้งตอคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินซึ่งมีผลตอการเจริญเติบโต
การดูดใชธาตุอาหารและผลผลิตพืชที่ปลูกตามหลักอีกดวย (มงคล ตะอุน. 2547 : 51)
10.2 ปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพของดิน
10.2.1 เพิ่มความรวนซุยและความพรุนของดิน
การใหปยุ อินทรียลงดินโดยการผสมคลุกเคลากับดิน เกิดมีชองวางและ
ชองอากาศในดินมากขึ้น โดยเฉพาะการไถกลบซากพืชที่มีมวลชีวภาพมาก ยิ่งชวยทําใหดนิ โปรงตัว
เกิดมีชองวางระหวางอนุภาคของดิน ชวยใหการไหลเวียนของอากาศในดินเปนไปโดยสะดวก และ
จุลินทรียในดินสามารถดําเนินกิจกรรมไดอยางเต็มที่ ชวยใหการไถพรวนเตรียมดินไดงาย รวมทั้งพืช
ที่ปลูกสามารถเจริญเติบโตแข็งแรง มีระบบรากที่ชอนไชไดลึกหรือมีปริมาณรากในเม็ดดินเพิ่มขึน้
และขยายออกตามดานขางไดยาวไกล เปนประโยชนตอการดูดซึมธาตุอาหารไดมากยิ่งขึ้น ยอมทําให
การเจริญเติบโตมีมากขึ้น นอกจากนี้ความพรุนของดินทีเ่ พิ่มขึ้นมาจะมีผลตอการชวยลดความแนน
ทึบของดินโดยเฉพาะอยางยิง่ ดินทรายและดินรวนทรายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเปนดิน
ที่มีความหนาแนนสูง ดินจะเกิดการแนนทึบมาก เมื่ออยูในสภาพขาดความชื้นจะแหงและแข็งเร็ว
รากพืชที่ปลูกชอนไชไมสะดวก การเจริญเติบโตของพืชไมงอกงามและใหผลผลิตต่ําการเพิ่มปริมาณ
อินทรียวัตถุลงดินชวยในการลดความแนนทึบของดิน และดินมีชองอากาศและน้ํามากยิ่งขึ้น
ทั้งนี้เพราะวาอินทรียวัตถุทใี่ สลงดินจะเขาไปแทรกอยูใ นระหวางอนุภาคของดิน ทําใหเกิดมีชองวาง
ระหวางเม็ดดิน (Pore Space) ความพรุนของดิน (Soil Porosity) จึงไดรับการปรับปรุงใหดีขึ้น

Mahasarakham University
17

10.2.2 เพิ่มการอุมน้ําของดิน
น้ําหรือความชืน้ ของดินมีความสําคัญและจําเปนตอการเจริญเติบโตของพืช
การอุมน้ําของดินแตละชนิดมีความแตกตางกัน ดินทรายและดินรวนทรายมีความสามารถในการ
อุมน้ําต่ํา เมื่อเทียบกับดินรวนและดินเหนียว เพราะวาดินทรายมีเนื้อหยาบ ไมมีสารทีช่ วยดูดน้าํ ยึดเกาะ
อยูระหวางอนุภาคของดิน เมื่อฝนตกลงมาหรือมีการชลประทาน น้ําจะไหลซึมผานดินคอนขางเร็ว
และถูกดูดยึดไวในระหวางอนุภาคของดินนอยมาก ดังนัน้ ในกรณีของดินทรายหรือดินรวนทราย
พืชที่ปลูกมักแสดงอาการเหี่ยวเฉาเร็วในภาวะที่ฝนทิ้งชวง ซึ่งมีสาเหตุมาจากการดูดซับความชื้นได
นอย การเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุลงดินในรูปของการไถกลบปุยพืชสด อินทรียวัตถุที่ไดจากการ
สลายตัวของเศษซากพืชและแทรกตัวอยูระหวางอนุภาคของดินชวยในการดูดซับน้ําที่ไหลซึมผานดิน
ไดมากขึ้น ทําใหความชืน้ ในดินไดรับการปรับปรุงดียิ่งขึ้น
อินทรียวัตถุชว ยในการเพิ่มความสามารถในการอุมน้ําของดิน ยังชวยในการ
เพิ่มความสามารถของดินในการใหน้ําไหลซึมผาน โดยเฉพาะน้ําฝนทีไ่ หลบา (Run Off) ผานผิวดิน
เพราะวาดินไดรับอินทรียวัตถุจากการไดรับปุยอินทรีย ปริมาณชองวางอากาศและน้ํา (Total Pore
Space) ในดินเพิ่มมากขึ้นหรือลดความหนาแนนรวม หรือลดความแข็งของดิน (Hardness) ทําให
ความคงทนของเม็ดดินสูงหรือเพิ่มคาภาวการณเกาะกันเปนเม็ดดินของอนุภาคปฐมภูมิของดิน
(State of Aggregation) คาการกระจายของเม็ดดินขนาดใหญเพิ่มขึ้น (Mean Weight Diameter)
มีปริมาณรากในเม็ดดินมากขึน้ คาสัมประสิทธิ์การซาบซึมน้ําเพิ่มมากขึ้น เมื่อฝนตก น้ําฝนที่ตก
กระทบพื้นผิวดินจะไหลรวมตัวกัน สวนหนึ่งจะไหลซึมผานชองอากาศและน้ําลงสูสวนลึกของดิน
เมื่อปริมาณอินทรียวัตถุในดินมีมาก ปริมาณชองวางอากาศและน้ําในดินยิ่งมีมากตามไปดวย อัตรา
การไหลซึมของน้ําผานผิวดินลงสูสวนลึก (Infiltration Rate และ Percolation Rate) เปนไปอยาง
รวดเร็วและสะดวก ผลดีในสวนนี้ชว ยลดอัตราการชะลางพังทลายของดิน และเพิ่มปริมาณความชื้น
ในสวนลึกของดิน ซึ่งเปนประโยชนกับพืชที่ปลูกอยางมาก (มงคล ตะอุน. 2547 : 52)
10.3 ปรับปรุงคุณสมบัติทางเคมีของดิน
10.3.1 ความเปนกรด-ดางของดิน (pH)
การใชปุยอินทรีย เชน ปุยคอก แกลบ พืชปุยสดหรือเศษเหลือพืชตระกูลถั่ว
ในระบบปลูกพืชจะมีผลตอความสามารถในการรักษาความเปนกรด – ดาง (pH) ของดินใหอยู
ในระดับใกล 7 โดยเฉพาะในพื้นดินเค็มทีม่ ีการจัดการผสมผสานกัน เมื่อไมมีการจัดการใด ๆ
(แปลงควบคุม) คา pH จะมีคาต่ํากวาการใชแกลบ ปุยคอก และปุย พืชสด ใชโสนอัฟริกัน
(Sesbania rostrata) เปนปุยพืชสดในนาขาวในดินชุดเรณู (Plinthic Paleaqults) พบวา pH ของดิน
ในแปลงที่ใชปุยพืชสดจะลดลงเนื่องจากมีการใสปุยแรธาตุนอยกวาแปลงที่ปุยแรธาตุเพียงอยางเดียว
และยังพบวาในดินที่ใสปยุ แรธาตุเพียงอยางเดียว pH ของดินจะลดลงอยางมาก คือ ลดลงจาก 6.2
Mahasarakham University
18

เปน 3.9-4.0 สวนในแปลงที่มีการใชโสนอัฟริกันเปนปุยพืชสด pH ของดินจะลดลงเพียงเล็กนอย


คือ ลดลงจาก 6.5 เปน 6.0
10.3.2 คาการนําไฟฟาของดิน (Electrical Conductivity : EC)
ในพื้นทีด่ ินเค็มถาไมมีการปรับปรุงดิน คา EC มีการเปลี่ยนแปลงไมมากนัก
หลังการทดลอง แตในกรรมวิธีที่มีการใสวัสดุอินทรียปรับปรุงดิน (ปุยคอก แกลบและปุยพืชสด
โสนอัฟริกัน) หลังการเก็บเกี่ยวขาวโพดทัง้ ในแปลงที่ยังไมยกระดับและแปลงที่ยกระดับ มีแนวโนม
ทําใหคา EC ลดลง เนื่องจากดินโปรงขึ้นและดินมีการอุม น้ําดีขึ้นทําใหเกลือที่อยูใ ตผิวดินซึมขึ้นมา
ไดนอยและชา ๆ และการใสปุยแรธาตุรวมดวยพืชเจริญเติบโตแพรขยายรากไดกวางขึ้น ทําใหดนิ มี
ปริมาณเกลืออยูต่ํากวาแปลงที่ไมมีการจัดการ โดยในแปลงที่ไมไดปรับปรุงดินมีความเค็มสูงสุด
คือ 3.90 mS/cm (1 : 5) การใสปุยพืชสดทําใหความเค็มของดินลดลงเหลือ 2.9 mS/cm การใส
ปุยคอกและแกลบโดยการใสแบบหวาน และแบบหยอดหลุม ทําใหความเค็มของดินลดลงเหลือ
2.3 mS/cm และ 0.7 mS/cm ตามลําดับ การใสปุยแรธาตุแบบหยอดหลุมรวมกับการใชแกลบ
ปุยคอกและโสนทําใหคาของดินต่ํา คือ 1.2 mho/cm ในแปลงที่ไมมีการยกแปลงปลูก แตเมื่อมี
การยกแปลงปลูกสูง 20 ซม. จะมีคาลดลงเหลือเพียง 0.6 mS/cm
การที่คาการนําไฟฟาลดลงสวนหนึ่งเนื่องจากอินทรียวัตถุทําใหดนิ โปรง
ดินมีชองวางมากขึ้นทําใหเกลือไมสามารถขึ้นมาได นอกจากนีท้ ําใหชะลางเกลือออกไปไดมากขึน้
เมื่อทําการวัดปริมาณเกลือในดินจึงลดลงโดยเฉพาะธาตุโซเดียมและคลอไรดที่เปนองคประกอบ
ที่สําคัญของเกลือ
10.3.3 ความสามารถในการแลกเปลี่ยนแคตไออน (CEC)
การใชปุยอินทรียมีผลตอ pH ของดิน ซึ่งจะสงผลตอความเปนประโยชน
ของธาตุอาหารบางตัวนอกจากนั้นเมื่อสลายตัวจะปลดปลอยธาตุอาหารออกมาเปนประโยชนในดิน
ได อีกทั้งปริมาณอินทรียวัตถุที่เพิ่มขึ้นยังมีผลตอคา CEC ของดิน ในบรรดาสารคอลลอยดดวยกัน
อินทรียวัตถุที่เพิ่มขึ้นมีผลตอคา CEC สูงที่สุดกลาวคือ CEC โดยเฉลี่ยสูงถึง 200 meq/100 กรัม
โดยปริมาณอินทรียวัตถุ 1% จะใหคา CEC แกดนิ ประมาณ 2 meq/100 กรัม ขณะที่ปริมาณ
ดินเหนียว 1% จะใหคา CEC แกดนิ ประมาณ 0.5 meq/100 กรัม
นั่นแสดงใหเห็นวาการเพิ่มอินทรียวัตถุในดินสามารถทําใหดนิ มีคา CEC
เพิ่มขึ้นมากกวา 4 เทาของการเพิ่มปริมาณดินเหนียวในปริมาณที่เทากัน ในดินที่มีปริมาณดินเหนียว
ต่ําและสวนใหญประกอบดวย แรคาโอลิไนท (Kaolinite) และอลูมินมั ออกไซด อินทรียวัตถุจะทํา
หนาที่คลายแรดินเหนียวในการดูดยึดธาตุอาหารประจุบวกและปลดปลอยใหแกพืช การใชปุยพืชสด
และเศษเหลือพืชในการบํารุงดินเปนการเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ดังนั้น CEC ของดินจะเพิ่ม

Mahasarakham University
19

ตามปริมาณอินทรียวัตถุที่เพิม่ ขึ้นในดิน ซึ่งจะสงผลตอการดูดยึดธาตุอาหารและปลดปลอยออกมาอยู


ในรูปที่เปนประโยชนตอพืชในดินไดมากขึ้น
10.3.4 เพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุใหแกดิน
พืชปุยอินทรียแ ตละชนิดสามารถเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุใหแกดินไดทั้งนั้น
แตปริมาณที่เพิ่มใหแกดนิ ไมเทากัน ขึ้นอยูกับปริมาณมวลชีวภาพและปริมาณไนโตรเจนที่มีอยูใ นพืช
พืชปุยสดที่ไถกลบในขณะทีม่ ีอายุการเจริญเติบโตสูงสุด คือ ระยะทีก่ ําลังออกดอกประมาณ 50
เปอรเซ็นต จะไดปริมาณมวลชีวภาพและปริมาณธาตุอาหารสูงสุด ในขณะเดียวกันหากไถกลบพืช
ปุยสดในระยะที่กําลังเจริญเติบโตและยังไมออกดอกจะไดปริมาณมวลชีวภาพไมสูงนัก แตไดปริมาณ
ธาตุอาหาร โดยเฉพาะไนโตรเจนสูงสุดทั้งนี้เปนเพราะวาพืชปุยสดที่ไถกลบในระยะนี้ยังออนอยู
และการเจริญเติบโตไมเต็มที่ ปริมาณเยื่อใย (Fiber) และสวนที่เปนเนื้อไมยังมีนอยผิดกับระยะที่พืช
เริ่มแก หรือระยะที่การเจริญเติบโตทางดานลําตน กิ่ง ใบ และยอดลดลง จะมีปริมาณเยื่อใยและ
สวนที่เปนเนื้อไมแข็งมีมาก ปริมาณมวลชีวภาพมีคอนขางสูง แตธาตุอาหารมีอยูในปริมาณคอนขาง
ต่ํา การใชปุยพืชสดชนิดตาง ๆ ปรับปรุงบํารุงดิน ซึ่งแตละชนิดใหปริมาณธาตุอาหารที่แตกตางกัน
ดังนั้นการไถกลบพืชปุยสดลงดินแตละครั้งเทากับวาเปนการเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุใหแกดินดวย
สวนปริมาณอินทรียวัตถุจะคงสภาพอยูในดินไดนานแคไหน ขึ้นอยูกบั สิ่งแวดลอมในดิน ชนิด และ
อายุของพืชปุยสดที่ไถกลบลงดิน (มงคล ตะอุน. 2547 : 55)
10.4 ปรับปรุงคุณสมบัติทางความอุดมสมบูรณของดิน
10.4.1 เพิ่มปริมาณธาตุอาหาร
การใสปุยอินทรียเพื่อปรับปรุงดิน เชน ปุยคอก ปุยหมัก หรือการใชพืช
ปุยสดที่ไถกลบลงดินเปนปุย พืชสด นอกจากเปนการเพิ่มปริมาณไนโตรเจนแกดนิ ยังเปนการเพิ่มธาตุ
อาหารอืน่ ๆ เชน ทําใหเพิ่มธาตุอาหารโดยเฉพาะฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม และ
แมกนีเซียม และจุลธาตุบางอยาง เชน เหล็ก ทองแดง โบรอน สังกะสี และแมงกานีส ใหแกดิน
ทําใหดนิ มีปริมาณธาตุอาหารตาง ๆ เพิ่มมากขึ้น อินทรียวัตถุเปนตัวการสําคัญที่ชวยใหดนิ มี
ความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวกเพิ่มสูงขึ้น ความสามารถในการแลกเปลีย่ นประจุบวก
ของดิน (CEC : Cation Exchange Capacity) หรือความสามารถของดินในการดูดซับธาตุ
(มงคล ตะอุน. 2547 : 61)

Mahasarakham University
20

กากมันสําปะหลัง

1. ผลการวิเคราะหทางเคมีพบวา กากมันสําปะหลังเปนอาหารพลังงานที่อุดมสมบูรณดวย
คารโบไฮเดรต แตมีโปรตีนไขมัน แรธาตุ วิตามิน และกรดอะมิโนต่ํา ดังจะเห็นไดจากรายงาน
การวิจยั เกีย่ วกับคุณคาทางโภชนาการของกากมันสําปะหลัง ซึ่งแยกเปนโภชนาการที่สําคัญดังนี้
คารโบไฮเดรตของกากมันสําปะหลังสวนใหญเปนแปง และคารโบไฮเดรตที่ละลาย
ไดในน้ําประมาณ 90 – 95 เปอรเซ็นต สวนเยื่อใยจะมีอยูต่ําประมาณ 3.2 – 4.5 เปอรเซ็นต ทําให
คารโบไฮเดรตของมันสําปะหลังยอยไดงา ย ปริมาณพลังงานที่ใชประโยชนไดเทียบกับขาวโพด
และธัญพืชอื่น ๆ
สวนประกอบทางเคมีของกากมันสําปะหลังมีความผันแปรมาก ขึ้นอยูก ับปจจัย
หลายประการ ไดแก อายุ พันธุ ความอุดมสมบูรณของดิน สภาพดินฟาอากาศ และวิธีวเิ คราะห
กากมันสําปะหลังสด ประกอบดวยน้ํา 60 – 65 เปอรเซ็นต คารโบไฮเดรต 30 – 35 เปอรเซ็นต
และโปรตีน 1 – 2 เปอรเซ็นต ปริมาณของแรธาตุกับวิตามินมีอยูคอนขางต่ํา สวนกากมันสําปะหลัง
แหง ประกอบดวย ความชืน้ 10 – 12 เปอรเซ็นต โปรตีน 2.6 – 2.5 เปอรเซ็นต คารโบไฮเดรต 76
– 81 เปอรเซ็นต ไขมัน 0.47 – 1.2 เปอรเซ็นต เยื่อใย 2.7 – 5.2 เปอรเซ็นต เถา 1.6 – 5.0 เปอรเซ็นต
จากผลการวิเคราะหทางเคมี กากมันสําปะหลังเปนอาหารพลังงานอุดมดวยคารโบไฮเดรต แตมี
โปรตีน ไขมัน แรธาตุ วิตามิน อยูนอยมาก และมีกรดอะมิโนที่จําเปนหลายชนิดในระดับต่ํามาก
โดยเฉพาะอยางยิ่งเมธไทโอนีนและซีสติน
เมื่อทําการเก็บเกี่ยวผลผลิต จะไดหวั มันสําปะหลังที่มีแปง การวัดปริมาณแปงนีจ้ ะวัด
เปนเปอรเซ็นต ใชตาชั่งเปนเครื่องมือวัด การวัดทําไดโดยสุมเลือกหัวมันสําปะหลังแลวตัดเปนทอน
นําไปชั่งแลววัดเปนเปอรเซ็นต สําหรับการวัดสูงสุดที่ได คือ 30 เปอรเซ็นต แสดงวาจะไดราคา
เต็มปาย แลวราคาจะลดลงมาตามปริมาณแปง ที่มีอยูใ นหัวมันสําปะหลัง
จากหัวมันสําปะหลังที่ผานกระบวนการรีดแปง จะไดเลือกมันสําปะหลัง หรือ
กากมันสําปะหลัง ซึ่งในกากมันสําปะหลังจะมีแปง คารโบไฮเดรต เปนองคประกอบหลัก และ
สามารถนํามาใชประโยชนได โดยการผานกระบวนการยอยสลายทางชีวภาพ
2. สารพิษในมันสําปะหลังและการกําจัดสารพิษ
สารพิษในมันสําปะหลัง คือ กรดไฮโดรไซยานิก ซึ่งเกิดจากการแตกตัวของ
สารประกอบไซยา - โนเจเนติก กลูโคไซด (Cyanogenetic Glucosides) ที่มีชื่อวา ลินามาริน
(Linamarin) และโลเทา – สตราลิน (Lotaustralin) สารทั้ง 2 นี้ไมมีพิษ มีอยูตามเนื้อเยื่อของ
มันสําปะหลัง โดยเฉพาะหัวและใบ แตเมือ่ เนื้อเยื่อของมันสําปะหลังถูก ทําลาย ไมวากรณีใด ๆ

Mahasarakham University
21

สารทั้ง 2 ดังกลาวจะรวมตัวกับน้ําโดยอาศัยเอนไซมลินามาเรส (Linamarase) หรือเบตากลูโคซิเดส


(ß-glucosidase) ซึ่งมีอยูในเนื้อเยื่อมันสําปะหลังเชนกัน ใหสารพิษในรูปกรดไฮโดรไซยานิก ไดมี
การแบงชนิดของหัวมันตามระดับของสารพิษที่มีอยู ดังนี้คือ ถาหัวมันสําปะหลังสด มีกรดไฮโดร
ไซยานิกต่ํากวา 50 สวนในลานสวน ถือวาเปนประเภทมีพิษนอย ไมเปนอันตรายตอคนและสัตว
ถามีกรดไฮโดรไซยานิกอยูในชวง 50-100 สวนในลานสวน ถือวามีพิษปานกลาง แตถามีกรด
ไฮโดรไซยานิกสูงกวา 100 สวนในลานสวน ถือวามีพษิ รุนแรง มันสําปะหลังพันธุระยอง 1
ที่ปลูกกันในประเทศไทยเพือ่ ผลิตมันเสน มันอัดเม็ดและแปงมัน จัดอยูในประเภทที่มีพิษรุนแรง
ไดมีการรายงานถึงระดับที่เปนพิษของกรดไฮโดรไซยานิกในคนและสัตว วาถาไดรับกรดไฮโดร
ไซยานิกประมาณ 1.4 มิลลิกรัมตอน้ําหนักตัว 1 กิโลกรัม จะเปนพิษถึงตายได
การลดความเปนพิษในหัวมันสําปะหลังกอนที่จะนํามารับประทาน สามารถทําไดหลายวิธี
คือ
1. ปอกเปลือก เนื่องจากสารกลูโคไซดจะสะสมอยูในเปลือกมากกวาในเนื้อ
มันสําปะหลัง การปอกเปลือกจึงเปนการกําจัดสารดังกลาวไดดีที่สุด
2. ลางน้ําและแชน้ํา เนื่องจากสารกลูโคไซดละลายน้ําไดดีมาก ดังนัน้ การลางน้ํา
และแชน้ํานาน ๆ กลูโคไซดจะละลายไปกับน้ํา
3. การหั่นเปนชิ้นเล็ก ๆ และตากแดดใหแหง ในกระบวนการทํามันเสน
4. การใชความรอน เนื่องจากกลูโคไซดสลายตัวไดดีมากที่อุณหภูมิ 150 องศา
เซลเซียส ดังนั้นเมื่อนําหัวมันสําปะหลังมาทําใหรอนจะดวยวิธีอบ นึง่ ตม ความเปนพิษจะหมดไป
5. การหมักดองหัวมันสําปะหลัง ทําใหเกิดกรดอินทรียข ึ้น ซึ่งมีผลในการไฮโดรไลส
สารกลูโคไซดที่มีในหัวมัน ทําใหเกิดแกสไฮโดรไซยาไนดระเหย และความเปนพิษหมดไป
วิธีการตาง ๆ ที่กลาวมานี้สามารถลดความเปนพิษดวยการลดสารกลูโคไซดใน
มันสําปะหลังลงไดมากจนถึงหมดไป เปนผลใหมันสําปะหลังใชบริโภคไดโดยไมเปนพิษตอรางกาย
เลย ถึงแมวาในบางครั้งกอนบริโภคจะขจัดสารที่มีพิษออกไมหมด แตถามีสารดังกลาวหลงเหลือ
อยูบางในปริมาณเล็กนอย เมื่อรับประทานเขาไปสารนีจ้ ะถูกน้ํายอยในลําไสยอยไดอีก ฉะนั้นโอกาส
ที่สารพิษในหัวมันสําปะหลังจะเปนพิษตอการบริโภคนัน้ จึงมีนอยมาก ถาเราไดปฏิบัติอยางถูกตอง
ในการเตรียมอาหาร (สุวรรณา ศรีสวัสดิ.์ ม.ป.ป. : เว็บไซต)

Mahasarakham University
22

ชานออย (Bagasse)

หมายถึง เศษเหลือจากการหีบเอาน้ําออยออกจากทอนออยแลว เมื่อทอนออยผานลูกหีบ


ชุดแรกอาจจะมีน้ําออยตกคางเหลืออยูยังหีบออกไมหมด แตพอผานลูกหีบชุดที่ 3 – 4 ก็จะมีน้ําออย
ตกคางอยูนอยมาก หรือแทบจะไมเหลืออยูเลย คือ เหลือแตเสนใยลวน ๆ ผลพลอยไดอันดับตอมา
ไดแก ฟลเตอรมัด (Filter Mud) หรือบางแหงก็เรียกฟลเตอร เพรสเค็ก หรือฟลเตอรเคก หรือ
ฟลเตอรมัด (Filter-Press Cake, Filter or Filter muck) ซึ่งจะถูกแยกหรือกรองหรือ ทําใหน้ําออย
บริสุทธิ์ โดยวิธีอื่นใดก็ตามสิ่งสกปรกที่แยกออกมาก็คือ ฟลเตอรเค็ก ผลพลอยไดอันดับสุดทายจาก
โรงงานน้ําตาลก็ไดแก กากน้ําตาล หรือโมลาส (Molasses) ซึ่งมีลักษณะขนเหนียว สีน้ําตาลแก
ที่ไมสามารถจะสกัดเอาน้ําตาลออกไดอีกโดยวิธีปกติ
ในอดีตใชชานออยเปนเชื้อเพลิงสําหรับตมน้ําในหมอน้ําใหเดือดแลวใชกําลังไอน้ํา
สําหรับเดินเครื่องจักรไอน้ําและสําหรับกําเนิดไฟฟาในระยะเวลาตอมา ชานออยในยุคกอน ๆ ยังมี
น้ําตาลที่หีบออกไมหมดหลงเหลืออยูมาก และเปนการสะดวกในการทีป่ อนชานออยจากลูกหีบ
ลูกสุดทายเขาสูเตาตมน้ําหรือ Boiler ไดทันที ถึงกระนั้นก็ตามชานออยก็ยังคงเหลืออยูอีกมาก
เนื่องจากหมอน้ําใชไมหมดทําใหเกิดปญหาในการกําจัด และทําลายใหหมดไปจากบริเวณโรงงาน
แมวาบางโรงงานในแถบเวสตอินดีสจะดัดแปลงไปใชกลัน่ เหลารัมหรือแอลกอฮอลบาง ชานออยก็
ยังคงเหลืออยูม ากมาย (ปรีชา สุริยพันธ. ม.ป.ป. : เว็บไซต)
นอกจากนี้ Navarro และคณะ (จีรนุช ผิวออน และอัญชลี ใจตรง. 2550 : 13 ;
อางอิงมาจาก Navarro และคณะ. 1993 : 203) ไดทําการศึกษาองคประกอบทางเคมีและกายภาพ
ของชานออย ดังตาราง 2

ตาราง 2 องคประกอบทางเคมีของชานออย

พารามิเตอร ชานออย
pH (water 1:5) 7.7 ± 0.1
EC (dS m-I) 0.80 ± 0.05
Ash (%) 52 ± 3
Organic matter (%) 48 ± 3
Total-N (%) 1.8 ± 0.02

Mahasarakham University
23

ตาราง 2 (ตอ)

พารามิเตอร ชานออย
C/N ratio (%) 14 ± 1
Total-P (%) 0.96 ± 0.3
Total-K (%) 0.39 ± 0.2
Total-Ca (%) 7.1 ± 0.1
Total-Mg (%) 0.4 ± 0.3
Cu (mg/kg-I) 1.9 ± 0.1
Zn (mg/kg-I) 51.0 ± 1.7
Mn (mg/kg-I) 257 ± 9.6
Fe (mg/kg-I) 803 ± 14

การใชประโยชนชานออย
1. การใชประโยชนชานออยในการอุตสาหกรรม
นักวิจัยไดพยายามคิดคนหาวิธีนําชานออยไปประดิษฐใชใหเปนประโยชนแก
มนุษย ผลสุดทายก็ประสบความสําเร็จ โดยการนําไปอัดเปนแผนคลายไมอัด และใชทําเยื่อกระดาษ
ตลอดจนพลาสติกและสารเฟอฟวราล (Furfural) เปนที่ทราบกันดีวา กระดาษอัดทีท่ ําจากชานออย
คุณสมบัติเก็บเสียงไดดี และใชทําฝาเพดาน ตลอดจนใชบุผนังหองในบานหรือแมแตในเรือและ
รถยนต ในบรรดาผลิตภัณฑประเภทนี้จากชานออยตางก็มีชื่อการคาจดทะเบียนสิทธิ์ตาง ๆ กัน
เชน ซีโลเท็กซ และเคเน็ก (Celotex and Canec) เปนตน แตอยางไรก็ตาม คุณลักษณะของเสนใย
หรือไฟเบอรที่ไดจากออยก็ยงั ไมเปนที่ถูกใจของผูใชมากนัก หรือแมแตโรงงานทําเยื่อกระดาษหอของ
ก็ยังตองการใหชานออยมีเสนใยยาวกวานี้
เมื่อมองในแงพลังงาน ซึ่งกําลังมีราคาแพงขึ้นในทุกวันนี้ ชานออยแมวาจะให
พลังงานนอยกวาน้ํามันหรือถานหิน แตก็เปนผลพลอยไดที่โรงงานน้ําตาลไมตองลงทุนซื้อหามา
เหมือนน้ํามันปโตรเลียม มีผูคํานวณไววาชานออยหกตันที่มีความชื้นประมาณ 50 เปอรเซ็นต
มีไฟเบอรประมาณ 46 เปอรเซ็นต มีน้ําตาลเหลืออยูประมาณ 3 เปอรเซ็นต จะมีความรอนเทียบเทา
กับน้ํามันเตาหนึ่งตัน ทั้งนี้ถา ชานออยยิ่งมีความชื้นนอยมีเปอรเซ็นตไฟเบอรสูง และมีน้ําตาลซูโครส
ที่เหลืออยูสูงก็จะใหความรอนสูงมากยิ่งขึ้น โดยวัดคาความรอนออกมาเปน L.C.V. (Lower
Calorific Value) ซึ่งจะมีคาอยูระหวาง 2,800 ถึง 3,700 B.T.U. ตอปอนด

Mahasarakham University
24

การทําเยื่อกระดาษจากชานออยมีประวัติมานาน และมีผูจดทะเบียนสิทธิ์มาตั้งแต
ป 1838 ตอมาก็มีการผลิตกระดาษชนิดตาง ๆ จากเยือ่ กระดาษที่ไดจากชานออย ในป 1856 มีรายงาน
วามีผูประดิษฐกระดาษชนิดกระดาษหนังสือพิมพไดจากชานออย จนกระทั่งปจจุบนั เทคโนโลยีใน
การผลิตเยื่อกระดาษจากชานออยไดรดุ หนาไปไกลมาก ชานออยที่จะถูกนํามาแยกสิง่ สกปรกและ
สิ่งที่ละลายปนมาตลอดจน Pith ออกกอนโดยวิธีทําใหเปยกแลวทําใหแหงทันที แลวนําไปผสมกับ
เยื่อกระดาษทีไ่ ดจากไมไผและเยื่อกระดาษจากกระดาษเกา ๆ (Cellulosic Material) อีกวิธีหนึ่งใน
การแยก Pith ออกก็โดยวิธที ี่เรียกวา ไฮดราพัลเพอร (Hydrapulper) คือการใชน้ําลางอยางแรงและ
ชะให Pith แยกออกโดยผานตะแกรงหมุนแลวทําใหแหง
สวนประกอบทางเคมีของชานออยคลายกับของไมเนื้อแข็ง (ไมเนื้อแข็ง ในแง
การทําเยื่อกระดาษ) สวนประกอบดังกลาวปรวนแปรไปตามชนิดพันธุ อายุ และสภาพที่ออยเติบโต
ขึ้นมา ชานออยมีลิกนิน (Lignin) นอยกวาไมยืนตน มีสารเพนโตแซน (Pentosan) มากกวาไมสน
ไมสปรูซ (Spruce) และไมยืนตนอืน่ ๆ บางชนิด สวนประกอบเซลลูโลสชนิด Cross และ Bevan
ของออยมีลักษณะคลายกับไมที่ใชทํากระดาษชนิดอืน่ ๆ ขี้เถาของออยมีสวนประกอบผิดแผกจากไม
ชนิดอืน่ คือ มีซิลิกา (Silica) สูงมาก และมีโพแทสกับแคลเซียมต่ํา เสนใยออยยกเวน Pith เหมาะสม
ที่จะนํามาทําเยื่อกระดาษมาก คือ จัดเปนเยื่อชนิดดี และฟอกสีไดงาย ขอเสีย คือ จําเปนจะตองแยก
Pith ออกกอนทําเยื่อและ Pith ที่แยกออกมาสามารถนําไปสังเคราะหทาํ อาหารสัตวไดโดยผสมกับ
กากน้ําตาล หรือสามารถใชทําสวนประกอบของวัตถุระเบิดได
การทําเยื่อกระดาษก็เพื่อที่จะละลายสวนที่เปนลิกนินและเฮมิเซลลูโลส
(Hemicellulose) ออกจากชานออย ลิกนินเปนสวน หนึ่งซึ่งยึดเสนใยของชานออยใหติดกัน ทําให
ไมสามารถทําใหไดกระดาษแผนบาง ๆ ได สวนเฮมิเซลลูโลสถามีอยูเกิน 20% จะทําใหกระดาษทีไ่ ด
ขาดงายเกินไปไมเหนียวและหยุนตัว
กอนทําเยื่อกระดาษ จะตองนําชานออยมาลาง และแยกสวนที่เรียกวา “พิท”
(Pith) ออกกอน เยื่อที่เหลืออยูจะถูกนําไปยอย หรือผสมกับสวนผสมหนึ่ง หรือมากกวาตามสูตร
ซึ่งมักจะปดบังไมเปดเผย เสร็จแลวนําไปผานความรอน 10 – 12 นาที สิ่งที่ไดเรียกวา เยื่อกระดาษ
ตอมาเยื่อกระดาษจะถูกนําไปทําใหขาวโดยการฟอกดวยนม หรือสารเคมีแลวแตวาจะนําเยื่อกระดาษ
นั้นไปใชทําอะไร
2. เฟอฟูราล (Furfural)
เฟอฟูราล ซึ่งเปนสารประกอบที่สกัดไดจากชานออย มีชื่ออื่นอีก คือ ฟูรอล,
เฟอฟูรอล หรือเฟอฟูราลดีไฮด (Furol, Furfurol or Furfuraldehyde) เปนสารเคมีที่ไมมีสี ไมติดไฟ
มีกลิ่นหอมและระเหยไดงาย เมื่อถูกแสงสวางหรืออากาศจะเปลี่ยนเปนสีแดงน้ําตาล เฟอฟูราลใชใน
อุตสาหกรรมกลั่นไมและน้าํ มันหลอลื่น หรือใชเปนสวนผสมของกาว หรือตัวการที่ทําใหพลาสติก
Mahasarakham University
25

แข็งตัว นอกจากนี้เฟอฟูราลยังเปนตัวละลายชนิดเดียวของสารบูตาดีน (Butadiene) ในอุตสาหกรรม


ผลิตยางสังเคราะห และใชในอุตสาหกรรมเภสัชกรรม สวนมากในปจจุบันใชเปนวัตถุประกอบ
สําคัญในการผลิต “ไนลอน 5 - 6” วัตถุดิบอื่นที่นํามาใชผลิตเฟอฟูราลไดอีก ไดแก ซังขาวโพด
เปลือกขาวโอต เมล็ดฝาย แกลบ และชานออย ซึ่งวัตถุดิบตาง ๆ เหลานี้ตางก็มีเพนโตแซนและ
เซลลูโลส ซึ่งเมื่อถูกนํามายอยดวยกรดซัลฟูริกเจือจางภายใตอณ ุ หภูมิและความดันสูงถึง 153 องศา
เซลเซียส ก็จะไดสารเฟอฟูราลบริสุทธิ์ 98-99 เปอรเซ็นต สวนที่เหลือสามารถนําไปใชเปนเชื้อเพลิง
สําหรับหมอน้าํ และใชทําเปนปุยอินทรียกไ็ ด
สวนประกอบเพนโตแซนในชานออยมีอยูป ระมาณ 24 ถึง 32 เปอรเซ็นต และ
ใน Pith จะมีอยูประมาณ 27.5 ถึง 33 เปอรเซ็นต ปจจุบันนี้ประเทศสาธารณรัฐโดมินิกันเปนผูผลิต
สารเฟอฟูราลไดมากที่สุด คือ ประมาณปละ 30 ลานปอนด
3. แอลฟา-เซลลูโลส (α-Cellulose)
เปนสารที่ควรจะเรียกไดวาเปนสารขั้นตนของเยื่อกระดาษซึ่งไดกลาวถึงแลว
วิธีการสกัดสารนี้ ใชวิธีของ De La Roza ซึ่งไดจดทะเบียนสิทธิ์เอาไว ผลผลิตตามวิธีนี้จะได
เยื่อกระดาษแอลฟาเซลลูโลสจากการกลืนยอยโดยใชกรด และดางถึงประมาณ 98 เปอรเซ็นต
อีกวิธีหนึ่งทีใ่ ชสกัดแอลฟาเซลลูโลส เปนวิธีของ Lynch และ Aronowsky
โดยการยอยดวยกรดไนตริค ที่อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส เสร็จแลวลางและทําใหสะเด็ดน้ํา
แลวยอยตอดวยโซดาไฟ
สารแอลฟาเซลลูโลสนี้ นําไปผลิตสิ่งตาง ๆ ไดอีก เชน เซลโลเฟน เรยอง
พลาสติก วิสโคส (Viscose) เซลลูโลสอาซีเตท ไนโตรเซลลูโลส ซึ่งเปนสารที่ใชทําวัตถุระเบิด
เปนตน
4. พลาสติก (Plastics)
พลาสติกมีกรรมวิธีผลิตไดหลายวิธี วิธีหนึ่งก็คือ การใชชานออยที่บริสุทธิ์
ปราศจาก Pith ปนใหเปนผง ใชเปนฟลเลอร (Filler) ของพลาสติก อีกวิธีหนึ่งก็คอื การใชลิกนิน
(Lignin) บริสุทธิ์เปนเนื้อพลาสติก เรียกวา พลาสติกแท ชานออยเปนวัสดุที่เหมาะสําหรับทํา
พลาสติกมาก เนื่องจากหาไดงาย ราคาถูกและมีสวนประกอบทางเคมีเหมาะสมมาก ชานออยมีสวน
ประกอบของลิกนิน 13 ถึง 22 เปอรเซ็นต ซึ่งจะทําปฏิกิริยากับสารพลาสติไซส วัสดุอื่นที่ไดจาก
ชานออยในการแยกชานออย เพื่อทําพลาสติก ไดแก สารอนิลินฟนอล และเฟอฟวราล ซึ่งแยกโดย
การไฮโดรไลซเพนโตแซนในชานออย
กรรมวิธีอีกแบบหนึ่ง ไดแก การยอยชานออยดวยกรดซัลฟูริกเจือจางหรือยอย
ดวยน้ําผสมกับอนิลิน สารเฮมิเซลลูโลสจะถูกละลายออกมา ซึ่งจะทําใหสวนประกอบที่เปนลิกนิน

Mahasarakham University
26

มีมากขึ้น หลังจากนั้นก็ใชสารละลายชะลางสิ่งที่ละลายไดออกไป นําไปทําใหแหงและบดเปนผง


นําไปผสมหรือเขาแบบหลอรวมกับสารพลาสติไซส จะไดสารชนิดหนึ่งที่มีประกายแข็งสีดําและ
ไมละลายน้ําและเปนฉนวนไฟฟา สารที่ไดนี้สามารถนําไปผานกรรมวิธีไดสารเรซินที่เรียกวา
“โนโวแลค” (Novolak) ซึ่งเปนสิทธิจดทะเบียนของบริษทั ล็อค พอรดแหงหลุยเซียนา
5. โปรดิวเซอรแกส (Producer Gas)
ไดมีผูคนพบวา ชานออยสามารถผลิตโปรดิวเซอรแกสได ซึ่งเปนสารที่ให
พลังงาน เผาไหมชานออยทีม่ ีความชื้น 30 – 50 เปอรเซ็นต สามารถนํามาผลิตแก็สที่มีคาพลังงาน
ดังตอไปนี้
สวนประกอบเปนเปอรเซ็นต Calorific Value
1. CO2 11.2 666 BTU/lb
2. CO 17.0 1,200 Cal/kg
3. CH4 6.2 120 BTU/cu ft.
4. Hydrogen 5.9
5. Oxygen 0.3
6. Nitrogen 59.4
เมื่อตองการใชจะตองใหอากาศ 1 cu.ft ทําปฏิกิริยากับแกสนี้ปริมาตรเทากัน
อัตราการสิ้นเปลืองชานออยตอหนึ่งแรงมา/ชั่วโมง มีน้ําหนัก 0.9 ถึง 1.8 กิโลกรัม ถาเผาชานออย
ไดความรอนเทากับ 100 เปรียบเทียบกับโปรดิวเซอรแกสน้ําหนักเทากันจะใหความรอนในการผลิต
ไอน้ําเทากับ 1.8 (เครื่องจักรชนิด Non-Condensing) และจะไดความรอน 252 Btu จากเครื่องจักร
ชนิด Condensing Engine
6. การทําไมอัดชนิด Medium Density Fiber Particle Board (MDFB)
โรงงานน้ําตาลสวนมากจะใชชานออยเพื่อเปนเชื้อเพลิงตมหมอน้ํา เพื่อใชไอน้ํา
ในการทําน้ําตาลและปนกระแส ไฟฟาในโรงงาน ทุกปจะมีชานออยเหลืออยูมากมายเปนภาระ
แกโรงงาน ปจจุบันมีโรงงานน้ําตาลในประเทศไทยอยางนอยสองโรงงานที่ใชชานออย เพื่อผลิต
กระดานไมอัดชนิดความหนาแนนปานกลาง (MDFB) การผลิตไมอัดดังกลาวถือเปนความลับ
ของโรงงานซึ่งไมเปดเผยแกสาธารณชน
กรรมวิธีการทําไมอัด เริ่มจากลางทําความสะอาดชานออยใหสะอาดปราศจาก
น้ําตาลโดยการใชน้ํารอนหรือไอน้ํา ในถังลางซึ่งหมุนรอบตัวเอง เมื่อสะอาดแลวชานออยจะถูกสง
เขาเครื่องทําไมอัด โดยการผสมกับ Resin แลวอัดลงในกรอบ แผนไมอัดที่ผานเครื่องออกมาจะ
ยังคงออนตัว และยังชืน้ อยู ดังนั้นแผนไมอัดจะถูกสงเขาสูเครื่องรีดอัด เพื่อรีดน้ําออกและทําใหแหง
ใหมากที่สุดเทาที่จะสามารถทําได หลังจากนั้นก็นํามาตัดและอบใหแหง ไมอัดที่ไดจะไมบิดเบีย้ ว
Mahasarakham University
27

และทาสีได ไมดูดสี ไมอัดที่ไดจะสามารถทําใหทนตอการทําลายของแมลง เชื้อรา หรือทนตอฝน


หรือน้ําคางก็สามารถทําไดโดยการอาบน้ํายา ไมอัดดังกลาวมักจะทําใหมีขนาด 153 x 350 ซม.
มีความหนา 4 ถึง 40 มม. เพื่อใหเหมาะสมแกความตองการของตลาด (ปรีชา สุริยพันธ. ม.ป.ป.
: เว็บไซต)

วัสดุปลูก

วัสดุปลูก หมายถึง วัตถุ (Material) ตาง ๆ ที่เลือกสรรมาเพื่อใชปลูกพืชและทําใหตนพืช


เจริญเติบโตไดเปนปกติ วัสดุดังกลาวอาจเปนชนิดเดียวกันหรือหลายชนิดผสมกัน ชนิดของวัสดุ
ปลูกอาจเปนอินทรียวัตถุกไ็ ด โดยทัว่ ไปวัสดุปลูกจะมีบทบาทตอการเจริญเติบโตและการใหผลผลิต
พืช 4 ประการคือ (อิทธิสุนทร นันทกิจ. ม.ป.ป. : เว็บไซต)
ก. ค้ําจุนสวนของพืชที่อยูเหนือวัสดุปลูกใหตั้งตรงอยูได
ข. เก็บสํารองธาตุอาหารพืช
ค. กักเก็บน้ําเพื่อเปนประโยชนตอพืช
ง. แลกเปลี่ยนอากาศระหวางรากพืชกับบรรยากาศเหนือวัสดุปลูก
การปลูกพืชในวัสดุปลูกหมายถึง การปลูกพืชในลักษณะที่คลายกับการปลูกพืช
ในดิน โดยวัสดุปลูกจะมีหนาที่เปนที่อยูของรากพืช ซึ่งจะอยูรวมกับสารละลายธาตุอาหาร และ
อากาศ ซึ่งวัสดุปลูกตองมีคุณสมบัติที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืช
วัสดุอาจจะเปนวัสดุอนินทรีย (Inorganic Media) เชน ทราย กรวด หินภูเขาไฟ
เปอรไลท (Perlite) เวอรมิควิ ไลท (Vermiculite) และใยหิน (Rock Wool) เปนตน หรือวัสดุ
อินทรีย (Organic Media) เชน ขี้เลื่อย ขุยมะพราว เปลือกไม และแกลบ เปนตน วัสดุปลูกควรมี
อนุภาคสม่ําเสมอ ราคาถูก ปราศจากพิษ และศัตรูพืช และเปนวัสดุที่หางายในทองถิ่นนั้น ในญีป่ ุน
สวนใหญจะใชแกลบเปนวัสดุปลูก แตแกลบจะมีรูพรุนมากจึงไมดูดซับน้ํา ควรเก็บไวระยะหนึ่ง
หรือผสมกับวัสดุอื่นที่กักเก็บน้ําได เชน ขุยมะพราว ความสามารถในการอุมน้ําของวัสดุปลูก เปน
คุณสมบัติอยางหนึ่งที่มีผลตอการเจริญเติบโตของพืช เพราะเกี่ยวของกับสัดสวนของอากาศและน้ําใน
ชองวางที่เหมาะสม
1. ลักษณะของวัสดุปลูก จําแนกไดดังนี้
1.1 วัสดุปลูกที่เปนของแข็ง สามารถจําแนกตามที่มาและแหลงกําเนิดของวัสดุได
ดังตอไปนี้

Mahasarakham University
28

1.1.1 วัสดุปลูกที่เปนอนินทรียสาร
1) วัสดุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน ทราย กอนกรวด หินภูเขาไฟ
หินซีลท ฯลฯ
2) วัสดุที่ผานขบวนการโดยใชความรอน ทําใหวัสดุเหลานี้มีคุณสมบัติ
เปลี่ยนไปจากเดิม เชน ดินเผา เม็ดดินเผา ที่ไดจากการเผาเม็ดดินเหนียวที่อณ ุ หภูมิสูง 1,100 องศา
เซลเซียส ใยหิน ที่ไดจากการหลอมหินภูเขาไฟที่ทําใหเปนเสนใยแลวผสมดวยสารเลซิน เปอรไลท
ที่ไดจากทรายที่มีตนกําเนิดจากภูเขาที่อณุ หภูมิสูง 1,200 องศาเซลเซียส เวอรมิคูไลท (Vermiculite)
ที่ไดจากการเผาแรไมกาที่อณุ หภูมิสูง 800 องศาเซลเซียส เปนตน
3) วัสดุเหลือใชจากโรงงานอุตสาหกรรม เชน เศษจากการทําอิฐมอญ
เศษดินเผาจากโรงงานเครื่องปนดินเผา
1.1.2 วัสดุปลูกที่เปนอินทรียสาร เชน วัสดุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน
ฟางขาว ขุยและเสนใยมะพราว แกลบและขี้เถา เปลือกถั่ว พีท หรือวัสดุเหลือใชจากโรงงาน
อุตสาหกรรม เชน ชานออย กากตะกอนจากโรงงานน้ําตาล วัสดุเหลือใชจากโรงงานกระดาษ
1.1.3 วัสดุสังเคราะห เชน เม็ดโฟม แผนฟองน้ํา และเสนใยพลาสติกลักษณะ
ของวัสดุปลูกที่ดี ภาพรวมในการเลือกใชวัสดุปลูกใหคํานึงถึง คือ ตองสะอาด และทําความสะอาด
งาย มีความแข็งแรง มีคุณสมบัติทางกายภาพที่ดี เชน ไมทรุดตัวงาย ถายเทน้ําและอากาศไดดี มี
คุณสมบัติที่เหมาะสมทางเคมี เชน ระดับของความเปนกรดดาง ไมมสี ารทําลายรากพืช เปนวัสดุที่
สามารถเพาะเมล็ดไดทุกขนาดและทุกประเภท ควรเปนวัสดุที่มีราคาถูกที่สามารถหาไดในทองถิ่น
และไมกอใหเกิดปญหาตอสิง่ แวดลอม
วัสดุปลูกจะตองบรรจุในภาชนะปลูกเพื่อไมใหปะปนกับสารละลาย
ภาชนะปลูกทีด่ ีจะตองทําจากวัสดุที่ไมทําปฏิกิริยาเคมีกบั สารตาง ๆ ตองมีความคงทนแข็งแรง
น้ําหนักเบา ใชไดนานและติดตั้งใชงานงาย ซึ่งปจจุบันจะใชภาชนะทีท่ ําจากพลาสติกเปนสวนมาก
เนื่องจากมีความคงทน น้ําหนักเบา สามารถทําเปนรูปรางตาง ๆ ไดมาก และราคาถูกไมควรใช
ภาชนะโลหะที่เคลือบดวยสังกะสี เพราะอาจมีการละลายของสังกะสี ทําใหสารละลายธาตุอาหารพืช
มีความเขมขนของสังกะสีสูง และอาจเปนพิษตอพืชได ภาชนะปลูกทีท่ ําจากวัสดุประเภทซีเมนต
ใยหิน หรือกรวด เมื่อนําไปใชใสสารละลายจะมีสภาพเปนดาง ทําให pH ของสารละลายสูงขึ้น
จึงควรนําไปแชน้ําใหสะอาด เพื่อเปนการปรับสภาพใหเปนกลางกอนนําไปใชขนาดและรูปรางของ
ภาชนะที่เลือกใชจะขึ้นกับชนิดของวัสดุปลูก ชนิดของพืชที่ปลูกและลักษณะของพืน้ ที่ปลูกหรือ
โรงเรือนปลูกพืช

Mahasarakham University
29

2. คุณสมบัติของวัสดุปลูกที่ดีควรมีลักษณะดังตอไปนี้
2.1 สามารถรักษาอัตราสวนของน้ําและอากาศใหเหมาะสมตลอดการปลูก
โดยอัตราสวนที่เหมาะสม คือ น้ํา : อากาศ เทากัน 50 : 50 โดยปริมาตร
2.2 จะตองไมมีการอัดหรือยุบตัวเมื่อเปยกน้ําหรือเมื่อผานการใชงานมาเปนเวลานาน
2.3 จะตองไมสลายตัวทั้งทางเคมีและทางชีวภาพ
2.4 เปนวัสดุที่รากพืชสามารถแพรกระจายไดอยางสะดวกทัว่ ทุกสวน
2.5 มีความเฉือ่ ยทางเคมี คือ ไมทําปฏิกิริยากับสารละลายธาตุอาหารและภาชนะ
ที่ใชปลูก
2.6 ไมเปนแหลงสะสมโรคและแมลง
2.7 มีความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุ (CEC) ต่ําหรือไมมีเลย เพื่อจะไดไมมี
ผลตอองคประกอบของสารละลายธาตุอาหารพืชในวัสดุปลูก
2.8 เปนวัสดุที่สามารถกําจัดโรคและแมลงไดงาย ทําใหสามารถนําวัสดุปลูกกลับมา
ใชใหมได
อยางไรก็ตามไมมีวัสดุปลูกใดที่มีคุณสมบัติครบทุกขอที่กลาวมา วัสดุปลูกที่นิยม
ใช เชน แกลบสด ขี้เถาแกลบ ขุยมะพราว และทราย การทดสอบวัสดุปลูกตาง ๆ เหลานี้ พบวา
ทั้งวัสดุเดีย่ ว และวัสดุผสมทําใหพืชมีอัตราการเจริญเติบโตใกลเคียงกัน เมื่อลองใชวัสดุตาง ๆ เปน
เวลา 1 ป พบวา วัสดุผสมตาง ๆ ที่ผสมกับทรายมีการหดตัวไมมาก สามารถใชเปนวัสดุปลูกตอไป
ได สวนวัสดุเดี่ยวแกลบสดมีปญหาในชวงแรก ๆ คือ ระบายน้ําดีเกินไปและการแพรกระจายของน้ํา
ดานขางนอย แตเมื่อใชไประยะหนึ่งเกิดการสลายตัวความสามารถในการอุมน้ําก็ดีขนึ้ สําหรับ
มะพราวมีการอุมน้ําดีเกินไป
จากคุณสมบัตเิ หลานี้ยังไมมวี ัสดุปลูกชนิดใดที่มีคุณสมบัติครบดังที่กลาวมานี้ บางคน
อาจใชวิธีนําวัสดุที่มีคุณสมบัติที่ดีแตละอยางมาผสมกันเพื่อใหวัสดุปลูกมีคุณสมบัตทิ ี่ดีขึ้น แตบางคน
ก็นิยมใชวัสดุเดี่ยว ๆ ที่มีความคุนเคย รูจกั และมีความชํานาญในการใชอยูแลว คือ รูถึงคุณสมบัติ
และขอจํากัดในการใชวัสดุนั้น ๆ และสามารถปรับปรุงเทคนิคตาง ๆ ใหเหมาะสมกับวัสดุปลูกนั้น ๆ
ดีอยูแลว
3. สิ่งที่ตองคํานึงถึงในการปลูกพืชในวัสดุปลูก
3.1 ปริมาณออกซิเจนบริเวณรากพืช ซึ่งจะตองคํานึงถึงสิ่งตาง ๆ ดังนี้
3.1.1 การระบายอากาศบริเวณรากพืช คือ ตองเลือกวัสดุปลูกที่มีความพรุนสูง
และมีการระบายน้ําดีหรืออาจตองมีการใหอากาศแกสารละลายดวยในกรณีที่ปลูกในสารละลาย

Mahasarakham University
30

3.1.2 ระบบการระบายน้ําตองดี โดยในขัน้ ตอนการปรับพื้นที่จะตองใหเรียบ


และมีความลาดเอียงที่เหมาะสมและการวางถุงวัสดุปลูกตองใหไดระดับ ซึ่งเปนขั้นตอนที่สําคัญมาก
ในการปลูกพืชในวัสดุปลูก
3.2 การควบคุมปริมาณน้ําใหพอเหมาะในวัสดุปลูก
โดยปกติคณ ุ สมบัติของวัสดุปลูกที่เหมาะสมทางทฤษฎี ควรมีสวนที่เปน
สารละลาย 50% และสวนทีเ่ ปนอากาศ 50% ปริมาตร นอกจากนี้วัสดุปลูกที่ใชควรมีความสามารถ
ในการอุมน้ําต่าํ ดังนั้นการทีจ่ ะรักษาสัดสวนของน้ํา และอากาศดังกลาวจําเปนตองใชวิธีการควบคุม
การใหสารละลายใหถี่ แตใหครั้งละนอย ๆ ดังนั้นระบบควบคุมการใหน้ําโดยอัตโนมัติเปนสิ่งจําเปน
อยางยิ่ง กอนปลูกทําการปรับ pH ของวัสดุปลูกใหอยูในชวง 5.5 - 6 โดยใชสารละลายกรด HNO3
เจือจาง 0.5% แชวัสดุปลูกและเปนการทําใหวัสดุปลูกเปยก แชทิ้งไวประมาณ 24 ชั่วโมง และจึง
ระบายออก ซึง่ จะเปนการชะลางวัสดุปลูกดวย
3.3 ตองมีการควบคุมการใหธาตุอาหารใหเหมาะสมตลอดการปลูก
สูตรและความเขมขนของสารละลายธาตุอาหารพืชจะตองใชใหถูกและเหมาะสม
ตามชนิดของพืช ชวงการเจริญเติบโต (ชวงเจริญทางลําตน ใบ หรือชวงใหผลผลิต) และตาม
สภาพภูมิอากาศ (แสง และอุณหภูม)ิ นอกจากนีว้ ัสดุปลูกบางชนิดมีธาตุอาหารบางตัวอยูแ ลว
เชน โพแทสเซียม (K) ในขุยมะพราว และในขี้เถาแกลบ ดังนั้นในสารละลายตองลดปุยเหลานีล้ ง
3.4 ตองควบคุมสภาพแวดลอมใหเหมาะสม
ปจจัยเกี่ยวกับสภาพแวดลอมตาง ๆ เชน แสง ความชื้นสัมพัทธ อุณหภูมิของ
อากาศ และของวัสดุปลูกตองอยูในชวงเหมาะสมไมสงู หรือต่ําเกินไป แตปจจัยเหลานี้ ควบคุมได
ยาก และตองใชคาใชจายสูง

ธาตุอาหารพืช

ธาตุอาหารพืชเปนปจจัยหนึ่งในการเจริญเติบโตไดดีของพืช ซึ่งสามารถจําแนกธาตุอาหาร
ที่จําเปนที่ไดจากดินเปน 2 พวก คือ (เกษมศรี ซับซอน. 2541 : ไมมีเลขหนา)
1. ธาตุอาหารที่พืชใชในปริมาณที่มาก (Major Elements หรือ Macronutrient)
เปนกลุมของธาตุอาหารที่พืชตองการในปริมาณมากสําหรับการเจริญเติบโตทางดาน
ลําตนการขยายและการยึดของสวนตาง ๆ และใบ (Vegetative) เปนตน และทางดานการขยายพันธุ
(Reproductive) ซึ่งในกลุมนีย้ ังแบงไดอีก 2 พวก คือ

Mahasarakham University
31

1.1 ธาตุอาหารหลัก (Primary Elements)


เปนธาตุอาหารที่พืชตองการอันดับแรก ๆ สําหรับการเจริญเติบโต ซึ่งมี 3 ธาตุ
ดวยกัน คือ ธาตุไนโตรเจน ธาตุฟอสฟอรัส และธาตุโพแทสเซียม รายละเอียดดังตอไปนี้
1.1.1ไนโตรเจน
ไนโตรเจน ในดินนัน้ เกิดจากการตรึงกาซไนโตรเจนจากอากาศโดยมี
แบคทีเรียที่อาศัยอยูที่ปมรากของถั่วไดจากกาซไนโตรเจนจากอากาศโดยพวกจุลินทรียที่อยูอยาง
อิสระในดิน การใสปุยอินทรียลงดินเทากับเพิ่มไนโตรเจนใหแกดิน
หนาที่สําคัญของธาตุไนโตรเจนที่มีตอพืช
1) ทําใหพืชตัง้ ตัวไดเร็วในระยะแรกของการเจริญเติบโต และ
มีความแข็งแรง
2) สงเสริมการเจริญเติบโตของใบและลําตน ทําใหมีสีเขียวเขม
3) เพิ่มปริมาณโปรตีนใหกบั พืชที่ใชเปนอาหาร เชน ขาว หรือ
หญาเลี้ยงสัตว
4) ควบคุมการออกดอกของพืช
5)ชวยเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้นโดยเฉพาะพืชที่ใหผลและเมล็ด
อาการของพืชเมื่อขาดธาตุไนโตรเจน
1) ทําใหพืชเจริญเติบโตชากวาปกติ
2) มีความตานทานโรคนอยลง ตนอวบน้ํา ลมงาย
3) ทําใหผลผลิตต่ําลง เพราะพืชมุงแตสรางดอก และเมล็ด
1.1.2 ฟอสฟอรัส
เปนธาตุที่ชวยบํารุงเรงการออกดอกของพืช พืชไดธาตุฟอสฟอรัส
จากดินในรูปของสารอินทรีย ปญหาสําคัญของพืชในการดูดซับฟอสฟอรัส คือ สารประกอบ
ฟอสฟอรัสไมละลายน้ํา ฟอสฟอรัสจะรวมตัวเปนสารประกอบอยูใ นดิน โดยทัว่ ไปการใชปุยอินทรีย
เติมลงไปในดินในการปลูกพืชผลก็จะใหปริมาณฟอสฟอรัสมากพอกับความตองการของพืช
ฟอสฟอรัสในรูปปุยเคมีไมใหผลดีตอพืชเทากับการใหฟอสฟอรัสจากมูลไก
หนาที่และความสําคัญของธาตุฟอสฟอรัสที่มีตอตนพืช
1) สงเสริมการเจริญเติบโตของรากฝอย และรากแขนงในระยะแรก
ของการเจริญเติบโต ชวยเรงใหพืชแกเร็ว ชวยในการออกดอก และสรางเมล็ดของพืช
2) เพิ่มความตานทานโรคบางชนิดทําใหผลผลิตของพืชมีคุณภาพดี
3) ทําใหลําตนของพืชจําพวกขาวแข็งแรงไมลมงาย

Mahasarakham University
32

อาการของพืชเมื่อขาดธาตุฟอสฟอรัส
1) พืชจะชะงักการเจริญเติบโตแคระแกร็น พืชบางชนิดอาจมีลําตน
บิดเปนเกลียว เนื้อไมแข็งแรงแตเปราะหักงาย
2) รากจะเจริญเติบโต และแพรกระจายลงในดินชากวาที่ควร
ดอกและผลทีอ่ อกมาจะไมสมบูรณ หรือบางครั้งจะหลุดรวงไป หรืออาจจะมีขนาดเล็ก
3) ใบแกจะเปลี่ยนสี หรือพืชบางชนิด ใบจะเปนสีมว งจะเกิด
ขึ้นกับใบลาง ๆ และตนขึ้นไปหายอด
1.1.3 โพแทสเซียม
ธาตุนี้จะชวยบํารุงผลเมล็ดของพืช ธาตุโพแทสเซียมจะพบวามีมากใน
ดินแตจํานวนที่มีอยูนี้ มักไมเพียงพอตอการที่พืชจะนําไปใชประโยชน แตธาตุโพแทสเซียมที่ละลาย
อยูในดินมีปริมาณต่ํามาก
ในอดีตมีการใชขี้เถาไมเปนปุยเพื่อเพิ่มธาตุโพแทสเซียมใหแกดิน
เถาถานขี้เถานี้จะถูกละลายน้าํ แลวเกลือโพแทสเซียมก็จะตกตะกอนเมื่อน้ําระเหยไป เกลือดังกลาว
จะนําไปใชเปนปุยธาตุโพแทสเซียม
หนาที่และความสําคัญของธาตุโพแทสเซียม ที่มีตอพืช
1) สงเสริมการเจริญเติบโตของรากทําใหรากดูดน้ําไดดขี ึ้น
2) มีความจําเปนตอการสรางเนื้อของผลไมใหมีคุณภาพ
3) ทําใหพืชมีความตานทานตอการเปลี่ยนแปลงของดินฟาอากาศ
มีแสงนอย อากาศหนาว หรือมีฝนตกชุกและตานทานโรคตาง ๆ ไดดี
อาการของพืชเมื่อขาดโพแทสเซียม
1) ขอบใบมีสีเหลือง และสีน้ําตาล จะแหงเหี่ยวไป จะเกิดจากใบ
ลางกอนแลวคอย ๆ ลามขึ้นไปขางบน
2) ทําใหผลผลิตตกต่ํา พวกธัญพืชจะมีแปงนอย แตมนี ้ํามาก
ขาวโพดเมล็ดจะไมเต็มฝก ฝกจะเล็กมีรูปรางผิดปกติ
1.2 ธาตุอาหารรอง (Secondary Elements)
เปนธาตุอาหารที่พืชตองการปริมาณมาก แตอยูในอันดับรองจาก ไนโตรเจน
ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ซึ่งธาตุอาหารพืชเหลานี้ คือ แคลเซียม แมกนีเซียม และกํามะถัน
2. ธาตุอาหารที่พืชตองการในปริมาณนอย (Trace Elements หรือ Micronutrient)
เปนธาตุอาหารที่พืชตองการในปริมาณนอย แตกม็ ีความจําเปนเทียบเทาพวกแรก
เชนเดียวกัน ซึ่งธาตุเหลานี้ คือ เหล็ก สังกะสี แมงกานีส ทองแดง โมลิบดินัม โบรอน และ
คลอรีน
Mahasarakham University
33

พืชที่ใชในการทดสอบ

พืชที่ใชในการทดสอบในครั้งนี้คือ ผักบุงจีน โดยผักบุงที่ปลูกในประเทศไทย มี 2 ประเภท


ผักบุงไทย (Ipomoea Aquatic Var. Aquatica) มีดอกสีมวงออน กานสีเขียวหรือมวงออน ใบสีเขียว
เขม และกานใบสีมวง และผักบุงจีน (Ipomoea Aquatica Var. Reptans) ซึ่งมีใบสีเขียว กานสี
เหลือง หรือขาว กานดอกและดอกสีขาว ผักบุงจีนนิยมนํามาประกอบอาหารกวางขวางกวาผักบุงไทย
จึงนิยมปลูกเปนการคาอยางแพรหลาย ทั้งการปลูกเพื่อบริโภคสดและการผลิตเมล็ดพันธุ ปจจุบัน
ผักบุงจีนไดพฒ ั นาเปนพืชผักสงออกที่มีความสําคัญ โดยสงออกทั้งในรูปผักสด และเมล็ดพันธุ
การสงออกเฉพาะผักบุงจีนเพื่อบริโภคสดไมมีตัวเลขแนนอน เพราะรวมผักบุงจีนในหมวดผักสด
อื่น ๆ ซึ่งไดแก ผักสดชนิดตาง ๆ ตลาดที่สําคัญคือฮองกง มาเลเซีย และสิงคโปร สําหรับเมล็ด
พันธุผักบุงจีนประเทศไทยสามารถสงออกเมล็ดพันธุผักบุงจีนในป 2538 ปริมาณ 540.6 ตัน มูลคา
การสงออก 19.8 ลานบาท แหลงปลูกผักบุงจีนเพื่อบริโภคสด ไดแก กรุงเทพมหานคร นนทบุรี
นครปฐม ปทุมธานี ราชบุรี นครนายก พิษณุโลก พิจิตร นครสวรรค ขอนแกน อุบลราชธานี
นครราชสีมา และสงขลา เปนตน สําหรับ แหลงผลิตเมล็ดพันธุผักบุงจีนเปนการคาที่สําคัญ ไดแก
นครปฐม สุพรรณบุรี และกาญจนบุรี
ผักบุงจีนเปนพืชผักที่นิยมรับประทานกันมาก มีคุณคาทางอาหารสูงประกอบดวยไวตามิน
และแรธาตุที่จาํ เปนตอรางกาย โดยเฉพาะวิตามินเอ ซึ่งเชื่อกันวาชวยบํารุงสายตา มีปริมาณสูงถึง
9,550 หนวยสากล (Iu) ในสวนที่รับประทานไดสด 100 กรัม หรือ 6,750 หนวยสากล (Iu) ใน
สวนที่รับประทานไดเมื่อสุกแลว 100 กรัม นอกจากนีย้ ังมีแคลเซียม ฟอสฟอรัส และวิตามินซี
เปนองคประกอบสําคัญดวย (เฉลิมเกียรติ โภคาวัฒนา และภัสรา ชวประดิษฐ. 2539 : เว็บไซต)
1. ลักษณะทางพฤกษศาสตรของผักบุงจีน
ผักบุงจีน มีชอื่ สามัญที่ใชเรียกแตกตางกันไปในภาษาอังกฤษวา Water Convolvulus
หรือ Kkang-Kong เปนพืชในตระกูล Convolvulaceae มีชื่อวิทยาศาสตรวา Ipomoea aquatica
Forsk. Var. Reptan มีถิ่นกําเนิดอยูในเขตรอน พบไดทั่วไปในอัฟริกา และเอเชียเขตรอนจนถึง
มาเลเซียและออสเตรเลีย
ราก ผักบุงจีนมีรากเปนแบบรากแกว มีรากแขนง แตกออกทางดานขางของรากแกว
และยังสามารถแตกรากฝอยออกมาจากขอของลําตนไดดว ย โดยมักจะเกิดตามขอของลําตนไดดว ย
โดยมักจะเกิดตามขอที่อยูแถว ๆ โคนเถา
ลําตน ผักบุงจีนเปนไมลมลุก ในระยะแรกของการเจริญเติบโตจะมีลาํ ตนตั้งตรง
ระยะตอไปจะเลื้อยทอดยอดไปตามพื้นดินหรือน้ํา ลําตนมีสีเขียว มีขอและปลองขางในกลวง รากจะ

Mahasarakham University
34

เกิดที่ขอทุกขอที่สัมผัสกับพื้นดินหรือน้ํา ที่ขอมักมีตาแตกออกมา ทั้งตาใบและตาดอก โดยตาดอก


จะอยูด านใน สวนตาใบจะอยูดานนอก
ใบ เปนใบเดี่ยว มีขอบใบเรียบ รูปใบคลายหอกโคนใบกวางคอย ๆ เรียวเล็กไป
ตอนปลาย ปลายใบแหลม ที่โคนใบเปนรูปหัวใจขอบใบเรียบหรือเปนคลื่น ใบมีความยาวประมาณ
7 – 15 เซนติเมตร กานใบยาว 3 – 8 เซนติเมตร
ดอกและชอดอก ดอกเปนดอกสมบูรณ มีลักษณะเปนชอ มีดอกตรงกลาง 1 ดอก
และดอกดานขางอีก 2 ดอก โดยดอกกลางจะเจริญกอน แตละดอกประกอบดวยกลีบเลี้ยงสีเขียว
5 อัน กลีบดอกเชื่อมติดกันเปนรูปกรวย ดานนอกมีสีขาว ดานในมีสมี วง ในฤดูวันสั้น (วันละ 10-
12 ชั่วโมง) จะออกดอกมีฝกและเมล็ด ในฤดูวันยาวจะเจริญเติบโตทางลําตนและใบผักบุงจีน มีการ
ผสมเกสรเปนแบบผสมตัวเอง และมีการผสมขามดอกบางเนื่องจากลมและแมลง ดอกผักบุงจีนจะ
เริ่มบานในเวลาเชา ละอองเกสรตัวผูและยอดเกสรตัวเมียพรอมที่จะผสมเวลา 10.00-15.00 น.
ระยะเวลาหลังผสมจนผสมติดประมาณ 3 – 4 วัน และจากผสมติดจนเมล็ดแกประมาณ 40 – 50 วัน
ผล เปนผลเดี่ยวรูปรางคอนขางกลมมีขนาดใหญที่สุดอายุประมาณ 30 วัน หลัง
ดอกบาน มีเสนผาศูนยกลางเฉลี่ย 1.42 เซนติเมตร หลังจากนั้นจะมีขนาดเล็กลง ลักษณะผิวภายนอก
เหี่ยวยน ขรุขระ ไมแตก เมื่อแหงสีของผลเมื่อแกจะมีสนี ้ําตาลหรือน้ําตาลเขม ใน 1 ผล มีเมล็ด 4 –
5 เมล็ด
เมล็ด มีรูปรางเปนสามเหลีย่ มฐานมน มีสีน้ําตาล เปลือกหุมเมล็ดมีสี 3 ระดับ คือ
สีน้ําตาลออน สีน้ําตาลแก และสีน้ําตาลดํา มีขนาดเล็ก ความกวางโดยเฉลี่ย 0.4 เซนติเมตร ยาว
0.5 เซนติเมตร ผักบุงจีนเปนพืชที่มีอัตราการฟกตัวสูง โดยจะฟกตัวในลักษณะของเมล็ดแข็ง (Hard
Seed) หรือที่เรียกวาเมล็ดหิน จากการศึกษาพบวา เมล็ดสีเขมกวาจะมีเปอรเซ็นตเมล็ดแข็งสูงกวา
2. พันธุผักบุงจีน
พันธุผักบุงจีนที่ปลูกในปจจุบัน สวนใหญจะเปนพันธุการคา ทั้งที่ผลิตเมล็ดพันธุ
ในประเทศไทยและนําเขามาจากตางประเทศ เชน ไตหวัน ซึ่งมีการตั้งชื่อพันธุตามบริษัทตาง ๆ กันไป
เมล็ดพันธุผักบุงจีนในประเทศที่ไดรับการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุจากกรมวิชาการเกษตรศูนยวิจัย
พืชสวนพิจิตร คือ พันธุพิจติ ร 1 ซึ่งมีลักษณะดีเดน คือ ผลผลิตโดยเฉลี่ย 3,415 กิโลกรัมตอไร
มีใบแคบเรียวยาว ตรงกับความตองการของตลาดและมีลักษณะใบชูตงั้ ลําตนสีเขียวออน ไมมกี าร
ทอดยอดกอนการเก็บเกีย่ ว ไมมีการแตกแขนงที่โคนตน ลักษณะลําตนสม่ําเสมอกัน ทําใหการ
ทอดยอดกอนการเก็บเกีย่ วไมมีการแตกแขนงที่โคนตน ลักษณะลําตนสม่ําเสมอกัน ทําใหสะดวก
และประหยัดแรงงานในการตัดแตงใบและแขนงที่โคนตนกอนนําสงตลาด

Mahasarakham University
35

3. ลักษณะการเจริญเติบโต
ผักบุงจีนใชเวลาในการงอกเพียง 48 ชั่วโมง ระยะแรกของการเจริญเติบโตจะให
ลําตนตั้งตรง หลังจากงอกได 5 – 7 วัน จะมีใบเลีย้ งโผลออกมา 2 ใบ มีลักษณะปลายใบเปนแฉก
ไมเหมือนกับใบจริงเมื่อตนโตในระยะสองสัปดาหแรก จะมีการเจริญเติบโตทางลําตนอยางรวดเร็ว
จนกระทั่งอายุประมาณ 30 – 45 วัน การเจริญเติบโตจะเปลี่ยนไปในทางทอดยอดและแตกกอ
สําหรับผักบุงจีนที่หวานดวยเมล็ด การแตกกอจะมีนอยมาก การแตกกอเปนการแตกหนอออกมาจาก
ตาที่อยูบริเวณโคนตนที่ติดกับราก มีตาอยูร อบตน 3 – 5 ตา เมื่อแตกแถวออกมาแลวจะเจริญ
ทอดยอดยาวออกไปเปนลําตน มีปลองขอและทุกขอจะใหดอกและใบ
4. สภาพแวดลอมที่ตองการ
ผักบุงจีนสามารถปลูกไดทั้งบนบกและในน้ํา และสามารถปลูกไดในดินแทบ
ทุกชนิด ดินทีเ่ หมาะสมในการปลูกผักบุงจีนเพื่อการบริโภคสดเปนดินรวน หรือดินรวนปนทราย
ผักบุงจีนตองการสภาพแวดลอมที่ชื้นแฉะตองการความชื้นในดินสูงมาก อุณหภูมิทเี่ หมาะสมใน
การเจริญเติบโตอยูในชวงทีส่ ูงกวา 25 องศาเซลเซียส ตองการแสงแดดเต็มที่ ซึ่งประเทศไทย
สามารถปลูกไดดีตลอดไป
5. การปลูกผักบุงจีน
การปลูกผักบุงจีนมีขั้นตอนดังตอไปนี้
5.1 การเลือกที่ปลูก การปลูกผักบุงจีนเพือ่ การบริโภคสดเปนการปลูกผักบุงจีน
แบบหวาน หรือโรยเมล็ดลงบนแปลงปลูกโดยตรง เมือ่ ถึงอายุเก็บเกีย่ ว 20 – 25 วัน จะถอนตน
ผักบุงจีน ทั้งตนและรากออกจากแปลงปลูกไปบริโภคหรือไปจําหนายตอไป ในการปลูกนั้นควร
เลือกปลูกในทีม่ ีการคมนาคมขนสงสะดวก สภาพที่ดอน น้ําไมทวม หรือเปนแบบสวนผักแบบ
ยกรอง เชน เขตภาษีเจริญ บางแค กรุงเทพฯ บางบัวทอง นนทบุรี นครปฐม และราชบุรี เปนตน
ลักษณะดินปลูกควรเปนดินรวนหรือดินรวนปนทราย เพือ่ ถอนตนผักบุงจีนไดงาย และควรอยูใกล
แหลงน้ํา เพื่อสะดวกในการรดน้ําในชวงการปลูก และทําความสะอาดตนและรากผักบุงจีนในชวง
การเก็บเกีย่ ว
5.2 การเตรียมดิน ผักบุงจีนเปนพืชผักทีม่ ีระบบรากตืน้ ในการเตรียมดินควรไถ
ดะตากดินไวประมาณ 15 – 30 วัน แลวดําเนินการไถพรวนและขึ้นแปลงปลูกขนาดแปลงกวาง
1.5 – 2 เมตร ยาว 10 – 15 เมตร เวนทางเดินระหวางแปลง 40 – 50 เซนติเมตร เพือ่ สะดวกในการ
ปฏิบัติดูแลรักษา ใสปุยคอก (มูลสุกร เปด ไก วัว ควาย) หรือปุยหมักที่สลายตัวดีแลวคลุกเคลาลง
ไปในดินพรวนยอยผิวหนาดินใหละเอียดพอสมควรปรับหลังแปลงใหเรียบเสมอกัน อยาใหเปนหลุม
เปนบอ เมล็ดพันธุผักบุงจีนจะขึ้นไมสม่ําเสมอทั้งแปลง ถาดินปลูกเปนกรดควรใสปูนขาวเพื่อปรับ
ระดับ พีเอช ของดินใหสูงขึ้น
Mahasarakham University
36

5.3 วิธีการปลูก กอนปลูกนําเมล็ดพันธุผักบุงจีนไปแชนา้ํ นาน 6 – 12 ชั่วโมง


เพื่อใหเมล็ดพันธุผักบุงจีนดูดซับน้ําเขาไปในเมล็ด มีผลใหเมล็ดผักบุงจีนงอกเร็วขึ้น และสม่ําเสมอ
กันดี เมล็ดผักบุงจีนที่ลอยน้าํ จะเปนเมล็ดพันธุผักบุงจีนที่ไมสมบูรณ ไมควรนํามาเพาะปลูก ถึงแม
จะขึ้นไดบาง แตจะไมสมบูรณแข็งแรงอาจจะเปนแหลงทําใหเกิดโรคระบาดไดงาย นําเมล็ดพันธุ
ผักบุงจีนที่ดีไมลอยน้ํามาปลูกในกระถางใหเมล็ดหางกันเล็กนอย ตอจากนั้นนําดินรวนหรือขี้เถา
แกลบดําหวานกลบเมล็ดพันธุผักบุงจีนหนาประมาณ 2 – 3 เทา ของความหนาของเมล็ดหรือ
ประมาณ 0.5 เซนติเมตร แตถาแหลงที่ปลูกนั้นมีเศษฟางขาว จะใชฟางขาวคลุมแปลงปลูกบาง ๆ
เพื่อชวยเก็บรักษาความชืน้ ในดิน หรือทําใหหนาดินปลูกผักบุงจีนไมแนนเกินไป รดน้ําดวยบัวรดน้ํา
หรือใชสายยางติดฝกบัวรดน้ําใหความชืน้ แปลงปลูกผักบุงจีนทุกวัน ๆ ละ 1 – 2 ครั้ง ประมาณ
2 – 3 วัน เมล็ดพันธุผักบุงจีน จะงอกเปนตนผักบุงจีนตอไปวิธีการปลูก กอนปลูกนําเมล็ดพันธุ
ผักบุงจีนไปแชน้ํานาน 6 – 12 ชั่วโมง เพือ่ ใหเมล็ดพันธุผักบุงจีนดูดซับน้ําเขาไปในเมล็ด มีผลให
เมล็ดผักบุงจีนงอกเร็วขึ้น และสม่ําเสมอกันดี เมล็ดผักบุง จีนที่ลอยน้ําจะเปนเมล็ดพันธุผักบุงจีนที่ไม
สมบูรณ ไมควรนํามาเพาะปลูก ถึงแมจะขึ้นไดบาง แตจะไมสมบูรณแข็งแรงอาจจะเปนแหลงทําให
เกิดโรคระบาดไดงาย นําเมล็ดพันธุผักบุงจีนที่ดีไมลอยน้ํามาปลูกในกระถางใหเมล็ดหางกันเล็กนอย
ตอจากนั้นนําดินรวนหรือขี้เถาแกลบดําหวานกลบเมล็ดพันธุผักบุงจีนหนาประมาณ 2 – 3 เทา
ของความหนาของเมล็ดหรือประมาณ 0.5 เซนติเมตร แตถาแหลงที่ปลูกนั้นมีเศษฟางขาว จะใชฟาง
ขาวคลุมแปลงปลูกบาง ๆ เพื่อชวยเก็บรักษาความชื้นในดิน หรือทําใหหนาดินปลูกผักบุงจีนไมแนน
เกินไป รดน้ําดวยบัวรดน้ําหรือใชสายยางติดฝกบัวรดน้ําใหความชืน้ แปลงปลูกผักบุงจีนทุกวัน ๆ
ละ 1 – 2 ครั้ง ประมาณ 2 – 3 วัน เมล็ดพันธุผักบุงจีน จะงอกเปนตนผักบุงจีนตอไป
6. การดูแลรักษาผักบุงจีน
6.1 การใหน้ํา ผักบุงจีนเปนพืชที่ชอบดินปลูกที่ชุมชื้น แตไมแฉะจนมีน้ําขัง ฉะนั้น
ควรรดน้ําผักบุง จีนอยูเสมอทุกวัน ๆ ละ 1 – 2 ครั้ง ยกเวนชวงที่ฝนตกไมตองรดน้ํา อยาใหกระถาง
ปลูกผักบุงจีนขาดน้ําไดดี จะทําใหผกั บุงจีนชะงักการเจริญเติบโต คุณภาพไมดี ตนแข็งกระดาง
เหนียว ไมนารับประทาน และเก็บเกี่ยวไดชากวาปกติ
6.2 การใสปุย ผักบุงจีนเปนพืชผักที่บริโภคใบและตนมีอายุการเก็บเกีย่ วสั้น ถาดิน
ปลูกมีความอุดมสมบูรณ หรือมีการใสปุยคอก เชน มูลสุกร มูลเปด ไก เปนตน ซึ่งปุยคอก
ดังกลาวเปนปุย ที่มีไนโตรเจนสูง โดยหวานปุยกระจายทัว่ ทั้งแปลงกอนปลูกและหลังปลูกผักบุงจีน
ไดประมาณ 7 – 10 วัน ซึ่งการใหปยุ ครั้งที่ 2 หลังจากหวานผักบุงลงแปลงแลว จะตองมีการรดน้าํ
แปลงปลูกผักบุงจีนทันที อยาใหปยุ เกาะอยูที่ซอกใบจะทําใหผักบุงจีนใบไหม ในการใสปุยเคมี
ครั้งที่ 2 นั้น จะใชวิธีการละลายน้ํารด 3 – 5 วัน ครั้งก็ได โดยใชอัตราสวนปุยยูเรีย 10 กรัมตอน้ํา
20 ลิตร จะเปนการชวยใหผักบุงจีนเจริญเติบโต และเก็บเกี่ยวไดรวดเร็วขึ้น
Mahasarakham University
37

6.3 การพรวนดินและกําจัดวัชพืช ถามีการเตรียมดินดีมีการใสปุยคอกกอนปลูกและ


การหวานผักบุง ขึ้นสม่ําเสมอกันดี ไมจําเปนตองพรวนดินเวนแตในแหลงปลูกผักบุงจีนดังกลาว
มีวัชพืชขึ้นมาก ควรมีการถอนวัชพืชออกจากแปลงปลูกอยูเสมอ 7 – 10 วันตอครั้ง ในแหลงที่ปลูก
ผักบุงจีนเพื่อการบริโภคสดเปนการคาปริมาณมาก ควรมีการพนสารคลุมวัชพืชกอนปลูก 2 – 3 วัน
ตอจากนั้นจึงคอยหวานผักบุง จีนปลูก จะประหยัดแรงงานในการกําจัดวัชพืชในแปลงปลูกผักบุงจีน
ไดดีมากวิธีการหนึ่ง
6.4 การเก็บเกีย่ ว หลังจากหวานเมล็ดพันธุผักบุงจีนลงแปลงปลูกได 20 – 25 วัน
ผักบุงจีนจะเจริญเติบโต มีความสูงประมาณ 30 – 35 เซนติเมตร ใหถอนตนผักบุงจีนออกจากแปลง
ปลูกทั้งตนและราก ควรรดน้ํากอนถอนตนผักบุงจีนขึ้นมาจะถอนผักบุงจีนไดสะดวก รากไมขาดมาก
หลังจากนัน้ ลางรากใหสะอาด เด็ดใบและแขนงที่โคนตนออก นํามาผึ่งไว ไมควรไวกลางแดด
ผักบุงจีนจะเหีย่ วเฉาไดงาย จัดเรียงตนผักบุงจีนเปนมัด เตรียมบรรจุภาชนะเพื่อจัดสงตลาดตอไป
(เฉลิมเกียรติ โภคาวัฒนา และภัสรา ชวประดิษฐ. 2539 : เว็บไซต)

งานวิจัยที่เกี่ยวของ

1. งานวิจยั ในประเทศ
ฐิณัฐตา วัดคํา และปวีณา ดานสกุล (2540 : บทคัดยอ) ไดศึกษาคุณสมบัติกากตะกอน
จากโรงงานบําบัดน้ําเสียชุมชน เพื่อใชในการปรับปรุงดิน โดยใชกากตะกอนโรงงานบําบัดน้ําเสีย
ชุมชน สี่พระยาและดินชนิดตาง ๆ ที่มีลักษณะตางกัน 5 ชุด ไดแก ชุดดินน้ําพอง ชุดดินเพชรบุรี
ชุดดินโพนงาม ชุดดินรังสิต และชุดดินลํานารายณ โดยผสมกากตะกอน 5 อัตราสวน คือ 1 : 1
กากตะกอน 100 กรัม ตอน้าํ หนักรวม 200 กรัม 2 : 3 กากน้ําตาล 80 กรัม ตอน้ําหนักรวม 200
กรัม 1 : 3 กากตะกอน 50 กรัม ตอน้ําหนักรวม 200 กรัม 3 : 3 กากตะกอน 40 กรัม ตอน้ําหนัก
รวม 200 กรัมและอัตราสวน 9 : 1 กากตะกอน 20 กรัม ตอน้ําหนักรวม 200 กรัม (ทําการ
วิเคราะหในสัปดาหที่ 1 และ 12) หลังการผสม พบวา กากตะกอนทําใหดนิ เปนกลางมากขึ้น และ
ชวยเพิ่มอินทรียวัตถุ ธาตุไนโตรเจน ธาตุฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และคาความจุการแลกเปลี่ยน
ไอออนในดิน และมีขอเสนอแนะวาอัตราสวนสูงสุดที่สามารถยอมรับไดจากการทดลองเติมกาก
ตะกอนลงไปในดิน สําหรับการทดลองครั้งนี้ พบวา ไมควรเกิน 40 กรัม ตอน้ําหนักรวม 200
กรัม ซึ่งถาเติมกากตะกอนมากเกินไปอาจทําใหเกิดความเปนพิษตอดินและพืชที่ปลูกได
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วท.) (2542 : 8-15) ไดวิจัย
และพัฒนาเกีย่ วกับการนําวัสดุเหลือทิ้งจากโรงงาน อุตสาหกรรม มาผลิตเปนแทงเพาะชํา ปุยอินทรีย
และดินปลูกแทงเพาะชํา พัฒนามาจากตะกอนในโรงงานอุตสาหกรรม เยื่อและกระดาษ นํามาผสม
Mahasarakham University
38

กับวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรตาง ๆ เชน ขุยมะพราว แกลบสด แกลบเผา ฟางขาว มาผสมใน


อัตราสวนที่เหมาะสม แลวนํามาขึ้นรูปโดยใชเครื่องอัดเปนแทงตามขนาดที่ตองการ แทงเพาะชํานี้
ชวยใหระบบรากของตนกลาไมขดมวน มีน้ําหนักเบา สะดวกตอการเคลื่อนยาย เมือ่ นํามาลงปลูก
ในดิน ระบบรากจะไมกระทบกระเทือน พืชจะเติบโตไดดี ปุยอินทรียไดจากการนํากากตะกอนจาก
โรงงานอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษมาผสมกับแกลบเผา แกลบสดหรือแกลบหมักในอัตราสวน
5 : 1 : 1 ตามลําดับ ปุยที่ไดจะชวยบํารุงพืชและรักษาความสมบูรณของดิน ชวยใหดินเหนียวไมแนน
ทึบ ดินปลูกเตรียมไดจากการนําปุยอินทรีย 3 สวนตอดิน 1 สวน มาคลุกเคลาผสมกัน ก็จะไดดนิ
สําหรับปลูกพืชที่มีมาตรฐานในตัวเอง คือ อุดมดวยธาตุอาหารที่จําเปนสําหรับ การเจริญเติบโตของ
พืช
ชาคริต มัลละพุทธิรินทร (2544 : บทคัดยอ) ไดศกึ ษาการปรับปรุงดินเค็ม โดยการใช
น้ําชะลางเกลือออกจากดิน ที่พบในพืน้ ทีข่ องมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน
เปนการศึกษาเบื้องตนในการนําไปประยุกตหรือปรับปรุงปฏิบัติงานจริงในพื้นที่ทเี่ กิดปญหาดินเค็ม
การศึกษานีเ้ ปนการใหปริมาณความลึกของน้ําตาง ๆ กัน และแบบวิธีการใชน้ําที่ตางวิธีกันและ
เปรียบเทียบวา แตละชั้นดินมีการชะลางความเค็มออกจากดินตัวอยางแตกตางกันโดยแบงวิธีการ
ใหน้ําเปน 3 แบบ คือ 1. แบบทวมขังตลอดเวลา 2. แบบทวมขังเวนชวงเวลา 7 วันครั้ง 3. แบบ
ใหน้ํานอยกวาอัตราการซึมของน้ําผานดิน โดยปริมาณน้าํ ที่ใชชะลางดิน 8 คา คือ 25, 50, 75,
100, 125, 150, 175 และ 200 เซนติเมตร ตามลําดับ โดยทําการชะลางผานแทงดินตัวอยางลึก
1.00 ม. ทําการวัดหาคา ECe, pH, Na+, Mg++, Ca++, HCO-3, Cl-, SO- -4 และ SAR ที่อยูในดิน
ที่ระดับความลึกดิน 0 – 20, 20 – 40, 40 – 60, 60 - 80 และ 80 – 100 เซนติเมตร ตามลําดับ
โดยพิจารณาทีค่ า ECe เปนหลัก นอกจากนี้ผลการศึกษาการใชปริมาณน้ําชะลางเทา ๆ กันของ
แตละวิธีการใหน้ําพบวา วิธกี ารใหน้ํานอยกวาอัตราซึมของน้ําผานดิน สามารถชะลางดินไดดีกวา
วิธีการใหน้ําแบบทวมขังเวนชวงเวลา และวิธีการใหน้ําแบบทวมขังตลอดเวลา
ผลการศึกษาหาความสัมพันธระหวางปริมาณความลึกของน้ําที่ใชชะลาง และ
ปริมาณเกลือทีถ่ ูกชะลางออกไป ตามความลึกของชั้นดิน พบวา ความสัมพันธกันและยอมรับในทาง
สถิติ คือ เมื่อใหปริมาณน้ํามากก็สามารถชะลางเกลือ ที่สะสมอยูในแตละชั้นดินออกมาไดมาก โดย
ปริมาณเกลือทีถ่ ูกชะลางออกไปจากชั้นดินดานบนจะถูกชะลางออกไปไดมากกวาชั้นดินดางลาง
ศรจิตร ศรีณรงค และคณะ (2545 : บทยัดยอ) ไดศึกษาการปรับปรุงดินเค็ม
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพือ่ การผลิตขาวหอม พบวา ขาวหอมขาวดอกมะลิ 105 ใหผลผลิตสูงสุด
เมื่อใชปุยแรธาตุสูตร 16 – 16 – 8 อัตรา 30 กก./ไร รองลงมาไดแก พันธ กข. 15 คลองหลวง 1
สุพรรณบุรี และปทุมธานี โดยใหผลผลิต 476, 470, 426, และ 386 กก./ไร ตามลําดับ การใชวัสดุ
ปรับปรุงดินที่ไดจากโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มผลผลิตขาวหอมจากคาเฉลี่ยขาวทุกพันธ เทากับ 23%
Mahasarakham University
39

หรือ 325 กก./ไร และ 19% หรือ 313 กก./ไร เมื่อมีการใสขี้เปดหรือกากตะกอนหมอกรอง


โรงงานน้ําตาล (Filter Cake) และของเสียจากโรงฟอกหนัง ตามลําดับ
พัชรินทร บํารุงตา และอวยพร ศรีดวงโชติ (2546 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการใชดนิ
ตะกอนจากระบบบําบัดน้ําเสียโรงงานแปงมันรวมกับวัสดุธรรมชาติ คือ เปลือกถั่วและขุยมะพราว
เพื่อเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดินโดยนําดินจากพื้นที่ทที่ ําการเพาะปลูกยูคาลิปตัสมาผสมใน
อัตราสวนที่แตกตางกัน คือ ดินควบคุม, ดินผสมตะกอน, ดินผสมตะกอนผสมเปลือกถั่วอัตราสวน
4:2:1 ดินผสมดินตะกอนผสมขุยมะพราวอัตราสวน 4:2:1 ดินผสมดินตะกอนผสมเปลือกถั่ว
อัตราสวน 4:2:2 และดินผสมดินตะกอนผสมขุยมะพราวอัตราสวน 4:2:2 โดยปริมาณซึ่งทําการศึกษา
คุณสมบัติทางกายภาพ ปริมาณอินทรียวัตถุในดินและธาตุอาหารหลักของพืช โดยใชแผนการทดลอง
แบบ Completely Randomized Design (CRD) ใน 6 ตํารับทดลอง และแตละตํารับทดลองนั้น
ทําการศึกษา 3 ซ้ํา
ผลการศึกษา พบวา ดินที่ผสมตะกอนผสมวัสดุธรรมชาติในอัตราสวนที่เพิ่มขึ้นจะ
มีปริมาณอินทรียวัตถุเพิ่มดวยเชนกัน รวมทั้งธาตุอาหารหลักก็จะมีปริมาณเพิ่มขึ้น และเมื่อนําผักกาด
เขียวกวางตุงมาเพาะปลูกในแตละตํารับทดลอง พบวา ปริมาณอินทรียวัตถุลดลงอยางมีนัยสําคัญ คือ
เมื่อทําการเก็บตัวอยางดินกอนการเพาะปลูก หลังการเพาะปลูก 15 วัน และหลังเก็บมาวิเคราะห
ปริมาณอินทรียวัตถุจะลดลงจากรอยละ 0.71, 2.64, 2.87, 3.56, 2.98, 3.73 เปน 0.64, 2.49, 2.61,
3.28, 2.74, 3.49 และ 0.58, 2.21, 2.32, 2.32, 2.83, 2.56, 2.96% ตามลําดับ
ธีระวุฒิ สนิทบุญ และสมทรง จันทรเรือง (2545 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการปรับปรุง
คุณภาพดินเค็ม โดยใชกากมันสําปะหลังในอัตราสวนที่เหมาะสมเปนการนําเอาดินเค็มกับกากมัน
สําปะหลังมาผสมกันในอัตราสวน 1 : 1 2 : 1 3 : 2 และ 5 : 2 จากนัน้ นําเอาดินที่ไดรับการผสมแลว
ในทุกอัตราสวนมาเปรียบเทียบกัน โดยศึกษาจากลักษณะเนื้อดิน อุณหภูมิ ความชื้นของดิน การนํา
ไฟฟา และพีเอช เมื่อสิ้นสุดการศึกษาพบวา ในการผสมดินเค็มกับกากมันสําปะหลังทุกอัตราสวนมี
คาของลักษณะเนื้อดิน อุณหภูมิ และความชื้นของดินเหมาะสําหรับการเจริญเติบโตของพืชทุกชนิด
แตในสวนของคาการนําไฟฟา และพีเอช พบวา ในอัตราสวน 5 : 2 มีคาอยูในเกณฑมาตรฐานที่
แตกตางจากอัตราสวนอื่น (เหมาะแกการเพาะปลูกพืชทีแ่ ตกตางกัน ซึ่งกอนปลูกอาจจะใสปุยคอก
แกลบ ปุยพืชสดลงไปบางกอนการเพาะปลูก) จึงสรุปไดวา การนํากากมันสําปะหลังมาปรับปรุง
คุณภาพดินเค็ม ในอัตราสวน 1 : 1 2 : 1 และ 3 : 2 มีความเหมาะสมที่จะสามารถปรับปรุงคุณภาพ
ดินเค็มใหเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชได
อนุภาพ อีซา (2547 : บทคัดยอ) การศึกษาอิทธิพลของปุยชีวภาพตอการเจริญเติบโต
ของผักบุงจีน โดยใชเวลาในการทดลอง 60 วัน นับจากวันที่ที่ปลูกถึงวันเก็บเกีย่ วผลผลิต พบวา
การทดลองในชวงแรก ความสูงและน้ําหนักสดเฉลี่ยของผักบุงจีนที่ใสปุยมูลมา ปุยปลา และไมใส
Mahasarakham University
40

ปุยใดเลย ไมมีความแตกตางกัน อาจจะเปนเพราะวาธาตุอาหารหลัก (N, P, K) มีปริมาณธาตุ


อาหารที่แตกตางกันเล็กนอย และเมื่อนําปุย ทั้งสองชนิดนีม้ าทดลองในการทดลองที่ 2 รวมกับ
ปุยยูเรีย พบวา การใหปยุ ยูเรีย+มูลมาใหผลความสูงตนและน้ําหนักสดเฉลี่ยดีที่สุด คือ จะมีสวนสูง
ตน 23.90 เซนติเมตร และน้ําหนักสดเฉลี่ย 9.191 กรัม รองลงมา คือ ปุยยูเรีย, ปุยยูเรีย+ปุยปลา
และไมใสปยุ ใดเลย ตามลําดับ ซึ่งอาจเปนเพราะวาในปุย ยูเรีย (46-0-0) มีธาตุอาหาร N ในปริมาณสูง
และปุยมูลมามีปริมาณธาตุ P สูงกวาในปุยปลา สงผลใหผักบุงจีนทีใ่ สปุยยูเรีย+ปุย มูลมามีการ
เจริญเติบโตที่ดีกวา
จากผลการศึกษา พบวา การใชปุยยูเรียรวมกับปุยมูลมาจะมีผลตอการเจริญเติมโต
ของผักบุงจีนดีที่สุด ดังนั้นจึงนาจะสามารถใชรวมกับปุยยูเรียได โดยอาจจะมีการปรับลดอัตรา
การใสปุยยูเรียลง เพื่อเปนการลดการใชปุยเคมี
ปยดา แดงนอย และรัฐกร รัตนมณีรัศมี (2548 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการนําดิน
ตะกอนทีเ่ กิดจากระบบการผลิตน้ําประปามาใชใหเกิดประโยชนในทางดานการเกษตรโดยนํามาผสม
กับปุยคอกในอัตราสวนตาง ๆ เพื่อการปลูกผักกาดหอมในกระถางในเรือนทดลอง เปนเวลา 42 วัน
ทําการศึกษา 4 ชุดการทดลอง ทําการทดลอง 3 ซ้ําในอัตราสวน ดินตะกอน : ปุยคอก ดังนี้
ชุดการทดลองที่ 1 (1:0), ชุดการทดลองที่ 2 (1:1), ชุดการทดลองที่ 3 (2:1) และชุดการทดลอง
ที่ 4 (3:1) ในการทดลองครั้งนี้ทําการศึกษาธาตุอาหารที่จําเปนตอพืชในดินตะกอนจากระบบการผลิต
น้ําประปาและปุยคอกทุกอัตราสวน โดยการศึกษาคุณสมบัติทางเคมีของดิน ไดแก คาความเปนกรด
– ดาง คาการนําไฟฟา ปริมาณสารอินทรีย ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K)
จากการศึกษาพบวา ชุดการทดลองที่ 2 ซึ่งมีอัตราสวนของดินตะกอนน้ําประปาตอ
ปุยคอก (1:1) มีธาตุอาหารหลักที่จําเปนตอพืช (N, P, K) สูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับชุดการทดลอง
อื่น ๆ และชุดการทดลองควบคุม ชุดการทดลองที่ 3 (2 : 1) มีปริมาณธาตุอาหารหลักรองลงมาตามดวย
ชุดการทดลองที่ 4 (3 : 1) และชุดการทดลองที่ 1 (1 : 0) คาความเปนกรด – ดาง (pH) และ
คาการนําไฟฟา (EC) เหมาะตอการเจริญเติบโตของผักกาดหอมไดนอ ยที่สุดในชุดการทดลองที่ 1
(1 : 0) แมวาดินตะกอนจากระบบการผลิตน้ําประปากับปุยคอกในชุดการทดลองที่ 2 (1 : 1)
มีปริมาณธาตุอาหารสูงสุด แตในชุดการทดลองที่ 3 (2 : 1) ผักกาดหอมเจริญเติบโตไดดีที่สุด
ซึ่งอาจเนื่องมาจากการมีปริมาณธาตุอาหารที่พอเหมาะ และจากการศึกษาสรุปไดวา สามารถนําดิน
ตะกอนทีเ่ กิดจากระบบการผลิตน้ําประปามาทดแทนดินและสามารถนําปุยคอกมาปรับปรุงเพื่อเปน
การเพิ่มธาตุอาหารในการปลูกผักกาดหอมไดดี
2. งานวิจยั ตางประเทศ
Dolgen และคณะ (2004 : 117-125) ไดศึกษาการใชประโยชนของกากตะกอนจาก
โรงบําบัดน้ําเสียที่เกิดจากโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑทางการเกษตร โดยนํากากตะกอนจากโรงบําบัด
Mahasarakham University
41

น้ําเสียมาทดสอบปลูกผักกาดหอมในกระถางทดลองที่มีปริมาณกากตะกอน ในอัตราสวนตาง ๆ กัน


(0 - 100%) โดยใสรวมกับปุยหมัก ทําการประเมินผลกระทบของกากตะกอนตอการเจริญเติบโตของ
ผักกาดหอม โดยการนับจํานวนตน ใบ และชั่งน้ําหนักของรากและสวนที่เปนสีเขียวทําการวิเคราะห
เชิงสถิติ ดูคาความแตกตางของเฉลี่ย โดยวิธี Least Significant Difference (LSD) จากการใชกาก
ตะกอนในปริมาณตาง ๆ ผลการศึกษาแสดงใหเห็นวา ปริมาณกากตะกอนที่เดิมในกระถางทดสอบ
ที่มีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตของผักกาดหอมในปริมาณของกากตะกอนระดับหนึง่ และยังพบวา
กากตะกอน 25-50% ทําใหพืชเจริญเติบโตต่ําที่สุด เนื่องจากขาดไนโตรเจนในกากตะกอนดิบ
การใชกากตะกอนในอัตราสูงจะมีสวนเพิม่ ปริมาณฟอสฟอรัสทําใหทดแทนปริมาณของไนโตรเจน
ทําใหพืชมีการเจริญเติบโตสูงสุด โดยเฉพาะเมื่อมีการใชกากตะกอน 75% (มีคาเทากันปริมาณกาก
ตะกอน 496 ตัน/เฮกเตอร ในแปลง) การวัดปริมาณโลหะหนักในสวนของใบและรากของผักกาดหอม
ไมมีสวนในการเพิ่มปริมาณนิกเกิล ตะกัว่ แคดเมียม และแมงกานีสในเนื้อเยื่อพืช ผลจากการ
ทดลองในกระถางทดสอบแสดงใหเห็นวากากตะกอนที่ไดจากโรงบําบัดน้ําเสีย (โรงงานที่แปรรูปผัก)
สามารถนํามาใชทดแทนปุยเคมีไดบางสวน และสามารถใชเปนตัวบํารุงหรือปรับสภาพดินได
Maggio และคณะ (2004 : 149-159) ไดศึกษาการตอบสนองทางดานสรีระวิทยา
ของ มะเขือเทศตอการชลประทานน้าํ เค็มในดินเค็มระยะยาว โดยในแปลงการทดลองแหงนี้
มีการใหน้ําชลประทานดวยน้ําเค็มเปนระยะเวลามากกวา 10 ป ไดมกี ารประเมินผลกระทบของ
การชลประทานน้ําเค็มตอความสัมพันธตาง ๆ ของน้ําและผลผลิตของมะเขือเทศแปรรูปไดมีการ
เปรียบเทียบระดับความเขมขนของ NaCl 3 ระดับ (43, 86 และ 171 mM) และชุดควบคุมที่ไมเค็ม
ศักยภาพสุทธิ, Osmotic และความดันลดลง ณ การเพิม่ ขึ้นของความเขมขนในทั้งใบและราก
การปรับขบวนการ Osmosis (การซึมผานเยื่อบางโดยของเหลว) ของใบตลอดทั้งฤดูกาลเติบโตเปน
สัดสวนกับความเค็มของน้ําชลประทาน ซึ่งการปรับขบวนการ Osmosis ในเวลากลางวันมี
ความรุนแรงมากกวาพืชที่ไมมีความเค็ม เมือ่ เทียบกับพืชที่มีความเค็มปานกลาง (43 และ 86 mM)
เปนการชี้วา อยางหลังไดแสดงถึงการปรับสภาพความหนาแนนของพื้นที่ใบที่มีการยับยั้งความเค็ม
โดยความเค็มและราก ซึ่งทัง้ 2 นี้เปนไปไดวามีความสัมพันธกับการปรับโครงสรางหนาที่ทาง
สิ่งแวดลอมตอความเค็ม และไมมีผลกระทบตอผลผลิตทางการคาที่มีนัยสําคัญ (สูงถึง 86 mM
NaCl) ตรงกันขามคุณภาพของมะเขือเทศมีการปรับปรุงในแงของของแข็งที่ละลายน้ําไดสุทธิ แมวา
ผลไมมะเขือเทศที่มีความเค็มนั้นเล็กกวาผลไมชุดควบคุมไมเค็ม แตมนั มีความเปนกรดที่สูงกวามี
ของเหลวที่ละลายน้ําไดเพิ่มมากขึ้น และมีองคประกอบของน้ําตาลที่สูงกวา ซึ่งทั้งหมดคือคุณภาพที่
ตองการอยางสูงโดยอุตสาหกรรมแปรรูปมะเขือเทศ โดยรวมแลวผลผลิตที่เหนี่ยวนําของพืชที่มี
ความเค็มระดับปานกลาง (86 mM NaCl) ของคุณภาพที่เพิ่มขึ้นของผลไมมะเขือเทศ

Mahasarakham University
42

Ravindran และคณะ (2007 : 2661-2664) ไดศึกษาการฟนฟูพื้นทีด่ นิ เค็มโดยการใช


พืชที่เติบโตไดในที่ดินที่มีความเขมของธาตุสูงตาง ๆ สําหรับดินของอินเดีย โดยปกติแลวดินเค็มจะมี
การพลิกฟนโดยการบําบัด/บรรเทาทางดานเคมีหรือทางดานกลไก เนือ่ งจากตนทุนในการปรับปรุง
ดินที่มีความเค็มในประเทศอินเดียนั้นคอนขางสูง ดังนั้นจึงศึกษาพืชทีส่ ามารถเจริญเติบโตไดใน
พื้นดินเค็มที่มคี วามเขมขนสูง และความสามารถของพืชในการเปนตัวสะสมของเกลือ จากการศึกษา
พบวาในหมูสปชี่ 6 สปชี่ที่ทําการศึกษาอยูพบวา สปชี่ Suaeda maritima และ Sesuvium
portulacastrum ไดแสดงถึงการสะสมของเกลือตาง ๆ ที่มากกวาสปชี่อนื่ ๆ ในเนื้อเยือ่ ของมันและ
ในขณะเดียวกันมีการลดลงในเกลือในดินที่สูง

Mahasarakham University

You might also like