Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 14

รายงาน

เรื่อง Point Load testing

เสนอ
อาจารย์หทัยชนก วัฒนศักดิ ์

จัดทำโดย
นายกิตติวิทย์ บิลยะลา
6510110040
นางสาวอภิสรา ส่งแสง
6510110521
นาสาวอัชฌาวดี หนูขำ 
6510110535
นายฮัดรี เต๊ะมะหมัด
6510110588
นางสาวมุสลีฮะห์ ยามา
6510110675

สาขาวิศวกรรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์

รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา Engineering
Geology &
Constructions (236-103)
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2565
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คำนำ

รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา Engineering Geology &


Constructions (236-219) เพื่อรายงานผลและสรุปการทดลองการทดสอบ
“การทดสอบแบบจุดกด (Point load Testing)” ซึง่ รายงานฉบับนีม
้ ีขน
ั้
ตอนก่อน ระหว่าง และหลังการทดลอง ทำให้เราทราบค่าดัชนีจุดกดและ
ค่าแรงกดของหินนัน
้ เป็ นอย่างไร มีอะไรเป็ นปั จจัยบ้าง ความหนาและค่า
ความกว้างมีผลอย่างไรต่อการกดของหินที่นำมาทดสอบ ทางกลุ่มเราจัดทำ
รายงานฉบับนีเ้ นื่องจากเป็ นส่วนหนึ่งในภาคปฏิบัติของรายวิชานี ้
ในการจัดทำรายงานฉบับนี ้ ผู้จัดทำคาดหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าการจัดทำ
รายงานชิน
้ นีจ
้ ะมีข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อเพื่อน ครูบาอาจารย์ และผู้ที่กำลัง
ศึกษาหรือสนใจในเรื่องนี ้

คณะผู้จัดทำ
สารบัญ

เรื่อง หน้า

คำนำ ก
สารบัญ ข
บทนำ 1
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
การเตรียมตัวอย่าง
มาตรฐานอ้างอิง
อุปกรณ์ 2
วิธีทดสอบ

ตารางผลการทดสอบ 3
สรุปผลการทดสอบ 4
อ้างอิง 5
ภาคนวก 6
บทนำ

วัตถุประสงค์

เพื่อหาดัชนีจุดกด (Point load strength index, I) เพื่อนำไปเปรียบ


เทียบและอ้างอิงถึงค่าความเค้นกดสูงสุดของหิน

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

 หินที่ใช้ในการทดสอบจะมีรูปร่างได้หลายลักษณะ คือ เป็ นรูปร่างเชิง


เรขาคณิตที่เป็ นรูปแบบ regular shape หรือไม่มีรูปร่างเป็ นรูปแบบ

irregular shape ค่าดัชนีจุดกดสามารถคำนวณได้จากสูตร

โดย P คือแรงกดสูงสุดที่ทำให้หินแตก
De คือ เส้นผ่าศูนย์กลางเทียบเท่า ( D x W )

 การเตรียมตัวอย่างหิน
ตัวอย่างหินที่นำมาศึกษาในการทดสอบประกอบไปด้วยหินหลายชนิด
ได้แก่ หินตะกอน หินแกรนิต หินบะซอลต์ เป็ นต้น โดยทำการหาเส้น
ผ่านศูนย์กลาง ความหนาและหาค่าดัชนีจุดกดของหินทัง้ สิน
้ แสดงใน
ตารางผลการทดสอบ ใช้ตัวอย่างหินแต่ละชนิดจำนวนทัง้ สิน
้ 5
ตัวอย่าง

 ASTM D5731
ได้เสนอว่าค่าความค้นกดสูงสุดของหิน (σ c) สามารถประเมินได้จากค่า
เฉลี่ย ซึ่งสามารถคำนวณได้จากสมการดังต่อไปนี ้ σ c= 24ls

อุปกรณ์และวิธีการทดสอบ
อุปกรณ์
1.ตัวอย่างหินคนละ 1 ก้อน
2.Datalogger
3.Point load tester

วิธีการทดสอบ
1. นำตัวอย่างหินติดตัง้ ให้อยู่ที่จุดกึ่งกลางของแนวแกน พร้อมติดตัง้ ให้เริ่ม
อ่านที่ 0
2. ให้แรงกดในแนวแกนด้วยอัตราเร็วคงที่ โดยให้หินเกิดการวิบัติหรือแตก
ภายใน 10-60 วินาที (ASTM)
3. อ่านและบันทึกค่าแรงกดที่ทำให้หินแตก
4. บันทึกภาพตัวอย่างหินหลังจากการแตก

ตารางบันทึกผลการทดสอบจุดกดในห้องปฏิบัติการ
Test Result
Date of Testing :
R(x)m Temp

D 2e σ c(Pa)
Samp Diamet Width Point load Point load Rock
le er, , strength, strength type
No. D W P(kN) index, I s
(mm) (mm) (MPa)
1 51 96.45 4,918.95 0.1 2.033 ×10 476.34
−5

2
2 30.2 89.15 2,692.33 1.780 6.611×10 หินตะกอ 12,560.
−4

Compressive Strength ( น 9
3 40.54 90.29
σ =24 I 3,660.36 12.17 3.3×10 หินอัคนี 66,891
−3

c s )
4 46.5 85.5 15,806,58 0 0 0
8
−5
5 39.63 83.5 3,309.105 8.48 2.56 ×10 หินอัคนี 40,960
Average
สรุปผลการทดสอบ
สรุปการทดสอบ
จากการทดสอบสรุปได้ว่าหินอัคนีรับแรงกดได้มากที่สุดคือ 12.17 kN
ค่าดัชนีแรงกดเท่ากับ 3.3×10 MPa และหิน....ที่รับแรงกดได้น้อยที่สุดคือ
−3

0 kN จึงทำให้ค่าดัชนีแรงกดเท่ากับ 0 MPa อีกด้วย


อ้างอิง
FLOXLAB. (2556). PLT-100 POINT LOAD TESTER . สืบค้นเมื่อ 13
กุมภาพันธ์ 2566, จาก http://www.floxlab.com/
ภาคผนวก

เครื่อง Point load tester วัดความ


หนาและความกว้าง

การวัดความกว้าง
ของหิน
ขณะนำหินเข้าเครื่องทดสอบหิน

ขณะตัง้ หิน ขณะนำหินออกจาก


เครื่อง

การแตกของหินหลังทดสอบ

You might also like