ปกจีโอ

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 14

รายงาน

เรื่อง Point Load testing

เสนอ
อาจารย์หทัยชนก วัฒนศักดิ ์

จัดทำโดย
นายกิตติวิทย์ บิลยะลา
6510110040
นางสาวอภิสรา ส่งแสง
6510110521
นาสาวอัชฌาวดี หนูขำ 
6510110535
นายฮัดรี เต๊ะมะหมัด
6510110588
นางสาวมุสลีฮะห์ ยามา
6510110675

สาขาวิศวกรรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์

รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา Engineering
Geology &
Constructions (236-103)
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2565
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คำนำ

รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา Engineering Geology &


Constructions (236-219) เพื่อรายงานผลและสรุปการทดลองการทดสอบ
“การทดสอบแบบจุดกด (Point load Testing)” ซึง่ รายงานฉบับนีม
้ ีขน
ั้
ตอนก่อน ระหว่าง และหลังการทดลอง ทำให้เราทราบค่าดัชนีจุดกดและ
ค่าแรงกดของหินนัน
้ เป็ นอย่างไร มีอะไรเป็ นปั จจัยบ้าง ความหนาและค่า
ความกว้างมีผลอย่างไรต่อการกดของหินที่นำมาทดสอบ ทางกลุ่มเราจัดทำ
รายงานฉบับนีเ้ นื่องจากเป็ นส่วนหนึ่งในภาคปฏิบัติของรายวิชานี ้
ในการจัดทำรายงานฉบับนี ้ ผู้จัดทำคาดหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าการจัดทำ
รายงานชิน
้ นีจ
้ ะมีข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อเพื่อน ครูบาอาจารย์ และผู้ที่กำลัง
ศึกษาหรือสนใจในเรื่องนี ้

คณะผู้จัดทำ
สารบัญ

เรื่อง หน้า

คำนำ ก
สารบัญ ข
บทนำ 1
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
การเตรียมตัวอย่าง
มาตรฐานอ้างอิง
อุปกรณ์ 2
วิธีทดสอบ

ตารางผลการทดสอบ 3
สรุปผลการทดสอบ 4
อ้างอิง 5
ภาคนวก 6
บทนำ

วัตถุประสงค์

เพื่อหาดัชนีจุดกด (Point load strength index, I) เพื่อนำไปเปรียบ


เทียบและอ้างอิงถึงค่าความเค้นกดสูงสุดของหิน

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

 หินที่ใช้ในการทดสอบจะมีรูปร่างได้หลายลักษณะ คือ เป็ นรูปร่างเชิง


เรขาคณิตที่เป็ นรูปแบบ regular shape หรือไม่มีรูปร่างเป็ นรูปแบบ

irregular shape ค่าดัชนีจุดกดสามารถคำนวณได้จากสูตร

โดย P คือแรงกดสูงสุดที่ทำให้หินแตก
De คือ เส้นผ่าศูนย์กลางเทียบเท่า ( D x W )

 การเตรียมตัวอย่างหิน
ตัวอย่างหินที่นำมาศึกษาในการทดสอบประกอบไปด้วยหินหลายชนิด
ได้แก่ หินตะกอน หินแกรนิต หินบะซอลต์ เป็ นต้น โดยทำการหาเส้น
ผ่านศูนย์กลาง ความหนาและหาค่าดัชนีจุดกดของหินทัง้ สิน
้ แสดงใน
ตารางผลการทดสอบ ใช้ตัวอย่างหินแต่ละชนิดจำนวนทัง้ สิน
้ 5
ตัวอย่าง

 ASTM D5731
ได้เสนอว่าค่าความค้นกดสูงสุดของหิน (σ c) สามารถประเมินได้จากค่า
เฉลี่ย ซึ่งสามารถคำนวณได้จากสมการดังต่อไปนี ้ σ c= 24ls

อุปกรณ์และวิธีการทดสอบ
อุปกรณ์
1.ตัวอย่างหินคนละ 1 ก้อน
2.Datalogger
3.Point load tester

วิธีการทดสอบ
1. นำตัวอย่างหินติดตัง้ ให้อยู่ที่จุดกึ่งกลางของแนวแกน พร้อมติดตัง้ ให้เริ่ม
อ่านที่ 0
2. ให้แรงกดในแนวแกนด้วยอัตราเร็วคงที่ โดยให้หินเกิดการวิบัติหรือแตก
ภายใน 10-60 วินาที (ASTM)
3. อ่านและบันทึกค่าแรงกดที่ทำให้หินแตก
4. บันทึกภาพตัวอย่างหินหลังจากการแตก

ตารางบันทึกผลการทดสอบจุดกดในห้องปฏิบัติการ
Test Result
Date of Testing :
R(x)m Temp

D 2e σ c(Pa)
Samp Diamet Width Point load Point load Rock
le er, , strength, strength type
No. D W P(kN) index, I s
(mm) (mm) (MPa)
1 51 96.45 4,918.95 0.1 2.033 ×10 476.34
−5

2
2 30.2 89.15 2,692.33 1.780 6.611×10 หินตะกอ 12,560.
−4

Compressive Strength ( น 9
3 40.54 90.29
σ =24 I 3,660.36 12.17 3.3×10 หินอัคนี 66,891
−3

c s )
4 46.5 85.5 15,806,58 0 0 0
8
−5
5 39.63 83.5 3,309.105 8.48 2.56 ×10 หินอัคนี 40,960
Average
สรุปผลการทดสอบ
สรุปการทดสอบ
จากการทดสอบสรุปได้ว่าหินอัคนีรับแรงกดได้มากที่สุดคือ 12.17 kN
ค่าดัชนีแรงกดเท่ากับ 3.3×10 MPa และหิน....ที่รับแรงกดได้น้อยที่สุดคือ
−3

0 kN จึงทำให้ค่าดัชนีแรงกดเท่ากับ 0 MPa อีกด้วย


อ้างอิง
FLOXLAB. (2556). PLT-100 POINT LOAD TESTER . สืบค้นเมื่อ 13
กุมภาพันธ์ 2566, จาก http://www.floxlab.com/
ภาคผนวก

เครื่อง Point load tester วัดความ


หนาและความกว้าง

การวัดความกว้าง
ของหิน
ขณะนำหินเข้าเครื่องทดสอบหิน

ขณะตัง้ หิน ขณะนำหินออกจาก


เครื่อง

การแตกของหินหลังทดสอบ

You might also like