Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 29

โหวตเพื่อใคร : พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย

โหวตเพื่อใคร :

พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย*
Vote for Whom: Voting Behavior of Thailand’s House of Representatives
อรรถสิทธิ์ พานแก้ว**

บทคัด ย่อ
บทความนี้ เป็ น การศึ ก ษาพฤติ ก รรมการลงคะแนนเสี ย งของสมาชิ ก สภา

ผู้แทนราษฎรไทย โดยมุ่งตอบคำถามว่าการทำหน้าที่ “ผู้แทนราษฎร” ของ ส.ส.

ในส่วนของการทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติในสภาผู้แทนราษฎรด้วยการลงคะแนนเสียง
(โหวต) ในการพิจารณากฎหมายและเรื่องพิจารณาต่างๆ นั้น เป็นการ “โหวตเพื่อ
ใคร” โดยการศึกษาได้กำหนดขอบเขตของการวิจัยในส่วนของข้อมูลการลงมติของ
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และกรอบเวลาการวิเคราะห์ ตั้งแต่สมัยของสมาชิกสภา

ผู้แทนราษฎรชุดที่ 20 (ปี พ.ศ. 2541 สมัยรัฐบาลนายชวน หลีกภัย) จนถึงสิ้นสมัย


ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 24 (ปี พ.ศ. 2556 สมัยรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์
ชินวัตร) โดยการศึกษาได้ตั้งกรอบการวิเคราะห์แบบแผนการศึกษาไว้ 3 แบบแผน คือ
หนึ่ ง โหวตตามพรรค สอง โหวตตามฝ่ า ย และ สาม โหวตข้ า มพรรค และพบว่ า

หนึ่ง จากผลของค่าสถิติการโหวตตามพรรค (Party Loyalty Score) ของ ส.ส. เป็น


รายบุคคลในแต่ละสมัยของสภาผู้แทนราษฎร ที่มีค่าอยู่ในระดับที่สูงกว่าร้อยละ 90
เป็นหลักฐานที่ยืนยันว่า การลงมติของ ส.ส. ส่วนใหญ่ลงมติเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
กับมติและเสียงส่วนใหญ่ของพรรค หรือที่เรียกว่าโหวตตามพรรค สอง ในกรณีของ
การโหวตตามฝ่าย พบว่า กรณีของสภาผู้แทนราษฎรไทยก็เป็นไปตามทฤษฎีและ

แนวประเพณีการทำงานของพรรคการเมืองที่ว่า การลงมติของพรรคการเมืองที่แบ่ง
เป็นฝ่ายพรรคร่วมรัฐบาลและฝ่ายพรรคที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาลนั้นจะเป็นการ “โหวต
ตามฝ่าย” ที่อธิบายได้ว่าทิศทางการลงมติของทั้งจากฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายที่ไม่ได้

* บทความนี้มาจากงานวิจัยเรื่อง “โหวตเพื่อใคร : พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงของสมาชิก


สภาผู้แทนราษฎรไทย” สนับสนุนการวิจัยโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ดร.)

22 มกราคม - เมษายน 2561


เข้าร่ วมรัฐบาลจะมีทิศทางการลงมติที่แตกต่างกันเป็นส่วนใหญ่ และ สาม พฤติกรรมการโหวตข้ามพรรค


นั้นจะเกิดขึ้นกับพรรคขนาดเล็กมากกว่าพรรคขนาดกลาง โดยจะเป็นการโหวตข้ามไปหาพรรคการเมือง
ขนาดใหญ่ในฝ่ายรัฐบาล
คำสำคั ญ: พฤติกรรมการลงมติของ ส.ส., แบบแผนการลงมติ, พฤติกรรมการลงมติของ ส.ส. ไทย,
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย

Abstract

This article aims to study the voting behaviors of members of Thailand’s House of
Representatives, focusing on the question, “for whom” do these people vote during the
legislative process and when considering other issues. The research employs mixed
research methods; empirical data is analyzed and then the results are integrated with
data collected through in-depth interviews. The scope of this research is limited to the
information about voting by the members of the House of Representatives under study
during the twentieth House of Representatives (1998 under the Chuan Leekpai
government) to the dissolution of the twenty-fourth (2013 under the Yingluck
Shinawatra government). From three main theorized patterns (party-line voting,
coalition–line voting, and cross party–line voting), it was found that (1) the statistical
value of the party loyalty score of individual members of the House of Representatives
in different periods is higher than 90%, showing that most of the members of the House
of Representatives vote in line with their parties’ resolutions and majority opinions;

(2) Thai political parties are straight coalition-line voters (government-opposition-line


voting); and (3) cross party-line voting behaviors are noticeable with the smaller parties,
specifically that they will vote in the same line as a big party on the government side.
Keywords: Legislative Behavior, Legislative Voting, Thai Legislative Behavior, Thai
Members of Parliament

บทนำ “ผู้ แ ทนราษฎร” ของ ส.ส. ในส่ ว นของการทำหน้ า ที่

บทความนี้ น ำเสนอผลสรุ ป จากงานวิ จั ย ที่ ศึ ก ษา ฝ่ายนิติบัญญัติในสภาผู้แทนราษฎรด้วยการลงคะแนน


พฤติ ก รรมการลงคะแนนเสี ย งของสมาชิ ก สภาผู้ แ ทน เสียง (โหวต) ในการพิจารณากฎหมายและเรื่องพิจารณา
ราษฎรไทย (ส.ส.) โดยมุ่งตอบคำถามว่าการทำหน้าที่
ต่ า งๆ นั้ น เป็ น การ “โหวตเพื่ อ ใคร” เนื่ อ งจากในการ

มกราคม - เมษายน 2561 23


โหวตเพื่อใคร : พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย

ปกครองแบบประชาธิปไตย ที่ประชาชนพลเมืองทุกคน ตอบคำถามของการวิจัยจะแตกต่างจากการศึกษาอื่นๆ


ย่ อ มมี สิ ท ธิ มี เ สี ย งในการปกครองและบริ ห ารประเทศ
ในประเภทงานวิ จั ย เดี ย วกั น (ในต่ า งประเทศ) นั่ น คื อ

ผ่าน “ส.ส.” ของพวกเขาผ่านการเลือกตั้ง เมื่อ ส.ส. ของ ในขณะที่งานศึกษาแบบแผนพฤติกรรมของผู้แทนราษฎร


เขาได้รับการเลือกตั้งเข้าไปทำหน้าที่ในสภาแล้ว การลง (Legislative Behavior) ส่ ว นใหญ่ จ ะมุ่ ง ศึ ก ษาถึ ง
คะแนนสียงในการพิจารณาเรื่องต่างๆ ที่ถือว่าเป็นการทำ พฤติ ก รรมการลงคะแนนเสี ย ง (Roll Call) ของ ส.ส.
หน้ า ที่ ฝ่ า ยนิ ติ บั ญ ญั ติ นั้ น เป็ น พฤติ ก รรมที่ ป ระชาชน แต่ ล ะคน เพื่ อ ตอบคำถามเช่ น ความเป็ น อั น หนึ่ ง

สามารถตั้ งคำถามเพื่ อให้ได้คำตอบที่ แสดงถึง


อั น เดี ย วกั น ของพรรคการเมื อ ง (Party Cohesion)
ค ว า ม รั บ ผิ ด รั บ ช อ บ ต่ อ พ ฤ ติ ก ร ร ม นั้ น ๆ ว่ า เ ป็ น
ความเป็ น ระเบี ย บวิ นั ย ของพรรคการเมื อ ง (Party
การแสดงออกในการทำหน้าที่ “ผูแ้ ทนราษฎร” หรือไม่ ? D i s c i p l i n e ) รู ป แ บ บ ข อ ง ค ว า ม เ ป็ น ตั ว แ ท น
(Representation) ของ ส.ส. จากพฤติ ก รรมการ

อย่างไรก็ดี สำหรับการศึกษาเชิงวิชาการในประเด็น
ลงคะแนนเสียง (Legislative Voting) หรือแม้กระทั่ง
พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงหรือ “การโหวตของ ส.ส.”
ความเข้ ม แข็ ง และการถดถอยของความเป็ น พรรค
ในสภานั้ น ยั ง คงจำกั ด อยู่ ภ ายใต้ ก รอบการศึ ก ษา

การเมือง (จากพฤติกรรมการลงมติของ ส.ส. แต่ละคนใน


ที่วิเคราะห์พฤติกรรมการออกเสียงในเชิงมหภาคหรือ
สภาฯ)
ภาพรวมของรัฐสภา โดยเน้นไปยังบทบาทในการออก
กฎหมายประเภทต่ า งๆ โดยไม่ ไ ด้ เ น้ น การวิ เ คราะห์ และด้ ว ยความแตกต่ า งในลั ก ษณะของ “สถาบั น
พฤติ ก รรมการออกเสี ย งลงมติ ร ายบุ ค คล หรื อ เน้ น
ทางการเมือง (Political Institutional Features)”
การศึ ก ษาที่ ดู ค วามสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งฝ่ า ยนิ ติ บั ญ ญั ติ กั บ

ของประเทศไทยกับประเทศอื่นๆ ผู้วิจัยจึงได้วางกรอบ
ฝ่ายบริหารในการทำหน้าที่ในรัฐสภา หรือการทำหน้าที่ การวิเคราะห์ที่นอกจากจะศึกษาพฤติกรรมการลงมติ
ฝ่ า ยนิ ติ บั ญ ญั ติ ที่ ไ ม่ ไ ด้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ด้ ว ยเหตุ ผ ลของ
ของส.ส. แบบส่ ว นบุ ค คลเพื่ อ เป็ น ฐานความรู้ แ ละ

กระบวนการทำงานและปัจจัยด้านองค์กรของรัฐสภา
การวิเคราะห์ แต่จะขยายการศึกษาพฤติกรรมการลงมติ
ดังนั้น ความจำเป็นในการศึกษาที่เน้นเฉพาะพฤติกรรม ของ ส.ส. ไปยั ง การศึ ก ษาพฤติ ก รรมการลงมติ แ บบ

ของ ส.ส. เป็ น รายบุ ค คลจึ ง เป็ น เรื่ อ งที่ จ ำเป็ น เพื่ อ“อิ ง ฝ่ า ย” (Parts) นั่ น คื อ จะศึ ก ษาพฤติ ก รรมการ

เป็นการทำความเข้าใจถึงวิธีการที่ ส.ส. ของประเทศไทย ลงคะแนนลงมติ ในเรื่องต่างๆ ในสภาฯ ตาม “ฉลาก”


ได้ทำหน้าที่เป็นผู้แทนราษฎรของคนไทย (Label) ของการทำหน้าที่ในสภาที่ ส.ส.แต่ละคนมีอยู่
ซึ่งก็คือ ฉลากของการเป็น “ฝ่ายรัฐบาล” หรือ “ฝ่ายที่
แต่ ใ นการศึ ก ษาวิ จั ย นี้ ก รอบการวิ เ คราะห์ เ พื่ อ

ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล1”

ในบทความเล่มนี้ พรรคการเมืองที่ไม่ได้ถูกรวมเข้าไปในขั้วของพรรคฝ่ายรัฐบาลจะถูกเรียกว่า “ฝ่ายพรรคที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล”

ไม่ใช้คำว่า “ฝ่ายค้าน” ด้วยเหตุผลของการใช้คำที่อาจจะทำให้ฐานคิดวิเคราะห์ถูกจำกัดด้วย “คำ” ที่ใช้ โดยเฉพาะการโหวตตาม


ฝ่ายและการโหวตข้ามพรรค ที่หากใช้คำว่า “ฝ่ายค้าน” อาจทำให้เกิดความเข้าใจว่า การกระทำของพรรคทุกพรรคที่อยู่ในซีกของ
พรรคฝ่ายค้านนั้น เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกมา “เป็นหนึ่งเดียวกัน” ซึ่งจะเป็นการตั้งฐานการวิเคราะห์ที่เขวและหลงทางได้
ทั้ ง นี้ การแบ่ ง พรรคการเมื อ งออกเป็ น ฝ่ า ยรั ฐ บาลนั้ น จะแบ่ ง จากพรรคที่ มี ลั ก ษณะและพฤติ ก รรม ดั ง นี้ คื อ (1) พรรคที่ ไ ด้ รั บ

การจัดสรรตำแหน่งรัฐมนตรีในคณะรัฐมนตรี (2) พรรคที่ร่วมลงมติเลือกหัวหน้าพรรคหรือตัวแทนของพรรคแกนนำหรือพรรคใด


พรรคหนึ่งให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี ซึ่งพรรคอาจจะไม่ได้รับการจัดสรรตำแหน่งเพราะอาจมี ส.ส. ในสังกัดพรรคจำนวนน้อยจึงไม่
อยู่ในฐานะที่ต่อรองตำแหน่งรัฐมนตรีได้ ที่สำคัญพรรคการเมืองในประเภทที่ 2 นี้ หลังจากการลงมติรับรองผู้ดำรงตำแหน่งนายกฯ
แล้ว พฤติกรรมในสภาก็อาจจะไม่เป็นไปในแนวทางของฝ่ายรัฐบาล แต่ก็จะถือว่าพรรคประเภทนี้เป็นพรรคร่วมฝ่ายรัฐบาล
ดังนั้น พรรคที่ไม่เข้าคุณลักษณะทั้ง 2 ข้อนี้ก็จะไม่ถือว่าเป็นพรรคร่วมฝ่ายรัฐบาล แต่ในที่นี้จะไม่เรียกว่าเป็นพรรคฝ่ายค้าน แต่จะ
เรียกว่าฝ่ายพรรคที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล

24 มกราคม - เมษายน 2561


เพราะการตั้ ง กรอบการวิ เ คราะห์ ดั ง ที่ ก ล่ า วมาใน
1. เพื่ อ ค้ น หาแบบแผนการลงมติ ข อง ส.ส. ไทย

ย่ อ หน้ า ที่ ผ่ า นมา ฐานที่ ม าของการวิ จั ย นี้ จึ ง เป็ น การ


ตามแบบของ “ปัจเจกบุคคล” และ การ “อิงฝ่าย”
ตั้ ง ฐานเพื่ อ การศึ ก ษาที่ ว่ า พฤติ ก รรมการลงมติ นั้ น

2. เพื่ อ หาข้ อ เสนอแนะในการออกแบบ “ระบบ

จะศึ ก ษาแบบเป็ น “ส่ ว นของฝ่ า ยเท่ า ๆ กั บ การศึ ก ษา

การทำงานภายในของพรรคการเมือง” และ “บทบัญญัติ


ส่วนบุคคล นั่นคือ จะศึกษาว่าการลงคะแนนเสียงในเรื่อง
ในรัฐธรรมนูญว่าด้วยสมาชิกผู้แทนราษฎร โดยเฉพาะ
พิจารณาต่างๆ ของฝ่ายรัฐบาลกับฝ่ายไม่ได้ร่วมรัฐบาล
การมี อิ ส ระในการออกเสี ย งลงมติ ” ให้ ส อดคล้ อ งกั บ
นั้นจะเป็นไปตาม “ฝ่าย” ที่สังกัด นั่นคือ ผู้แทนราษฎรที่
บริบททางสังคมและการเมืองของไทย
พรรคการเมืองของตนเองเป็นฝ่ายรัฐบาล ก็จะลงคะแนน
เสี ย งไปในทางเดี ย วกั บ พรรคร่ ว มรั ฐ บาลอื่ น ๆ โดยที่ แนวทางและวรรณกรรมการศึกษา
โอกาสการลงคะแนนเสี ย งไปในทางเดี ย วกั บ พรรค

ร่ ว มฝ่ า ยที่ ไ ม่ ไ ด้ ร่ ว มรั ฐ บาลนั้ น อาจจะไม่ มี เ ลย และ ภาพรวมของการศึกษาถึงปัจจัยหรือสาเหตุของการมี


พฤติกรรมของพรรคร่วมฝ่ายที่ไม่ได้ร่วมรัฐบาลในการ
พฤติกรรมการลงมติของ ส.ส. ในการลงมติเรื่องต่างๆ นั้น
ลงมติ ก็ เช่ น กั น อย่ า งไรก็ ดี การวิ เ คราะห์ ก็ ไ ม่ ไ ด้ ล ะทิ้ ง
สามารถแบ่ ง ได้ อ อกเป็ น 2 แนวทางด้ ว ยกั น คื อ หนึ่ ง

ความเป็ น ไปได้ ที่ แ บบแผนการลงมติ ที่ อ าจจะพบ


แนวอธิบายพฤติกรรมที่มาจากปัจจัยภายในตัว ส.ส. เช่น
เมื่อทำการศึกษาที่ได้จากข้อมูลเชิงประจักษ์จะนำไปสู่ จุ ด ยื น นโยบาย (Spatial Voting) หรื อ จุ ด ยื น ทาง

การค้นพบแบบแผนพฤติกรรมในรูปแบบอื่นๆ ก็เป็นได้ การเมือง (Political Ideology) และ สอง แนวอธิบาย


พฤติกรรมที่มาจากปัจจัยภายนอกตัว ส.ส. เช่น กลไก
ดังนั้น ความคาดหวังของการศึกษาวิจัยนี้จึงมี 2 ส่วน ‘ด้านสถาบัน’ (Institutional Mechanism) ที่ว่าด้วย
ด้วยกันคือ ส่วนที่หนึ่ง เพื่อการวิเคราะห์ว่าการทำหน้าที่ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในพรรคการเมือง (Party
“ความเป็นตัวแทน” ของ ส.ส. ไทยนัน้ ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานใด Cohesion) และ ความเป็ น ระเบี ย บวิ นั ย ในพรรค
ไม่ ว่ า จะเป็ น “ความต้ อ งการของประชาชนในเขต
การเมือง (Party Discipline) อย่างไรก็ดี แม้สองแนวทาง
เลือกตั้ง” “พรรคการเมือง” และ/หรือ ฝ่ายในรัฐสภา
เป็นแนวทางการศึกษาที่ถูกอย่างเป็นที่แพร่หลาย แต่
ที่สังกัดหรือไม่ การนำมาใช้ก็ต้องใช้ความระมัดระวังในการประยุกต์ใช้
และส่วนที่สอง ผลของการศึกษาวิจัยนี้ไม่เพียงแต่จะ กับการศึกษากับกรณีศึกษาที่แนวการอธิบายทั้งสองไม่ได้
เป็ น การเพิ่ ม ผลการศึ ก ษาในประเด็ น “สถาบั น ทาง
ถูกใช้เป็นฐานในการได้มาซึ่งคำอธิบาย นั่นคือ สำหรับ
การเมือง” ในสาขาวิชารัฐศาสตร์ โดยเฉพาะการศึกษา ประเทศไทยแล้ ว การศึ ก ษาในประเด็ น พฤติ ก รรม

สถาบั น หลั ก เช่ น รั ฐ สภาให้ ม ากขึ้ น แต่ ค ำตอบของ


การลงมติ นี้ ไ ม่ อ าจจะประยุ ก ต์ ใช้ แ นวทางทั้ ง สอง โดย

งานวิจัยนี้สามารถเป็นการตอบคำถามใหญ่ของการจัด ปราศจากการนำปัจจัยเฉพาะของไทยในเรื่องที่ว่าด้วย
โครงสร้างทางการเมือง สถาบันทางการเมือง และระบบ พรรคการเมืองทั้งส่วนที่ว่าด้วยธรรมชาติหรือแนวปฏิบัติ
พรรคการเมืองในประเทศไทยได้ในอีกทางหนึ่ง ของพรรคการเมืองที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของ ส.ส.
เช่นนี้แล้ว วรรณกรรมที่ได้ถูกนำมาทบทวนเพื่อนำมา
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เป็ น กรอบการวิ เ คราะห์ ข องการศึ ก ษานี้ จึ ง ประกอบ

จากบทนำที่กล่าวมาข้างต้นทำให้นำมาสู่วัตถุประสงค์ ไปด้ ว ยส่ ว นของปั จ จั ย ที่ อ ธิ บ ายการแสดงออกของ


ของการวิจัยนี้ 2 ข้อด้วยกัน คือ พฤติกรรมในการลงมติของ ส.ส. ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยที่เกิด

มกราคม - เมษายน 2561 25


โหวตเพื่อใคร : พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย

ภายในตัว ส.ส. เช่น จุดยืนทางนโยบายหรือทางการเมือง ของ ส.ส. ในแต่ละครั้งนั้นเกิดจากการพินิจพิเคราะห์ว่า


ความต้ อ งการในการได้ รั บ การเลื อ กตั้ ง หรื อ ปั จ จั ย เมื่อต้องโหวตในเรื่องใดเรื่องหนึ่งผลทางกฎหมายหรือ
ภายนอก ส.ส. เช่ น พรรคการเมื อ งและกลไกของ แนวนโยบายและการนำนโยบายไปปฏิบัติที่จะเกิดขึ้น
ดุลอำนาจระหว่างพรรคการเมืองกับนักการเมือง เรื่องนั้นๆ ว่าจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในภาวะการณ์
ของนโยบายที่ เ ป็ น อยู่ ใ นปั จ จุ บั น (Status Quo)

และเมื่ อ ต้ อ งวิ เ คราะห์ พ ฤติ ก รรมที่ อิ ง ฝ่ า ยหรื อ

มากน้อยเพียงใด หากการเปลี่ยนแปลงหรือผลที่จะเกิด
แบบตามพรรคการเมือง ก็จะเป็นวรรณกรรมในกลุ่มของ
ขึ้นมีระยะห่างระหว่างผลที่จะมีอยู่ในสภาวะปัจจุบันนั้น

คุณลักษณะและภาพรวมของพรรคการเมืองไทย รวมถึง
มีระยะแคบ การโหวตก็มีแนวโน้มที่จะเป็นไปในแนวทาง
การเป็ น ระบบรั ฐ บาลผสมของพรรคการเมื อ งไทย

ของการเห็นด้วยกับเรือ่ งพิจารณา แต่หากการเปลีย่ นแปลง


ในการเมืองไทย
หรื อ ผลที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น มี ร ะยะห่ า งระหว่ า งผลที่ มี อ ยู่ ใ น
ปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวทางการโหวตของ ส.ส. สภาวะปัจจุบันนั้นมีระยะกว้าง การโหวตก็มีแนวโน้มที่
จะเป็นไปในแนวทางของการไม่เห็นด้วยกับเรื่องพิจารณา
โดยภาพรวมของการศึ ก ษาถึ ง ปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผลต่ อ

(Ferejohn and Fiorina 1975; Poole and


การโหวตของ ส.ส. นั้นชี้ให้เห็นว่า การโหวตของ ส.ส.
Rosenthal 1997; Poole 2005; Shepsle1979;
นั้ น มาจาก 2 ปั จ จั ย หลั ก ๆ คื อ หนึ่ ง ปั จ จั ย ภายใน

Shepsle and Weingast1981; Tsebelis 2002)


อันได้แก่ จุดยืนทางนโยบาย (Policy Standing) หรือ
จุดยืนทางการเมือง (Political Ideology) และแรงจูงใจ อีกปัจจัยภายในที่ส่งผลต่อการโหวตของ ส.ส. คือ
ทางการเมือง (Political Incentives) และ สอง ปัจจัย “แรงจูงใจทางการเมือง” ที่แยกออกมาได้ 2 แหล่งของ
ภายนอก อั น ได้ แ ก่ แรงกดดั น จากการเป็ น สมาชิ ก แรงจูงใจ โดยแหล่งที่หนึ่งคือ “ความต้องการในการที่จะ
พรรคการเมื อ ง การเป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น ในพรรค ได้ รั บ เลื อ กตั้ ง กลั บ เข้ า มาในสมั ย ต่ อ ไป” (Mayhew
(Party Cohesion) และการมี ร ะเบี ย บวิ นั ย ของ 1974) และ แหล่ ง ที่ ส อง คื อ “ความต้ อ งการในความ
พรรคการเมือง (Party Discipline) ก้ า วหน้ า ในองค์ ก รพรรคการเมื อ ง” (Cox and
McCubbins 1993, 2005; Poole 2005)
1) ปัจจัยภายใน
โดยคำอธิบายที่ว่าความต้องการในการที่จะได้รับ

การโหวตเพราะปั จ จั ย ภายในนั้ น ถู ก ศึ ก ษาผ่ า น


การเลือกตั้งกลับเข้ามาในสภาอีกครั้งหนึ่งของ ส.ส. นั้น
แนวทางการศึกษาที่เรียกว่า “ทฤษฎีการลงมติตามจุดยืน
เป็นแรงจูงใจในการโหวตในแบบใดแบบหนึ่งนั้นมาจาก
นโยบาย (Spatial Voting)” ที่ เ สนอผลสรุ ป ของ

ฐานคิดและการอธิบายว่า เพราะเป้าหมายของ ส.ส. คือ


การศึ ก ษาในกลุ่ ม นี้ ว่ า การลงมติ ข อง ส.ส. ในแต่ ล ะ

ทำให้ ไ ด้ รั บ การเลื อ กตั้ ง กลั บ เข้ า มา และการจะทำให้

ครั้งนั้นจะเกิดจากการคำนวณระยะห่างระหว่าง “จุดยืน
ได้รับการเลือกตั้งกลับเข้ามานั้นส่วนหนึ่งก็คือการทำตาม
ทางนโยบาย” บนเส้นสเกล “ความคิดทางการเมือง”
ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ในการทำหน้าที่ใน
(Political Ideology) ของแต่ละคนกับ “ผลทางนโยบาย
สภาและการทำหน้าที่นิติบญญัติ ดังนั้นการกระทำหรือ
ของร่างกฎหมายหรือเรื่องที่พิจารณา” (มิติของนโยบาย
พฤติ ก รรมที่ เ กิ ด ขึ้ น ในการทำหน้ า ที่ ผู้ แ ทนราษฎรและ

(Issue Dimensions)) หรือทีถ่ กู เรียกว่า ‘Floor Agenda


ฝ่ายนิตบิ ญั ญัตทิ เี่ กิดขึน้ ก็อาจจะมองได้วา่ ไม่ได้เกิดมาจาก
Model (FAM)’ (Cox and McCubbins 2005) หากจะ
ความต้องการหรือความตั้งใจของตนเองเป็นที่ตั้ง แต่อาจ
ขยายความคำอธิบายของทฤษฎีนี้ ก็จะได้ว่าในการโหวต

26 มกราคม - เมษายน 2561


เกิดขึ้นเพราะแรงกดดันจากผู้มีสิทธิเลือกตั้งในพื้นที่ และ ว่า ‘แรงจูงใจด้านสถาบัน’ (Institutional Incentives)
พฤติกรรมการตอบสนองความต้องการของในเฉพาะเรื่อง ที่มีผลต่อพฤติกรรมการลงมติได้เช่นกัน (Flavelle and
คนในพื้นที่จะเป็นไปเรื่อยๆ จนกว่าความต้องการของคน Kaye, 1986; Davidson-Schmich, 2006; Kam,
เฉพาะเรื่องนั้นๆ ในพื้นที่จะหมดไป (Fenno 1978) 2009)
ความต้องการในความก้าวหน้าในองค์กรพรรค โดยความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในการลงมตินั้น
การเมือง คือ อีกปัจจัยภายในสำคัญทีม่ ผี ลต่อการตัดสินใจ หมายถึงการทำให้การทำงานของ ส.ส. ในสภาโดยเฉพาะ
ในการโหวตของ ส.ส. โดยอยู่ในรูปของความหวังที่จะ ในระบบรัฐสภา (Parliamentary System) นั้น ควรเป็น
เปลี่ยนสถานะของ ส.ส. ที่จากเป็นแค่สมาชิกพรรคที่มี ไปในแบบกลุ่มก้อนพรรคการเมืองมากกว่าการแสดงออก
ตำแหน่ ง ส.ส. มาเป็ น ผู้ บ ริ ห ารพรรค หรื อ แม้ ก ระทั่ ง แบบส่วนบุคคล และที่สำคัญพฤติกรรมการลงคะแนน
ความหวังที่จะได้รับการเสนอชื่อและแต่งตั้งให้มีตำแหน่ง เสี ย งแบบเป็ น กลุ่ ม ก้ อ นนี้ ถื อ ได้ เ ป็ น ปทั ส ถาน (Norm)
ในทางการบริ ก ารประเทศ เช่ น ตำแหน่ ง รั ฐ มนตรี ของการทำงานของพรรคการเมื อ งในระบบการเมื อ ง

ตำแหน่ ง ประธานหรื อ รองประธานคณะกรรมาธิ ก าร แบบระบบรั ฐ สภา ในส่ ว นของความเป็ น ระเบี ย บวิ นั ย

(Cox and McCubbins 2005; Poole 2005) ในการลงมติ ข องพรรค เป็ น การแสดงการสนั บ สนุ น

ฝ่ า ยบริ ห ารที่ ม าจากพรรคของตนเองและการดำรง


เพราะความต้ อ งการในความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ใน
เสถียรภาพและความมั่นคงของรัฐบาล (Governmental
อาชี พ นั ก การเมื อ งทั้ ง ในระดั บ พรรคการเมื อ งและใน
Stability) ความเป็นระเบียบวินัยในการลงมติมีความ
ระดั บ ประเทศ และความก้ า วหน้ า นี้ จ ะได้ ม าด้ ว ย
สำคัญเป็นอย่างมากต่อพรรคการเมือง โดยเฉพาะพรรค
พฤติกรรมที่เป็นที่ยอมรับของผู้มีอำนาจในการบริหาร
แกนนำรั ฐ บาลเพราะหั ว ใจของการเป็ น พรรคแกนนำ
พรรคการเมือง หรือกล่าวได้อีกแง่หนึ่งคือ การแสดงออก
รัฐบาลในส่วนของฝ่ายนิติบัญญัติ คือการสนับสนุนฝ่าย
ให้ เ ห็ น ว่ า ตนเป็ น เด็ ก ดี ข องพรรคและผู้ บ ริ ห ารพรรค

บริหารที่มาจากพรรคของพวกตน การลงมติที่ผิดแผกไป
การแสดงออกจึ ง ไม่ ใช่ ม าจากความต้ อ งการของตน

จากมติพรรคจะทำให้การมีสถานะการเป็นพรรคแกนนำ
แต่เป็นไปเพื่อพรรค ดังนั้นการโหวตของ ส.ส. ในบางครั้ง

รัฐบาลหรือร่วมรัฐบาลดำรงอยู่ต่อไปหรือจบลงหลังจาก
ก็ถูกมองว่าเกิดจากการควบคุมพฤติกรรมของ ส.ส. ของ
การลงมติ ไ ด้ สิ้ น สุ ด ลง ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากการพ่ า ยแพ้ ใ น

พรรค (Party Control) ให้ มี ก ารแสดงออกหรื อ

ผลการลงมติในเรื่องที่สำคัญๆ เช่น ร่างกฎหมายที่พรรค


การกระทำในภาพรวมที่สอดคล้องกันได้เช่นกัน (Cox
ได้ ห าเสี ย งไว้ ร่ า งกฎหมายที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง จุ ด ยื น

and McCubbins 1993)


ด้านนโยบาย
2) ปัจจัยภายนอก
และที่สำคัญที่สุดคือ การลงมติในการอภิปราย

ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในพรรคการเมือง ไม่ไว้วางใจรัฐบาล (Vote of Confidence) ที่ความหมาย


(Party Cohesion) และความเป็ น ระเบี ย บวิ นั ย ใน ต่อการอยู่รอดของ ส.ส. ทุกคนในสภา โดยเฉพาะ ส.ส.
พรรคการเมือง (Party Discipline) คือ ปัจจัยภายนอก ฝ่ายรัฐบาลที่การมีพฤติกรรมการลงมติที่เบี่ยงเบนออกไป
ตั ว ส.ส. ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ พฤติ ก รรมการลงมติ ข อง ส.ส.
จากมติพรรคในการลงมติไม่ไว้วางใจรัฐบาลในขั้นแรก
ซึ่ ง ถื อ ว่ า เ ป็ น ปั จ จั ย ที่ เ ป็ น ก ล ไ ก ‘ ด้ า น ส ถ า บั น ’ หมายถึงการสูญเสียสถานะการเป็น ส.ส. ฝ่ายรัฐบาลและ
(Institutional Mechanism) หรือเรียกได้อีกอย่างหนึ่ง การที่ พ รรคการเมื อ งที่ ต นสั ง กั ด เป็ น แกนนำหรื อ อยู่

มกราคม - เมษายน 2561 27


โหวตเพื่อใคร : พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย

ร่วมกับฝ่ายบริหารในทางตรงกันข้ามสำหรับ ส.ส. ฝ่ายที่ ลงมติจากภายนอก เพราะความต้องในการ “ลงเลือกตัง้ ”


ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล การมีพฤติกรรมที่สะท้อนถึงความไม่ อี ก ครั้ ง หนึ่ ง นั้ น สำหรั บ ส.ส. ในระบบรั ฐ สภาการที่

เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันหรือไม่มีระเบียบวินัยในพรรค นักการเมืองหนึ่งๆ นั้นจะสามารถลงสมัครรับเลือกตั้งได้


อาจหมายถึ ง การสู ญ เสี ย โอกาสในการเข้ า ไปเป็ น ฝ่ า ย จะต้องผ่านกระบวนการสรรหาคัดเลือก ซึ่งการตัดสินใจ
รัฐบาลได้เช่นกัน และที่สุดแล้วในการลงมติไม่ไว้วางใจ ในกระบวนการนั้น ก็จะหนีไม่พ้นการตัดสินใจของกลุ่มที่
รัฐบาล การพ่ายแพ้ในการลงมติอาจนำไปสู่การยุบสภา เรียกว่า “กลุ่มขับเคลื่อนพรรค” (Party Machine) โดย
ซึ่ ง เท่ า กั บ ว่ า เป็ น การสิ้ น สุ ด ของการมี ส ถานภาพ ส.ส.
ธรรมชาติแล้วการเข้ามาเป็นสมาชิกพรรคของบุคคลนั้นมี
ดังนั้น เพราะความต้องการในการอยู่รอดจึงทำให้ปัจจัย นั ย ในทางหนึ่ ง ว่ า ตนได้ เข้ า ใจและพร้ อ มปฏิ บั ติ ต าม
ด้ า นความเป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น ในพรรคการเมื อ ง แนวทางการดำเนิ น งานในทางนโยบายและการเมื อ ง

(Party Cohesion) และความเป็ น ระเบี ย บวิ นั ย ใน ของพรรค ยิ่ ง การเป็ น ตั ว แทนพรรคในการลงสมั ค ร

พรรคการเมือง (Party Discipline) จึงเป็นปัจจัยที่ส่งผล รับเลือกตัง้ ด้วยแล้วนัน้ การแสดงออกหรือเคยแสดงออกว่า


ต่อพฤติกรรมการลงมติที่มีความสำคัญเป็นลำดับต้นๆ ในการทำหน้าที่ในรัฐสภานั้นบุคคลนั้นๆ ได้มีระเบียบ
(Davidson-Schmich, 2006; Diermeier and วินัยและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับความต้องการของ
Feddersen, 1998; Huber, 1996; Kam, 2009) พรรค ดังนั้นการคัดเลือกผู้สมัครจึงเป็นวิธีที่เหมาะสม
ที่ สุ ด ที่ จ ะป้ อ งกั น ให้ บุ ค คล/สมาชิ ก ประเภทที่ อ าจจะ

นอกเหนือไปจากการพิจารณาถึงความอยู่รอดใน
ก่อปัญหาให้เกิดขึ้นในอนาคตได้ไม่สามารถจะเข้ามาสู่
ฐานะ ส.ส. และฐานะพรรคร่วมรัฐบาลแล้ว ความเป็น

สภาได้ ยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น ในบางกรณี พ รรคการเมื อ งอาจ


อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น และความเป็ น ระเบี ย บวิ นั ย ของ
เขียนข้อบังคับในพฤติกรรมทำนองนี้ไว้ในข้อบังคับและ
พรรคการเมื อ งยั ง เข้ า มามี ส่ ว นในการนำไปสู่ ก าร
ใบสมัครพรรคในคราวเดียวกัน (Bowler, Farrell, and
แสดงออกในการลงมติในฐานะปัจจัยภายนอกตัว ส.ส.
Katz, 1998)
แม้ในตอนที่กล่าวถึงวรรณกรรมที่อ้างถึงแรงจูงใจ
นอกจากนี้ แรงจูงใจของกลุ่ม “ผู้นำ” พรรคทั้งใน
ทางการเมืองของ ส.ส. ที่ต้องการให้ได้รับการเลือกตั้ง
สภาและนอกสภา (ในพรรคการเมือง) ที่ได้รับอิทธิพล
กลับเข้ามา จึงทำให้ ส.ส. ลงมติตามความต้องการของ
จากความเป็นสถาบัน ก็ยังคงมีส่วนผลักหรือส่งผลต่อ
ประชาชนในพื้นที่จึงเท่ากับว่าเป็นปัจจัยภายในตัว ส.ส.
พฤติกรรมของ ส.ส. อีกทางหนึ่ง นั่นคือ ในกระบวนการ
และที่สำคัญการมองในมุมนี้เป็นการตั้งสมมติฐานที่ ส.ส.
รัฐสภา สิ่งที่ผู้นำของพรรคต้องการนั่นคือ การที่สมาชิก
มีความเป็นอิสระจากพรรคการเมือง แต่อย่างไรก็ดี เมื่อ
ของพรรคในสภามีพฤติกรรมที่เป็นไปในแนวทางเดียวกับ
นำเรื่ อ งความเป็ น อั น หนึ่ ง อั น เดี ย วกั น และความเป็ น
พรรค หรื อ ไปในแนวทางที่ ผู้ น ำของพรรคได้ แ นะนำ
ระเบียบวินัยของพรรคการเมืองเข้ามาวิเคราะห์ว่าเป็น
อย่างไรก็ดี โดยธรรมชาติแล้วเมื่อบุคคลได้รับการเลือกตั้ง
แรงจูงใจอีกส่วนหนึ่งในการลงมติด้วยความต้องการที่จะ
แล้ว การปฏิบัติตามความต้องการของผู้นำพรรคอาจไม่
ลงเลื อ กตั้ ง อี ก ครั้ ง ทำให้ ดู เ หมื อ นว่ า ปั จ จั ย ทั้ ง สองนี้

ส่งผลต่อพฤติกรรมมากเท่าที่ควรเพราะความจำเป็นที่จะ
ควรจะเป็นแรงจูงใจภายใน
ต้ อ งเป็ น “เด็ ก ดี ” ได้ ล ดลงไป แต่ ไ ม่ ไ ด้ ห มายความว่ า

แ ต่ ถ้ า ม อ ง ล ง ไ ป ใ ห้ ลึ ก ค ว า ม เ ป็ น อั น ห นึ่ ง
การจั ด การให้ เ กิ ด การลงมติ ห รื อ มี พ ฤติ ก รรมที่ เ ป็ น
อั น เ ดี ย ว กั น แ ล ะ ค ว า ม เ ป็ น ร ะ เ บี ย บ วิ นั ย ข อ ง ระเบียบวินัยตามความต้องการของผู้นำจะลดลงไปหรือ
พรรคการเมืองนั้น เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการ
ไม่มีเลย

28 มกราคม - เมษายน 2561


“พรรคการเมื อ งไทย” มุ ม มองจากภายใน : เพื่อดำรงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวในการทำงานในสภา
โครงสร้างและการจัดการการเลือกตั้ง ของพรรคได้ ยิ่ ง ไปกว่ า นั้ น การมี ก ลุ่ ม /มุ้ ง /วั ง ภายใน
พรรคการเมืองยังหมายถึงการพึ่งพาเครือข่ายอุปถัมภ์
โครงสร้ า งของพรรคการเมื อ งไทยนั้ น ถู ก ยื น ยั น

ของกลุ่มภายในพรรคความเข้มแข็งของกลุ่มสะท้อนให้
จากงานการศึ ก ษาหลายๆ ชิ้ น ว่ า พรรคการเมื อ งไทย

เห็นจากการจัดสรรที่นั่งรัฐมนตรี จำนวนสมาชิกในกลุ่มที่
มีโครงสร้างแบบรวมศูนย์อำนาจในการบริหารกิจการ
ได้ รั บ เลื อ กตั้ ง ก็ ก ลายมาเป็ น อำนาจในการต่ อ รองกั บ
ของพรรคการเมืองแทบจะในทุกๆ ด้าน การมีส่วนร่วม
หัวหน้าพรรคการเมืองเพื่อให้กลุ่มได้เข้าถึงทรัพยากรและ
ของสมาชิ ก หรื อ นั ก การเมื อ งในสั ง กั ด อยู่ ใ นระดั บ ที่ ต่ ำ
นำทรั พ ยากรไปสู่ พื้ น ที่ เ พื่ อ รั ก ษาฐานเสี ย ง ในแง่ นี้

เพราะการตัดสินใจในเรื่องของพรรคทั้งหมดถูกรวมศูนย์
เราจะพบว่ า แนวนโยบายหรื อ อุ ด มการณ์ ร่ ว มของ
ไว้ ที่ ค ณะกรรมการบริ ห ารพรรค หรื อ ผู้ มี อิ ท ธิ พ ล

พรรคการเมื อ งอาจไม่ ไ ด้ รั บ ความสำคั ญ เท่ า กั บ การ

ภายในพรรคเท่านั้น (บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ 2550, สติธร

แบ่ ง สรรทรั พ ยากรส่ ว นกลางให้ กั บ กลุ่ ม ภายในพรรค


ธนานิธิโชติ 2555, Scarrow 2005)
(โกสิ น ทร์ วงศ์ สุ ร วั ฒ น์ แ ละนรนิ ติ เศรษฐบุ ต ร 2521,
นอกจากนี้ พฤทธิสาณ ชุมพล (2553) ได้อ้างถึงงาน Chambers and Croissant 2010, Ockey 2003,
ศึ ก ษานโยบายและการปฏิ บั ติ ต ามนโยบายของพรรค Zhang 2007)
การเมืองไทย 3 พรรค คือ ประชาธิปัตย์ กิจสังคม และ
ในแง่ของการจัดการการเลือกตั้ง แม้ข้อเสนอและ

ชาติ ไ ทย ในช่ ว ง พ.ศ. 2518-2519 และ 2522-2523


ข้ อ ค้ น พบในอดี ต จะออกมาในทำนองว่ า การจั ด การ

ของพลศักดิ์ จิรไกรศิริ ซึ่งเขาพบว่า พรรคการเมืองไทย

การเลือกตั้งของพรรคการเมืองไทยนั้นจะเป็นเรื่องของ
มี โ ครงสร้ า งง่ า ยๆ ไม่ มี ค วามสลั บ ซั บ ซ้ อ นและเน้ น

การอาศัยหัวคะแนนและระบบอุปถัมภ์ (Ockey 1994,


ความสัมพันธ์ที่ไม่เป็นทางการผ่านตัวบุคคล หากใช้การ
Chambers 2005) แต่ สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์ (2546)
จำแนกลักษณะพรรคการเมืองของ McCargo (1997)
ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า การเปลี่ ย นแปลงของบริ บ ททางการเมื อ ง
พรรคการเมืองไทยมีลักษณะเป็นพรรคการเมืองของแท้
กอปรกั บ แรงกดดั น จากสั ง คมเศรษฐกิ จ ที่ เ คลื่ อ นไหว

(Authentic Party) ซึ่งเป็นพรรคการเมืองที่ผูกติดอยู่กับ


อย่างมีพลวัต ภายหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับ

ตั ว บุ ค คลและเงิ น มี อิ ท ธิ พ ลอย่ า งมากภายในพรรค

ปี 2540 ส่งผลให้พรรคการเมืองไทยเริ่มให้ความสำคัญ
แตกต่างจากพรรคการเมืองของจริง (Real Party) ที่มี
กับแนวนโยบายทีเ่ ป็นรูปธรรมมากขึน้ แต่ Ockey (2003)
มวลชนเป็นฐานสนับสนุน มีโครงสร้างการบริหารพรรค

มองว่ า แง่ มุ ม ที่ น่ า สนใจของนโยบายของพรรค

ที่ ซั บ ซ้ อ น มี ส าขาพรรคในพื้ น ที่ ต่ า งๆ และที่ ส ำคั ญ

ไทยรักไทยคือ ขอบข่ายและความชัดเจนของนโยบายที่

มีอดุ มการณ์ทางการเมืองและแนวนโยบายพรรคทีช่ ดั เจน


มุง่ ตอบสนองทัง้ คนจนในชนบทและคนรวย อย่างไรก็ตาม
อี ก ลั ก ษณะที่ โ ดดเด่ น ของพรรคการเมื อ งไทย คื อ
ความเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ แนวนโยบายของ
การมีกลุ่ม มีมุ้งภายในแต่ละพรรคการเมือง ซึ่งกลุ่มหรือ พรรคการเมื อ งไทยก็ ยั ง ไม่ เ พี ย งพอที่ จ ะกล่ า วได้ ว่ า
มุ่งเหล่านี้ได้ส่งผลอย่างมากต่อระบบความสัมพันธ์และ พรรคการเมืองมีอุดมการณ์ที่ชัดเจน ทั้งนี้งานศึกษาของ
การจัดการภายในของ ส.ส. ของพรรค ซึ่งวรรณกรรม ศาสตรินทร์ ตันสุน (2550) ได้เสนอเช่นเดียวกันว่าพรรค
หลายๆ ชิ้ น ได้ ค้ น พบคล้ า ยกั น ว่ า ความสั ม พั น ธ์ ข อง
ไทยรักไทยมีความเป็นสถาบันต่ำเนื่องมาจากผู้นำพรรค

กลุ่ ม มุ้ ง ภายในพรรคการเมื อ งต้ อ งเพิ่ ม ระดั บ การมี มี อ ำนาจเบ็ ด เสร็ จ เด็ ด ขาด ถึ ง ขนาดที่ ว่ า แยกบทบาท
ระเบียบวินัยพรรค (Party Discipline) ให้อยู่ในระดับสูง ระหว่างตัวผู้นำกับบทบาทของพรรคได้ลำบาก ในกรณี

มกราคม - เมษายน 2561 29


โหวตเพื่อใคร : พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย

ของพรรคชาติไทยพัฒนา นัครินทร์ เพชรสิงห์ (2553) จะเป็ น การจั บ ขั้ ว ของพรรคการเมื อ งที่ มี จุ ด ยื น ทาง
พบว่ า พรรคมี ร ะดั บ ความเป็ น สถาบั น อยู่ ใ นระดั บ
นโยบายและความคิ ด ทางการเมื อ งที่ ใ กล้ ห รื อ ติ ด กั น
ที่ ส ามารถพั ฒ นาไปเป็ น สถาบั น ทางการเมื อ งได้ เท่านั้น
(Developing Institutionalism) ส่ ว นพรรค

สำหรั บ กรณี ป ระเทศไทยนั้ น แม้ จ ะใช้ ร ะบบ

ประชาธิปัตย์นั้นมีความเป็นสถาบันมากที่สุดในบรรดา
การเลือกตั้งแบบเสียงข้างมาก (Majoritarian System)

พรรคการเมืองไทยทั้งหมด เพราะมีการเปลี่ยนตัวผู้นำ
ก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นระบบเลือกตั้งแบบผสม (Mixed-
พรรคอยู่เสมอสื่อนัยของวัฒนธรรมประชาธิปไตยภายใน
Member System) หรือแม้แต่ตอนที่เปลี่ยนมาใช้ระบบ
พรรค (Ufen 2008, ปัทมา สูบกำปัง 2552)
เลื อ กตั้ ง แบบผสมแล้ ว ผลของการเลื อ กตั้ ง ทำให้ เ กิ ด
ลักษณะของพรรคร่วมรัฐบาลในระบบการเมืองไทย ระบบหลายพรรคการเมื อ ง (Multi-party System)

ดังนั้น การเกิดขึ้นจัดตั้งรัฐบาลจึงตั้งอยู่บนพื้นฐานของ
ตามทฤษฎี ก ารจั บ ขั้ ว รั ฐ บาลผสม (Coalition
การจับขั้วแบบรัฐบาลผสมมาโดยตลอด โดยลักษณะของ
Theory) การจั บ ขั้ ว ของพรรคการเมื อ งนั้ น จะมี อ ยู่

การจั บ ขั้ ว รั ฐ บาลนั้ น มั ก จะเป็ น ไปในรู ป แบบของการ

2 ลั ก ษณะด้ ว ยกั น คื อ หนึ่ ง “การจั บ ขั้ ว เพื่ อ ให้ ไ ด้


จั บ ขั้ ว ที่ เ กิ น พอดี (Surplus Majorities Coalition)
ตำแหน่ง” (Office-seeking Assumption) ที่การจับขั้ว
เพราะผลของการเลื อ กตั้ ง ที่ พ รรคการเมื อ งที่ ไ ด้

รัฐบาลนั้นจะเป็นการจับขั้วกันระหว่างพรรคการเมือง

คะแนนเสียงอันดับ 1 และ 2 นั้น มีขนาดใกล้เคียงกัน


ให้มขี นาดพอดีทจี่ ะทำให้ขวั้ นัน้ มีสมาชิกมากกว่าทีต่ อ้ งการ
พรรคการเมื อ งที่ ไ ด้ ค ะแนนเสี ย งมากเป็ น อั น ดั บ 1

การเป็นเสียงส่วนใหญ่ได้พอดี โดยการจับขั้วนั้นอาจจะ
ก็ไม่สามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได้ ในขณะเดียวกัน
ออกมาในลั ก ษณะของการมี “ขั้ ว ที่ ข นาดพอเหมาะ”
พรรคการเมืองที่ได้คะแนนมากเป็นอันดับ 2 ก็พร้อมที่
(Minimal Winning Coalitions) ที่การจับขั้วลักษณะนี้
พลิกกลับมาจัดตั้งรัฐบาลแข่งได้เสมอ ฉะนั้นเพื่อให้ได้
นั้ น จะมี จ ำนวนสมาชิ ก ในขั้ ว ที่ เ พี ย งพอที่ จ ะยั ง สถานะ

รัฐบาลที่มีเสถียรภาพจึงต้องมีการจัดตั้งรัฐบาลผสมที่เกิน
การเป็ น รั ฐ บาลแม้ จ ะมี ส มาชิ ก เพี ย งหนึ่ ง คนถอนตั ว

พอดีอยู่เสมอ (จิตรา โรจน์ประเสริฐกูล 2553)


ออกไปจากการเป็นสมาชิกของรัฐบาล หรือ การจับ “ขั้ว
ที่ขนาดที่พอดี” (Minimum Winning Coalitions) คือ และแม้มีการเปลี่ยนมาใช้ระบบการเลือกตั้งแบบผสม
การจั บ ขั้ ว ระหว่ างพรรคการเมืองที่ขอแค่พอกับการมี ตามรัฐธรรมนูญปี พ.ศ. 2540 ที่ผลการเลือกตั้งสะท้อน
จำนวนที่ ตั้ ง เป็ น ฝ่ า ยรั ฐ บาลได้ พ อดี การถอนตั ว ของ ให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงจากระบบพรรคการเมืองแบบ
สมาชิกของพรรคการเมืองคนใดคนหนึ่งอาจทำให้สถานะ หลายพรรคเข้าสู่ระบบพรรคการเมืองแบบสองพรรคและ
ของขั้ ว รั ฐ บาลนั้ น จบไป (De Swann 1973; Back พรรคขนาดเล็กหลายพรรคมากขึ้น แต่การจับขั้วรัฐบาล
2003, Laver and Schofield 2001) ก็ยังคงไม่ได้อยู่ในแบบของ การมี “ขั้วที่ขนาดพอเหมาะ”
(Minimal Winning Coalitions) หรื อ การมี “ขั้ ว ที่
แนวทางการอธิ บ ายที่ ส องของทฤษฎี ก ารจั บ ขั้ ว
ขนาดที่พอดี” (Minimum Winning Coalitions) แต่
รั ฐ บาลผสม คื อ การจั บ ขั้ ว เพื่ อ ให้ ไ ด้ ก ำหนดนโยบาย
อย่างใด
(Policy-seeking Assumption) ซึ่งถือเป็นส่วนขยาย
ของทฤษฎีการจับขั้วรัฐบาลที่นำเอา “จุดยืนทางนโยบาย
และความคิดทางการเมือง” มาเป็นตัวกำหนดลักษณะ
ของการจับขั้ว โดยการจับขั้วตามลักษณะการอธิบายนี้

30 มกราคม - เมษายน 2561


กรอบการวิเคราะห์ ของ ส.ส. ได้เช่นเดียวกัน แม้จะไม่เป็นไปในทางตรงหรือ
ส่งอิทธิพลได้มากเท่ากับปัจจัยในข้อที่ 1 ถึงข้อที่ 3
จากการทบทวนวรรณกรรม ทำให้ ไ ด้ ฐ านคิ ด
(Propositions) 6 ข้ อ ที่ จ ะนำไปสู่ ก ารสร้ า งกรอบ
ข้ อ ที่ 5 ค ว า ม เ ป็ น เ อ ก ลั ก ษ ณ์ เ ฉ พ า ะ ข อ ง
การวิเคราะห์เพื่อตอบคำถามถึงพฤติกรรมการโหวตของ พรรคการเมื อ งไทยในแง่ ข องโครงสร้ า ง การบริ ห าร
ส.ส. ดังนี้ จั ด การ การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรภายใน และ

การบริหารการจัดการการเลือกตั้ง (โดยเฉพาะการจัด

ข้ อที่ 1 ปัจจัยที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมการลงมติของ ผู้ ส มั ค รลงสมั ค รรั บ เลื อ กตั้ ง ) ทำให้ ก ารวิ เ คราะห์
ส.ส. นั้นอาจมาจากแรงจูงใจภายในที่ปราศจากข้อจำกัด พฤติ ก รรมการลงมติ ข อง ส.ส. ด้ ว ยแนวคิ ด ความเป็ น

(Constraints) ที่ ม าจากการพรรคการเมื อ ง นั่ น คื อ


อันหนึ่งอันเดียวกันในพรรคการเมือง (Party Cohesion)
แรงจูงใจจากจุดยืนทางด้านนโยบายและการเมือง ทำให้ และ ความเป็นระเบียบวินัยในพรรคการเมือง (Party
การลงมติเกิดจากการคำนวณพื้นที่ห่างของระยะจุดยืน Discipline) จะมีความเหมาะสมมากกว่าการใช้ทฤษฎี
ทางด้านนโยบายและการเมืองกับผลที่จะเกิดจากเรื่อง การลงมติ ต ามจุ ด ยื น นโยบาย (Spatial Voting) กั บ
พิจารณานั้น ซึ่งฐานคิดข้อนี้ได้มาจากข้อสรุปและเสนอ บริ บ ทการเมื อ งไทย หรื อ กล่ า วในอี ก แง่ ห นึ่ ง ว่ า

จากวรรณกรรมกลุ่มทฤษฎีการลงมติตามจุดยืนนโยบาย การวิเคราะห์หรือค้นหาแบบแผนในการลงมติของ ส.ส.


(Spatial Voting) ไทยนั้นเหมาะกับการค้นหา “แบบฝ่าย” มากกว่าแบบ
ข้ อ ที่ 2 แต่ เ มื่ อ การตั ด สิ น ใจของ ส.ส. มี ข้ อ จำกั ด รายบุคคล
(Constraints) ที่เกิดจาก “แรงจูงใจทางการเมือง” เช่น ข้ อ ที่ 6 ลั ก ษณะของการเป็ น รั ฐ บาลผสม และ
ชัยชนะในการเลือกตั้งครั้งถัดไป ความต้องการในการลง พฤติกรรมของพรรคการเมืองในการเป็นสมาชิกรัฐบาล
รับสมัครรับเลือกตั้งอีกครั้งหนึ่ง หรือความต้องการใน ผสมของพรรคการเมื อ งในระบบการเมื อ งไทย ทำให้

ความก้าวหน้าในองค์กรพรรคการเมือง มาเป็นส่วนผสม การวิ เ คราะห์ พ ฤติ ก รรมการลงมติ ที่ ต้ อ งเน้ น การใช้


หนึ่ ง ของการตัดสินใจทำให้พฤติกรรมนั้นไม่อาจอยู่ได้ อิ ท ธิ พ ล ข อ ง พ ร ร ค ก า ร เ มื อ ง ใ น ฐ า น ะ ข้ อ จ ำ กั ด
ด้ ว ยการคำนวณระยะห่ า งตามทฤษฎี ก ารลงมติ ต าม (Constraints) ที่มีต่อตัว ส.ส. มีความเข้มข้นขึ้น ดังนั้น
จุดยืนนโยบาย (Spatial Voting) ได้เพียงอย่างเดียว การลงมติ ข อง ส.ส. จึ ง มี ข้ อ จำกั ด นี้ ใ นการผลั ก ให้ เ กิ ด
ข้ อ ที่ 3 ค ว า ม เ ป็ น อั น ห นึ่ ง อั น เ ดี ย ว กั น ใ น พฤติกรรม ทั้งนี้ก็เพื่อให้เกิดความอยู่รอดในระดับกลุ่ม
พรรคการเมื อ ง (Party Cohesion) และความเป็ น หรือ ความอยู่รอดของพรรคการเมือง ซึ่งการอยู่รอดนี้
ระเบี ย บวิ นั ย ในพรรคการเมื อ ง (Party Discipline)
หมายถึงการอยู่รอดในฐานะพรรคร่วมรัฐบาล พรรคที่ไม่
มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ พฤติ ก รรมการลงมติ ข อง ส.ส. ในระบบ ได้ เข้ า ร่ ว มรั ฐ บาล และพรรคการเมื อ งในสภา เพราะ
รั ฐ สภามากกว่ า ส.ส. ในระบบประธานาธิ บ ดี เพราะ ฐานะสมาชิกของพรรคการเมือง ในบางกรณีก็นำไปสู่

ปัจจัยทั้งสองข้อนี้ส่งผลเป็นอย่างมากต่อความอยู่รอด ข้อสันนิษฐานถึงพฤติกรรมของพรรคการเมืองที่ไม่ได้เป็น
ของทั้ง ส.ส. ในฐานะปัจเจก และความอยู่รอดของสภา แกนในการจั ด ตั้ ง รั ฐ บาล อั น ได้ แ ก่ พ รรคขนาดกลาง

รัฐบาล และพรรคการเมืองในฐานะกลุ่มหรือองค์กร และขนาดเล็กที่จุดประสงค์ของการลงมติก็อาจจะเพื่อ


การเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของพรรคฝ่ายรัฐบาล
ข้ อ ที่ 4 ปั จ จั ย ทางด้ า นสถาบั น ทางการเมื อ ง
(Political Institutions) ก็ส่งผลต่อพฤติกรรมการลงมติ เมื่อนำฐานคิดทั้ง 6 ข้อมาสังเคราะห์ร่วมกันทำให้เกิด

มกราคม - เมษายน 2561 31


โหวตเพื่อใคร : พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย

ข้ อ โต้ เ ถี ย งทางทฤษฎี (Normative Theoretical การทำหน้าที่ของ ‘ฝ่าย’ ที่ ส.ส. และพรรคการเมืองต้น


Argument) ถึงแบบแผนพฤติกรรมการลงมติของ ส.ส. สั ง กั ด สั ง กั ด อยู่ หาก ส.ส.เป็ น ส.ส.พรรคร่ ว มรั ฐ บาล

ไทย ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ดังนี้ คือ ก็มีหน้าที่ที่จะทำให้การลงมติในเรื่องพิจารณาต่างๆ ที่


ฝ่ายพรรครัฐบาลเสนอเข้ามาพิจารณานั้นสำเร็จลุล่วงเพื่อ
(1) โหวตตามพรรค
ให้ แ นวทางบริ ห ารประเทศที่ ไ ด้ ห าเสี ย งไว้ ไ ด้ บ รรลุ ผ ล

ในการลงมติ ข อง ส.ส. ไทยนั้ น มี ข้ อ จำกั ด ในขณะเดี ย วกั น หน้ า ที่ ข องฝ่ า ยพรรคที่ ไ ม่ ไ ด้ เข้ า ร่ ว ม
(Constraints) ทางด้านสถาบันในระดับปัจเจกบุคคล รัฐบาลที่ตามหลักการสากลต้องทำการถ่วงดุลการทำงาน
โดยเฉพาะจากพรรคการเมื อ งที่ ม าในรู ป แบบของ
ของฝ่ายรัฐบาลก็มีหน้าที่ในการตรวจสอบและคัดค้าน
ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในพรรคการเมือง (Party การทำงานของฝ่ายรัฐบาลก็เป็นเรื่องที่จะต้องทำ ดังนั้น
C o h e s i o n ) แ ล ะ ค ว า ม เ ป็ น ร ะ เ บี ย บ วิ นั ย ใ น พฤติกรรมการโหวตตามฝ่ายจึงน่าจะเกิดขึ้นเพราะเป็น
พรรคการเมือง (Party Discipline) มาเป็นข้อกำหนดใน เรื่องของการทำ‘หน้าที่’ ในฐานะสมาชิกของฝ่ายที่พรรค
ลำดับแรกๆ ที่เป็นเช่นนี้เพราะการปกครองในรูปแบบ ของตนนั้นสังกัดอยู่
รัฐสภา และการดำเนินงานของพรรคการเมืองที่มีการ
(3) โหวตข้ามพรรค
รวมศู น ย์ อ ำนาจ และข้อกำหนดในรัฐธรรมนูญที่ไม่ได้
สร้างดุลอำนาจที่เท่ากันระหว่าง ส.ส. กับพรรคการเมือง โหวตข้ า มพรรคเป็ น พฤติ ก รรมการโหวต
จึ ง เป็ น เหตุ ใ ห้ ส.ส. ของไทยนั้ น มีพ ฤติ กรรมการลงมติ ระหว่างพรรคการเมืองที่เกิดจากความต้องการที่จะทำให้
ต า ม ม ติ แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง พ ร ร ค ม า ก ก ว่ า
เกิดโอกาสหรือการมองเห็นโอกาสของพรรคการเมือง

ความต้ อ งการของตั ว หรื อ ประชาชนเฉพาะเขตพื้ น ที่


ที่จะใช้อำนาจในการโหวตเพื่อต่อรองหรือเพื่อเพิ่มและให้
ของตน หรือเรียกว่า โหวตตามพรรค ได้โอกาสทางการเมืองให้เกิดกับพรรคของตนเอง ดังนั้น
การโหวตข้ามพรรคคือการทำความเข้าใจถึงพฤติกรรม
(2) โหวตตามฝ่าย
การลงคะแนนเสียงระหว่างพรรคการเมืองว่ามีทิศทาง
โหวตตามฝ่าย เป็นพฤติกรรมการลงมติที่เกิด เดียวกันแค่ไหน อย่างไร และเมื่อไหร่ ซึ่งการโหวตข้าม
ขึ้นจากธรรมชาติของการเป็นรัฐบาลผสมในระบบรัฐสภา พรรคนั้นไม่ได้จำกัดแค่การโหวตข้ามพรรคที่อยู่คนละ
แบบประเทศไทย ที่กระบวนการการทำงานในรัฐสภา
ฝ่าย แต่อาจเกิดขึ้นกับฝ่ายของตนเองได้เช่นกัน
จะประกอบไปด้วยพรรคฝ่ายรัฐบาลและพรรคฝ่ายทีไ่ ม่ได้
ทั้ ง นี้ โดยข้ อ โต้ เ ถี ย งทางทฤษฎี (Normative
เข้าร่วมรัฐบาล และในแต่ละฝ่ายก็อาจจะประกอบไป
Theoretical Argument) ข้างต้น สามารถแสดงให้เห็น
ด้วยพรรคต่างๆ ในรูปของพรรคร่วม ซึ่งการโหวตตาม
ได้ดังแผนภาพที่ 1
ฝ่ า ยเกิ ด ขึ้ น จากความคาดหวั ง ของประชาชนที่ มี ต่ อ

32 มกราคม - เมษายน 2561


ทั้งนี้ โดยขอโตเถียงทางทฤษฎี (Normative Theoretical Argument) ขางตน สามารถแสดงให
เห็นไดดังแผนภาพที่ 1

แผนภาพที่ 1
ขอโตเถียงทางทฤษฎี (Normative Theoretical Argument)
แผนภาพที ่1 สําหรับการวิเคราะหแบบแผนการลงมติ
ข้อโต้เถียงทางทฤษฎี (Normative Theoretical Argument) สำหรับการวิเคราะห์แบบแผนการลงมติ
ขอจํากัดเชิงสถาบันระดับบุคคล
(Party Discipline & Party Cohesion)
แบบแผนการลงมติ
ขอจํากัดเชิงสถาบันระดับพรรค
(Coalition Government  Government
Survival; Coalition Survival;
Coalition Opportunity)

ขข้ออมูมูลลและวิ
และวิธีกธารวิ เคราะห
ีการวิ เคราะห์ ที่ จ ะเป็ น ฐานของการสื บ ค้ น ต่ อ ไปถึ ง เหตุ แ ละผลของ

ข อ มู ล ที่ ถู ก นํ า มาใช ใ นการวิ เ คราะห พ ฤติการอธิ


ก รรมลงมติ
บายในเหตุ ใ นทีของการเกิ
่ นี้ คื อ ชุ ดดขแบบแผนการลงมติ
อ มู ล การลงมติ ขและ
องของ
ข้ อ มู ล ที ่ ถ ู ก นำมาใช้ ใ นการวิ
2 เคราะห์พฤติกรรมลงมติ
สมาชิกสภาผูแทนราษฎร และกรอบเวลาการวิเคราะห ผลที่ ไตด้ั้งจแต สมัยของสมาชิ
ากการจั ด แบบแผนจากเครื กสภาผูแ่ อทนราษฎรชุ
งมื อ ทางสถิ ดติ นทีี้
่ 20
ในที่ นี้ คื อ ชุ ด ข้ อ มู ล การลงมติ ข องของสมาชิ ก สภา

จะถูกนำไปวิเคราะห์รว่ มกับข้อมูลเชิงคุณภาพจากเอกสาร
ผู้แทนราษฎร2 และกรอบเวลาการวิเคราะห์ตั้งแต่สมัย
ต่ า งๆ ที่ จ ะถู ก สกั ด ประเด็ น ในส่ ว นของสถานการณ์
ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 20 (ปี พ.ศ. 2541
การเมื อ งแวดล้ อ ม เพื่ อ ให้ ไ ด้ ค ำอธิ บ ายที่ ต ระหนั ก ถึ ง
สมั
2
ยรัฐบาลนายชวน
โดยการเก็ บขอมูลในสวนนีหลี กภัย) นจนถึ
้จะมาจากบั งสิ้นานัสมั
ทึกของสํ ยของสมาชิ
กเลขาธิ การสภาผูแกทนราษฎรและขอมูลที่ปรากฎในเว็บไซต http://www.parliament.go.th/
ปัจจัยการเมืองภายนอกตัว ส.ส. ที่ส่งผลต่อแบบการลง
สภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 24 (ปี พ.ศ. 2555 สมัยรัฐบาล 10
มติ ซึ่ ง ผลวิ เ คราะห์ ที่ ไ ด้ จ ะทำให้ ผู้ วิ จั ย สามารถสร้ า ง

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร)3
รูปแบบการลงมติของ ส.ส. ได้ในที่สุด
ในการตอบคำถามการวิ จั ย นี้ วิ ธี ก ารวิ จั ย แบบผสม
ทั้ ง นี้ ค่ า สถิ ติ ที่ ใช้ ใ นการวิ เ คราะห์ ที่ อ ยู่ บ นฐานของ
(Mixed-Method Research Methodology) จะถูกนำ
สถิติการพรรณนา จะถูกเรียกว่า ค่าสถิติการโหวตตาม
มาใช้ โดยจะนำข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ได้มาวิเคราะห์และ
พรรค (Party Loyalty Scores) (Godbout and
นำผลการวิ เ คราะห์ ไ ปประสานเข้ า กั บ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ าก

Hoyland 2011) ซึ่งก็คือ ค่าสถิติที่จะได้จากการคำนวณ


การสัมภาษณ์เชิงลึกและเอกสารอื่นๆ เพื่อนำไปสู่ข้อสรุป
ข้อมูลการลงมติของ ส.ส. รายบุคคล โดยค่าสถิตินี้จะเป็น
โดยวิ ธี เชิ ง ปริ ม าณที่ ใช้ คื อ การใช้ เ ทคนิ ค ทางสถิ ติ
ตัวเลขที่แสดงให้ว่าการลงมติหรือการมีพฤติกรรมในการ
ขั้นพื้นฐาน – สถิติการพรรณนา (Univariate Statistic ลงมติ อื่ น (การไม่ เข้ า ร่ ว มลงคะแนนเสี ย ง หรื อ ขาด
Analysis) ซึ่งจะใช้เพื่อค้นหาแบบของลักษณะการลงมติ ประชุ ม ) ของสมาชิ ก สภาผู้ แ ทนราษฎรทั้ ง ในส่ ว นของ
2
โดยการเก็ บ ข้ อ มู ล ในส่ ว นนี้ จ ะมาจากบั น ทึ ก ของสำนั ก เลขาธิ ก ารสภาผู้ แ ทนราษฎรและข้ อ มู ล ที่ ป รากฎในเว็ บ ไซต์ http://
www.parliament.go.th/
3
เหตุผลของการกำหนดระยะเวลาเริ่มต้นของการวิเคราะห์ที่สมัยของ ส.ส. ชุดที่ 20 (กลางสมัย) เนื่องจากวิธีการบันทึกข้อมูลผลการ
ลงมติของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรที่ได้ทำการบันทึกข้อมูลที่สมบูรณ์แบบสำหรับการวิเคราะห์หลังการนำเครื่องบันทึก

การลงมติมาใช้ในสมัยของ ส.ส. ชุดที่ 20 ที่ทำให้การบันทึกข้อมูลการลงมติเป็นการบันทึกข้อมูลที่ให้รายละเอียดการลงมติ

รายบุคคล เพราะก่อนหน้านั้นวิธีการนับจำนวนการลงมติเป็นการใช้กำลังคนนับและบันทึกข้อมูลผลรวมที่ไม่ได้แสดงถึงผลการ

ลงมติรายบุคคลแต่เป็นการบันทึกเป็นยอดรวมของพรรคการเมือง

มกราคม - เมษายน 2561 33


โหวตเพื่อใคร : พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย

บุคคลและภาพรวมของพรรคจะมีความ “สอดคล้อง” ประสานงานพรรคร่ ว มฝ่ า ยค้ า น (วิ ป ฝ่ า ยค้ า น)

หรื อ “สวนทาง” ทิ ศ กั บ ของเสี ย งส่ ว นใหญ่ ข องพรรค ตั้งแต่สมัยสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 20 ถึงชุดที่ 24


(Majority of Party) หรื อ ไม่ ใ นพฤติ ก รรมโดยรวม
จำนวน 3 ท่าน
การลงมติแต่ละครั้ง โดยค่าสถิตินี้จะมีค่าจาก 0 กับ 1
2. อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากพรรคการเมือง
ซึ่ง 0 หมายถึงการลงมติไม่ตามพรรคหรือสวนทางกับ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ ก จำนวน

พรรค และ 1 หมายถึ ง การลงมติ ส อดคล้ อ งหรื อ ตาม


3 ท่าน
ทิ ศ ทางเดี ย วกั น กั บ ของพฤติ ก รรมส่ ว นใหญ่ ข องพรรค
3. หัวหน้าพรรคการเมืองหรือผู้บริหารพรรคการเมือง
และเมื่อทำการรวมค่าการโหวตตามพรรคทั้งหมดแล้ว
และคณะกรรมการบริหารพรรคการเมือง จำนวน
เฉลี่ยออกมาเป็นค่าร้อยละ ก็จะได้ค่าการโหวตตามพรรค
1 ท่าน
โดยค่าเฉลี่ยร้อยละที่สูงก็จะแสดงให้เห็นถึงการโหวตตาม
พรรคในระดับที่สูง ที่นำไปสู่การสรุปได้ว่าระดับความมี ทั้ ง นี้ โดยใช้ แ บบสั ม ภาษณ์ ป ลายเปิ ด ซึ่ ง เนื้ อ หา
ระเบียบวินัยของพรรค (Party Discipline) และความ คำถามนั้นหลักใหญ่จะมาจากการวิเคราะห์ชุดข้อมูลที่จะ
เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของพรรค (Party Cohesion) แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง แบบแผนที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด คำถามที่ ค ำตอบ

ของพรรคการเมืองนั้นๆ อยู่ในระดับมาก จะได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึก พร้อมกับการวิเคราะห์


บริบทแวดล้อมของการลงมติในช่วงเวลานั้นๆ
ส่ ว นค่ า สถิ ติ ที่ ใช้ ใ นการหาแบบแผนการโหวตข้ า ม
พรรคก็คือ ค่าสถิติการโหวตข้ามพรรค (Cross-Party นอกจากข้ อ มู ล จากการสั ม ภาษณ์ แ ล้ ว ข้ อ มู ล

Voting Scores) ที่การคำนวณเกิดจากการนำแนวทาง เชิ ง เอกสาร เช่ น บั น ทึ ก การประชุ ม ในวั น ลงมติ วาระ

การออกเสี ย งลงมติ ข องพรรคการเมื อ งหนึ่ ง ในเรื่ อ ง การประชุ ม หรื อ ข่ า วสารในสื่ อ มวลชนก็ จ ะถู ก นำมา
พิ จ ารณาต่ า งๆ มาเปรี ย บเที ย บกั บ พรรคการเมื อ งอื่ น
วิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลเชิงประจักษ์และข้อมูลจากการ
โดยการพิ จ ารณาหาแนวทางการออกเสี ย งลงมติ ข อง สัมภาษณ์ข้างต้นอีกด้วย
พรรคการเมื อ งจะยึ ด ตามเสี ย งส่ ว นใหญ่ ข องพรรคนั้ น

ซึ่งแต่ละพรรคการเมืองจะมีแนวทางการออกเสียงลงมติ ข้อค้นพบและบทวิเคราะห์
ทั้งที่เหมือนกันหรือแตกต่างกัน 1. โหวตตามพรรค
เมื่ อ ได้ แ บบแผนการลงมติ ใ นเชิ ง ประจั ก ษ์ แ ล้ ว
เมื่อตั้งคำถามว่า ส.ส. ในฐานะปัจเจกบุคลนั้นโหวต
จะดำเนินการสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้ ตามใจหรื อ โหวตตามพรรค คำตอบที่ ไ ด้ คื อ ส.ส. นั้ น
“แบบแผนการลงมติ” ที่ได้จากการวิเคราะห์ทางสถิติ โหวตตามพรรค ซึ่งที่มาของคำตอบมาจากการพิจารณา
เป็นข้อมูลพื้นฐานในการสัมภาษณ์ เพื่อหาข้อยืนยันหรือ ค่ า สถิ ติ ก ารโหวตตามพรรค (Party Loyalty Score)
ข้ อ โต้ แ ย้ ง อื่ น (ที่ อ าจจะมี ) ว่ า แบบแผนการลงมติ ใ น ของ ส.ส. เป็ น รายบุ ค คลในแต่ ล ะสมั ย โดยหลั ก ฐาน

รัฐสภานั้นเป็นอย่างไร และมีความสอดคล้องกับการทำ ที่ยืนยันการมีพฤติกรรมนี้มาจากการพิจารณาค่าสถิติ


หน้าที่ “ตัวแทน” ของประชาชนในลักษณะใด โดยผู้ที่ การโหวตตามพรรคภาพรวมของ ส.ส. ในแต่ ล ะสมั ย

ถูกสัมภาษณ์มีดังนี้ คือ ที่ พ บว่ า ส.ส. ส่ ว นใหญ่ มี แ บบแผนการลงมติ เ ป็ น ไป

1. อดีตประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วม ในทิ ศ ทางเดี ย วกั น กั บ มติ ข องพรรค แผนภาพที่ 2

รัฐบาล (วิปรัฐบาล) และประธานคณะกรรมการ ได้ น ำเสนอค่ า สถิ ติ ก ารโหวตตามพรรคของ ส.ส. ใน

34 มกราคม - เมษายน 2561


เมื่อตั้งคําถามวา ส.ส. ในฐานะปจเจกบุคลนั้นโหวตตามใจหรือโหวตตามพรรค คําตอบที่ไดคือ ส.ส.
นั้นโหวตตามพรรค ซึ่งที่มาของคําตอบมาจากการพิจารณาคาสถิติการโหวตตามพรรค (Party Loyalty
Score) ของ ส.ส. เปนรายบุคคลในแตละสมัย โดยหลักฐานที่ยืนยันการมีพฤติกรรมนี้มาจากการพิจารณา
คาสถิติการโหวตตามพรรคภาพรวมของ ส.ส. ในแตละสมัย ที่พบวา ส.ส. สวนใหญมีแบบแผนการลงมติ
เปนไปในทิศทางเดียวกันกับมติของพรรค แผนภาพที่ 2 ไดนําเสนอคาสถิติการโหวตตามพรรคของ ส.ส.
สภาผูแทนราษฎรชุ
ในสภาผู ้แทนราษฎรชุดดที ที่ ่ 20
20––2424ซึ่งซึชี่ง้ใชีห้้ใเหห็นเห็ว่นาค่วาาสถิ
คาตสถิ

ตส่วิกนใหญ่ ลงมติเป็นไปในทิศทางเดี
ารโหวตตามพรรคแต ละสมัยยวกันัน้นกับอยูมติใแนระดั
ละเสียบงที่สูง
การโหวตตามพรรคแต่ละสมัยนั้น อยู่ในระดับที่สูงกว่า ส่วนใหญ่ของพรรค
กวารร้ออยละ 90 ทั้งสิ้น สะทอนใหเห็นวา การลงมติของ ส.ส. สวนใหญลงมติเปนไปในทิศทางเดียวกันกับมติ
ยละ 90 ทั้งสิ้น สะท้อนให้เห็นว่า การลงมติของ ส.ส.
และเสียงสวนใหญของพรรค
แผนภาพที่ ่ 22
แผนภาพที
คาค่เฉลี
าเฉลี่ยการโหวตตามพรรคของสภาผู
่ยการโหวตตามพรรคของสภาผู้แแทนราษฎร
ทนราษฎรชุชุดดทีที่ ่ 20
20––24
24

ทำไม ส.ส. โหวตตามพรรค 12 นั้ น จะมี ก ระบวนการลงโทษจากเบาไปหาหนั ก ตาม


ระเบี ย บและข้ อ บั ง คั บ ของแต่ ล ะพรรคได้ ก ำหนดไว้

แม้ จ ะสรุ ป ได้ ว่ า ส.ส. นั้ น โหวตตามพรรค แต่

คำอธิ บ ายว่ า ทำไม ส.ส. นั้ น โหวตตามพรรคยั ง คงรอ


จากการสัมภาษณ์ อดีต ส.ส. จากพรรคการเมืองใหญ่
พรรคหนึ่ง และ อดีต ส.ส. พรรคการเมืองขนาดกลาง
การอธิ บ าย โดยคำอธิ บ ายที่ มี ก็ คื อ เมื่ อ พิ จ ารณาถึ ง

ค่อนไปทางเล็กได้ให้คำอธิบายที่คล้ายกันว่า การไม่ทำ
เหตุ ปั จ จั ย ในการลงมติ ข อง ส.ส. ในแต่ ล ะครั้ ง พบว่ า
ตามมติพรรคในบางเรื่องนั้นในครั้งแรกๆ อาจจะมีการ
ปั จ จั ย ที่ ท ำให้ ส.ส. ไทยนั้ น เลื อ กที่ จ ะ “โหวต” หรื อ

เรียกมาเพื่อสอบถาม ตักเตือนหรือต่อว่า แต่หากมีครั้ง


“ไม่โหวต” ไปในทางใดทางหนึ่งในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ไม่ใช่
ต่อๆ ไป การ “ตัดหรือริดรอนทรัพยากร” ที่พรรคได้มีให้
เป็ น เรื่ อ งของการลงมติ ต ามจุ ด ยื น นโยบาย (Spatial
Voting) หรื อ อุ ด มการณ์ ท างการเมื อ ง (Political อั น ได้ แ ก่ เงิ น เดื อ น เบี้ ย เลี้ ย ง เบี้ ย ประชุ ม หรื อ

Ideology) หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แรงจูงใจภายใน


การสนับสนุนในรูปแบบอื่นในพื้นที่ส่วนกลางและพื้นที่
ที่ ป ราศจากข้ อ จำกั ด (Constraints) ที่ ม าจากพรรค ส่วนตัวนั้นก็จะเกิดขึ้น แต่หากถามว่าการลงโทษจะไปถึง
การเมือง ขั้นไม่ส่งลงสมัครรับเลือกตั้งในครั้งต่อไปนั้นจะเกิดขึ้น
หรือไม่ ผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งสองก็ตอบว่าเป็นไปได้ แต่ก็ยัง
แต่ปัจจัยที่ส่งผลเป็นหลักในการลงมติของ ส.ส. ไทย ไม่เคยเห็นว่าจะเคยเกิดขึ้นแล้ว
คื อ “แรงจู ง ใจทางการเมื อ ง” (ข้ อ ที่ 2 ของกรอบ

การวิเคราะห์) ซึ่งในที่นี้คือความต้องการในการลงรับ แต่การที่ ส.ส. นั้นโหวตตามพรรคทำให้เกิดคำถามอีก


สมัครรับเลือกตั้งอีกครั้งหนึ่ง หรือความต้องการในความ หนึ่งคำถามตามมาคือ ถ้า ส.ส. ไม่ดื้อเช่นนี้แล้ว ส.ส. ก็ไม่
ก้าวหน้าในองค์กรพรรคการเมือง ซึ่งแรงจูงใจดังกล่าวนี้ ได้ต่างไปจากฉายาที่สื่อมวลชนหรือผู้สันทัดทางการเมือง
จะส่งผลให้ ส.ส. เชื่อฟังและทำตามมติของพรรค เพราะ ได้ให้ไว้ว่าเป็น “สภาฝักถั่ว” เพราะการลงมติแต่ละครั้ง

การทำตัว “ดื้อ” หรือการไม่ทำตามมติพรรคของ ส.ส. ดูเสมือนว่า ส.ส. ไม่สามารถตัดสินใจในการลงมติได้ด้วย

มกราคม - เมษายน 2561 35


โหวตเพื่อใคร : พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย

ตนเอง แต่หากพึ่งสัญญาณจากพรรคการเมืองอยู่ทุกครั้ง กรรมาธิการที่เขาเก่งด้านนี้อย่างเช่น อาจารย์ ก. เก่ง


ไป ซึ่ ง การไม่ ต อบคำถามนี้ ดู จ ะเป็ น การไม่ เ ป็ น ธรรม
เรื่องกฎหมายท้องถิ่น พอถึงพระราชบัญญัติที่บัญญัติ
ต่อการทำหน้าที่ผู้แทนราษฎรผู้ที่จะต้องนำความต้องการ เรื่ อ งท้ อ งถิ่ น หน้ า ที่ อ ะไรต่ า งๆ ก็ ใ ห้ อ าจารย์ ม าดู

ของประชาชนนำเสนอในสภาให้ ไ ด้ ซึ่ ง คำถามนี้ คื อ อย่างนี้คือใช้คนให้ถูกกับงาน แล้วก็ทำไงให้ประสบ


พรรคการเมืองได้มีระบบอะไรหรือไม่ที่ได้ทำให้ ส.ส. ได้ ความสำเร็ จ มากที่ สุ ด ก็ คื อ ทุ ก เรื่ อ งต้ อ งเข้ า ใจง่ า ย

แสดงความเห็นต่าง ความวิตกกังวล (ถ้ามี) ต่อเรื่องที่จะ จากเห็นต่างมาเห็นคล้อย มาเห็นคล้อยแล้วมาเห็น


ต้องลงมติ หรือช่องทางที่จะแสดงให้ประชาชนได้เห็น ตาม แล้วมาสุดท้ายมาเห็นด้วย นี่คือหัวใจ เห็นต่าง
ว่ า การแสดงออกซึ่ ง ความเป็ น ผู้ แ ทนราษฎรของ ส.ส. มาเห็นคล้อย เห็นคล้อยแล้วมาเห็นตาม แล้วก็มาเห็น
แต่ละคนนั้นได้เกิดขึ้น ด้ ว ย อั น นี้ ส ำหรั บ ผมนะคื อ ถ้ า ทำตรงนี้ ไ ด้ ไอ้ ค นนี้
ทำงานสำเร็จผล” (อดีตประธานวิปพรรคการเมือง
ซึ่งคำถามที่มีต่อมาคือ พรรคการเมืองมีระบบหรือ
ขนาดใหญ่ คนที่ 2)
การจัดการอย่างไรที่ทำให้ ส.ส. นั้นโหวตตามพรรค แต่
ในขณะเดียวกันก็ทำให้ ส.ส. นั้นได้แสดงความเป็นผู้แทน จากการสัมภาษณ์อดีตประธานวิปฝ่ายรัฐบาลของ
ของประชาชนต่อเรื่องที่จะต้องโหวตบ้าง พรรคการเมืองขนาดใหญ่และผู้บริหารพรรคการเมือง
ขนาดกลาง ได้ทำให้เห็นกระบวนการการทำความเข้าใจ
เป็นที่แน่นอนว่า การมีระบบกรรมการประสานงาน
ในเรื่ อ งที่ จ ะลงมติ แ ละการได้ ม าซึ่ ง มติ พ รรคการเมื อ ง
พรรคร่วมรัฐบาลหรือพรรคฝ่ายค้าน หรือ “วิป” (Whip)
แต่ละพรรคว่า กระบวนการนั้นจะเริ่มขึ้นโดยให้มีการ
เป็นระบบที่พรรคจะใช้ในการควบคุมให้ ส.ส. นั้นลงมติ
ประชุม ส.ส. ของพรรคก่อนการพิจารณาร่างกฎหมายใน
ตามมติ ข องพรรค ซึ่ ง การอธิ บ ายแบบนี้ เ ป็ น การให้

สภาผู้แทนราษฎร และในที่ประชุมพรรคนั้น จะมีการ


คำอธิบายที่ไม่ครบถ้วน เพราะจะทำให้ดูเหมือนว่าระบบ
เปิดโอกาสให้สมาชิกได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่
วิ ป นั้ น คื อ ระบบที่ บั ง คั บ ให้ ส.ส. ต้ อ งทำตามมติ พ รรค
ก่ อ นจะหาข้ อ ยุ ติ เพื่ อ ให้ ไ ด้ “มติ พ รรค” ซึ่ ง ส.ส. ของ
เพี ย งอย่ า งเดี ย ว ซึ่ ง ในความเป็ น จริ ง นั้ น ระบบวิ ป เป็ น
พรรคทุกคนเคารพในมติของพรรค ถือว่าเป็นฉันทามติ
ระบบที่พรรคการเมืองมีไว้เพื่อ “ทำความเข้าใจกับ ส.ส.
ร่วมกัน นอกจากนี้พรรคยังมีการ “ให้ความรู้” แก่ ส.ส.
ในการลงมติ” เป็นระบบที่อำนวยให้เกิดการถกเถียงเพื่อ
โดยเชิญผู้เชี่ยวชาญ นักกฎหมาย มาอธิบายให้ ส.ส. ใน
กำหนดทิศทาง และหาข้อสรุป ในส่วนนี้ทำให้ ส.ส. ได้มี
พรรครับทราบ
การพู ด คุ ย และนำไปสู่ ข้ อ ยุ ติ หรื อ ในอี ก ทางหนึ่ ง ได้

แสดงความไม่เห็นด้วยต่อเรื่องที่จะลงมติ แต่ก็ต้องเคารพ
ทั้งนี้ บทบาทของ “คณะกรรมการประสานงานพรรค
กับหลักการเสียงข้างมากของพรรคการเมืองในระบอบ ร่วม (วิป)” แต่ละฝ่ายนั้นมีความสำคัญต่อการกำหนด
ประชาธิปไตย ทิ ศ ทางการลงมติ ข อง ส.ส. โดยการควบคุ ม ของวิ ป

จะเป็นการควบคุมในระดับบน ผ่านพรรคการเมืองลงมา
“ ... อย่างผมเป็นประธานมานี้ ผมเป็นประธาน

อีกชั้นหนึ่ง และวิปเองก็เป็นปัจจัยสำคัญในการกำหนด
มาทั้งฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายค้านอาจจะเป็นคนไม่กี่คนอะนะ
อุดมการณ์/พฤติกรรมบางประการให้กับ ส.ส. กล่าวคือ
ที่ต้องรับบทบาทตรงนี้ แต่ในเวลาเดียวกันเนี้ยเราต้อง
หากเป็นวิปฝ่ายค้านจำเป็นจะต้องกำหนดการลงมติให้
ปรับปรุง (การทำงานของวิป) เช่น การสื่อความเข้าใจ
เป็ น ไปในทิ ศ ทางตรงข้ า มกั บ ฝ่ า ยรั ฐ บาล วิ ป จึ ง มี

ก็คือเราก็ต้องมีความกว้างขวาง มีการใช้คนที่อาจจะ
ความสำคั ญ ไม่ แ พ้ กั น โดยวิ ป จะมี ก ารควบคุ ม ให้ ส.ส.

เอานั ก วิ ช าการจากมหาวิ ท ยาลั ย มาสั ก คนหนึ่ ง เป็ น

36 มกราคม - เมษายน 2561


ลงมติเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และยังมีบทกำหนดโทษ เพราะถ้าพรรคการเมืองมีความเข้มแข็งมาก ส.ส. ก็จะ
เอาไว้ด้วย ซึ่งมีความแตกต่างกันไป บางพรรคใช้ระบบ
แข็งขืนต่อมติพรรคได้ยากขึ้นเช่นกัน
ว่ า กล่ า วตั ก เตื อ น บางพรรคใช้ ก ารตั ด การสนั บ สนุ น
ที่สำคัญ “ข้อจำกัดของการลงมติ” ก็เป็นปัจจัยยับยั้ง
ทรัพยากรต่างๆ ฯลฯ โดยแกนนำของพรรคขนาดกลาง
ไม่ให้ ส.ส. แสดงพฤติกรรมบางอย่าง และผลักให้ ส.ส.
และอดีตคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล

แสดงพฤติกรรมอีกอย่างหนึ่งชัดเจนขึ้น ซึ่งได้แก่ กฎของ


ได้อธิบายไว้ว่า
พรรคการเมื อ ง และประเภทของการเป็ น ส.ส. อาทิ

“มันก็มี บางคนมันก็มี มันก็มีแหกโผพรรค มีเยอะ ส.ส. แบบแบ่ ง เขต และ ส.ส. แบบบั ญ ชี ร ายชื่ อ ที่ มี
มันก็เคยมีบ่อย ๆ อันนี้พวกที่แหกโผ แต่ละพรรคก็จะ พฤติ ก รรมการลงมติ ที่ แ ตกต่ า งกั น โดยกฎของพรรค

มี ร ะเบี ย บ มี ม ติ ข องพรรคว่ า จะดำเนิ น การอย่ า งไร สอดรั บ กั บ ปั จ จั ย เรื่ อ งแรงจู ง ใจทางการเมื อ ง นั่ น คื อ

ของเราก็ จ ากเบาไปหาหนั ก ก็ จ ะต้ อ งถามเหตุ ผ ล


การได้ เ ป็ น ตั ว แทนของพรรคลงสมั ค รรั บ เลื อ กตั้ ง ครั้ ง

ถ้าแต่ละคนมีเหตุผลฟังได้เราก็โอเค แต่ถ้าไม่มีเหตุผล ต่ อไ ป ก ล่ า วอี กนั ย ห นึ่ ง ได้ ว่ า พ รร ค กา รเ มื อ งมี

อะไร ก็ว่ากล่าวตักเตือนอะไรก็ว่ากันไป” (ผู้บริหาร ความสำคัญในการกำหนดพฤติกรรมของ ส.ส. ให้ “ทำ”


พรรคการเมืองขนาดกลาง) หรือ “ไม่ทำ” อะไรในสภาผูแ้ ทนราษฎร และความเข้มแข็ง
ของพรรคการเมื อ ง เป็ น ทั้ ง แรงจู ง ใจและข้ อ จำกั ด ใน

“ทำความเข้าใจพรรคให้ชัดเจนแล้วถึงจะให้พรรค
คราวเดียวกัน ในส่วนของประเภทของการเป็น ส.ส. จะ
มี ม ติ พรรคการเมื อ งมี ม ติ ก็ คื อ เพื่ อ ให้ ทิ ศ ทาง

พบว่า มีความต่างกันในพฤติกรรมการลงมติ แม้ไม่มีผล


การโหวตเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ไม่ใช่เป็นพรรค
มากมายนั ก แต่ ก็ เ ป็ น ปั จ จั ย ที่ ท ำให้ ส.ส. เข้ า ร่ ว มหรื อ

รั ฐ บาลเสร็ จ เห็ น ต่ า งไม่ ไ ด้ เห็ น ได้ แต่ ต้ อ งทำ

ไม่ เข้ า ร่ ว มในการลงมติ ดั ง ที่ เ คยปรากฏในสภาผู้ แ ทน


ความเข้ า ใจ คณะกรรมการประสานงานต้ อ งชี้ แจง

ราษฎรชุดที่ 21 ที่ในปลายสมัยนั้น ส.ส. แบบแบ่งเขต


เขาว่าทำไมถึงตราออกมาเป็น พ.ร.บ.” (อดีตประธานวิป
ส่วนใหญ่เลือกที่จะไม่เข้าร่วมลงมติในสภา
พรรคการเมืองขนาดใหญ่ คนที่ 2)
อย่ า งไรก็ ดี เมื่ อ สอบถามไปยั ง อดี ต ส.ส. จาก
นอกเหนือไปจากระบบวิปแล้ว การใช้การดูแลผ่าน
พรรคการเมืองขนาดเล็ก อดีต ส.ส. จากพรรคการเมือง
ระบบ “การสนับสนุนทรัพยากร” ให้กับ ส.ส. แต่ละคน
ขนาดกลาง และ อดีต ส.ส. จากพรรคการเมืองใหญ่ ต่าง
ก็ได้ส่งผลในเวลาลงมติที่ ส.ส. จะไม่ “ดื้อ” ต่อมติพรรค
ตอบตรงกันว่า “แรงกดดันจากประชาชนในพื้นที่มีผลต่อ
มากนั ก เนื่ อ งจาก ส.ส. มองว่ า เป็ น การต่ า งตอบแทน

การลงมติของ ส.ส. หรือไม่ ?” คำตอบที่ได้คือ มีในระดับ


ซึ่งกันและกัน โดยอดีต ส.ส. พรรคการเมืองขนาดใหญ่

ที่ ไ ม่ ม ากนั ก เนื่ อ งจากประชาชนในพื้ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ติ ด ตาม

ได้ อ ธิ บ ายถึ ง ระบบนี้ ว่ า เมื่ อ พรรคมี ก ระบวนการดู แ ล


การลงมติในสภาของ ส.ส. มากนัก จึงไม่มีการกดดันให้
ส.ส. ในการลงมติ จึงทำให้ ส.ส. ส่วนใหญ่ไม่ “ดื้อ” ใน
ส.ส. ให้ลงมติในเรื่องต่างๆ ยกเว้นกฎหมายบางฉบับที่อยู่
การลงมติ เพราะเป็นปัจจัยที่ทำให้ ส.ส. มีความอยู่รอด
ในความสนใจของผู้ ค นวงกว้ า ง หรื อ มาจากกลุ่ ม
ทางการเมืองมากที่สุด ในขณะที่ปัจจัยเรื่องอุดมการณ์
เคลื่อนไหวหรือภาคประชาสังคมต่างๆ ซึ่งกลุ่มเหล่านี้

และความต้ อ งการของประชาชนในพื้ น ที่ ยั ง มี

มี บ ทบาทเคลื่ อ นไหวในประเด็ น ผลั ก ดั น ร่ า งกฎหมาย

ความสำคั ญ ไม่ เ ที ย บเท่ า กั บ ความอยู่ ร อดในการเป็ น


มากกว่าประชาชนทั่วไป ซึ่งให้ความสนใจ ส.ส. ในฐานะ
ตัวแทนของพรรค ทั้งนี้ความเข้มแข็งของพรรคการเมือง
เป็นปากเสียงสะท้อนปัญหาของประชาชน ซึ่งอดีต ส.ส.
จึงเป็นตัวแปรสำคัญที่จะทำให้ ส.ส. มีวินัยในการลงมติ

มกราคม - เมษายน 2561 37


โหวตเพื่อใคร : พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย

จากพรรคการเมื อ งขนาดเล็ ก อดี ต ส.ส. จากพรรค 2. โหวตตามฝ่าย


การเมืองขนาดกลาง และ อดีต ส.ส. จากพรรคการเมือง
เมื่อพิจารณาข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่ออกเสียงลงมติ
ใหญ่ ได้อธิบายตรงกันว่า
ในการพิ จ ารณาร่ า งกฎหมาย และเรื่ อ งพิ จ ารณาอื่ น ๆ
“พรรคการเมืองขนาดเล็ก ทำอะไรได้ไม่มาก แต่ก็ ของฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาลของไทย
นำปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนมาพูดในสภา พบว่ า กรณี ข องสภาผู้ แ ทนราษฎรไทยก็ เ ป็ น ไปตาม
เพื่อให้คนส่วนใหญ่ได้รู้ว่า มันมีปัญหาแบบนี้เกิดขึ้น
ทฤษฎีและแนวประเพณีการทำงานของพรรคการเมือง

ในสังคมนะ” (อดีต ส.ส. จากพรรคการเมืองขนาดเล็ก) ที่ว่า การลงมติของพรรคการเมืองที่แบ่งเป็นฝ่ายพรรค


ร่ ว มรั ฐ บาลและฝ่ า ยพรรคที่ ไ ม่ ไ ด้ เข้ า ร่ ว มรั ฐ บาลนั้ น

“ประชาชนเขาต้ อ งการ ส.ส. เพื่ อ ดู แ ลปั ญ หา

จะเป็ น การ “โหวตตามฝ่ า ย” ที่ อ ธิ บ ายได้ ว่ า ทิ ศ ทาง

ความเดื อ ดร้ อ นของประชาชนในพื้ น ที่ เวลาเขา

การลงมติของทั้งจากฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วม
เดือดร้อน เขาอยากเห็นหน้า ส.ส. ของเขา ไม่ใช่เลือกตัง้
รัฐบาล จะมีทิศทางการลงมติที่แตกต่างกันเป็นส่วนใหญ่
เสร็จแล้วหาย” (อดีต ส.ส. พรรคการเมืองขนาดกลาง)
ตารางที่ 1 ได้ แ สดงหลั ก ฐานเชิ ง ประจั ก ษ์ ข องการ
และ
โหวตตามฝ่ายของ ส.ส. ในสมัยสภาผู้แทนราษฎรชุดที่
“ชาวบ้านเขาชอบนโยบาย กฎหมายเป็นเรื่องรอง 20 – 24 ซึ่งจะเห็นว่าสัดส่วนของการลงมติไปในทิศทาง
คื อ ประชาชนสนใจความเป็ น อยู่ ข องเขา ว่ า มี กิ น เดียวกันนั้น โดยเฉลี่ยแล้วจะเป็นเพียงจำนวน 1 ใน 3
อย่างไร ซึ่งเป็นเรื่องของนโยบาย เป็นเรื่องของรัฐบาล ของการลงมติทั้งหมด
ซึ่งเป็นสัญญาประชาคม” (อดีต ส.ส. พรรคการเมือง
ขนาดใหญ่)

ตารางที่ 1 ทิศทางการลงมติของฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล ตามสมัยสภาผู้แทนราษฎร

ทิศทางการลงมติของฝ่ายรัฐบาล

และฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล (ร้อยละ) รวม

สมัยสภาผู้แทนราษฎร
ลงมติไปใน
ลงมติ
(ร้อยละ)
ทิศทางเดียวกัน ต่างทิศทางกัน
ชุดที่ 20 (พ.ศ. 2541-2543) 24.89 75.11 100
ชุดที่ 21 (พ.ศ. 2544-2547) 17.79 82.21 100
ชุดที่ 22 (พ.ศ. 2548) 2.53 97.47 100
ชุดที่ 23 (1) (พ.ศ. 2552) 28.83 71.17 100
ชุดที่ 23 (2) (พ.ศ. 2552-2554) 18.12 81.88 100
ชุดที่ 24 (พ.ศ. 2554-2556) 30.30 69.70 100

38 มกราคม - เมษายน 2561


เมื่อพิจารณาถึงเหตุผลของทิศทางการลงมติของฝ่าย มากที่สุด ให้โหวตตามฝ่ายให้มากที่สุดและเกิดการโหวต
รั ฐ บาลและฝ่ า ยที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ข้ า ร่ ว มรั ฐ บาล ที่ เ ป็ น ไป
ข้ามฝ่ายน้อยทีส่ ดุ ดังทีป่ ระธานคณะกรรมการประสานงาน
ในลั ก ษณะ “โหวตตามฝ่ า ย” น่ า จะมี ส าเหตุ ม าจาก
พรรคร่วมรัฐบาล (วิปรัฐบาล) คนที่ 2 ให้สัมภาษณ์ไว้ว่า
ความคาดหวังในการทำหน้าทีข่ องสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร
“วิปนี่แหละตัวสำคัญถ้าวิปไม่เห็นด้วยมันก็ต้อง

(ส.ส.) ในสั ง กั ด ทั้ ง ฝ่ า ยรั ฐ บาลและฝ่ า ยที่ ไ ม่ ไ ด้ เข้ า ร่ ว ม


คุ ย กั น ว่ า เห็ น ต่ า งเพราะอะไร ไม่ งั้ น ตราพระราช-
รัฐบาล กล่าวคือ เมื่อ ส.ส. เป็นฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล
บั ญ ญั ติ นี้ อ อกไปแล้ ว ยุ่ ง ละ อะไรแบบนี้ มั น ก็ จ ะเกิ ด
ก็ ค วรจะทำหน้ า ที่ ใ นการตรวจสอบการทำงานของ

รัฐบาลก็จะกลัวจุดนี้มาก”
ฝ่ายรัฐบาล รวมถึงการทำหน้าที่คัดค้านเพื่อถ่วงดุลการ
ทำงานของฝ่ายรัฐบาล ส่วน ส.ส. ฝ่ายรัฐบาลก็ควรทำ “ ..อย่ า งผมเป็ น ประธานมานี้ ผมเป็ น ประธาน

หน้ า ที่ ล งมติ ใ นการพิ จ ารณาร่ า งกฎหมาย และเรื่ อ ง มาทั้งฝ่ายรัฐบาลฝ่ายค้านอาจจะเป็นคนไม่กี่คนอะนะ


พิจารณาอื่นๆ อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ดังนั้น
ที่ต้องรับบทบาทตรงนี้ แต่ในเวลาเดียวกันเนี้ยเราต้อง
ปรับปรุง (การทำงานของวิป) เช่น การสื่อความเข้าใจ
ทั้ ง ฝ่ า ยรั ฐ บาลและฝ่ า ยที่ ไ ม่ ไ ด้ เข้ า ร่ ว มรั ฐ บาล จึ ง มี

ความจำเป็นที่จะต้อง “โหวตตามฝ่าย” เพื่อทำหน้าที่ ก็คือเราก็ต้องมีความกว้างขวาง มีการใช้คนที่อาจจะ


ของฝ่ายตนให้สำเร็จลุล่วง เอานั ก วิ ช าการจากมหาวิ ท ยาลั ย มาสั ก คนหนึ่ ง เป็ น
กรรมาธิการที่เขาเก่งด้านนี้อย่างเช่นอาจารย์ ก. เก่ง
นอกจากนี้ ยังมีเหตุผลประการสำคัญ ที่ทำให้ทิศทาง
เรื่องกฎหมายท้องถิ่น พอถึงพระราชบัญญัติที่บัญญัติ
การลงมติของฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล
เรื่ อ งท้ อ งถิ่ น หน้ า ที่ อ ะไรต่ า งๆ ก็ ใ ห้ อ าจารย์ ม าดู

เป็นไปในลักษณะ “โหวตตามฝ่าย” ได้แก่ การหวังผล


อย่างนี้คือใช้คนให้ถูกกับงาน แล้วก็ทำไงให้ประสบ
ทางการเมื อ ง เนื่ อ งจากฝ่ า ยที่ ไ ม่ ไ ด้ เข้ า ร่ ว มรั ฐ บาล

ความสำเร็ จ มากที่ สุ ด ก็ คื อ ทุ ก เรื่ อ งต้ อ งเข้ า ใจง่ า ย

มีแรงจูงใจในความต้องการเป็นรัฐบาล จึงต้องพยายาม
จากเห็นต่างมาเห็นคล้อย มาเห็นคล้อยแล้วมาเห็น
ทำให้การลงมติของฝ่ายตนส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติ
ตาม แล้วมาสุดท้ายมาเห็นด้วย นี่คือหัวใจ เห็นต่าง
หน้าที่ของฝ่ายรัฐบาล (แม้ว่าจำนวนเสียงในการลงมติ
มาเห็นคล้อย เห็นคล้อยแล้วมาเห็นตาม แล้วก็มาเห็น
อาจสู้ไม่ได้ แต่ต้องรักษาการ “โหวตตามฝ่าย” ของตน
ด้ ว ย อั น นี้ ส ำหรั บ ผมนะคื อ ถ้ า ทำตรงนี้ ไ ด้ ไอ้ ค นนี้
ให้มากที่สุด) ส่วนฝ่ายรัฐบาลก็มีแรงจูงใจในการรักษา
ทำงานสำเร็จผล” (อดีตประธานวิปพรรคการเมือง
เสถียรภาพของรัฐบาลเอาไว้ให้มั่นคงที่สุด เพื่อการเป็น
ขนาดใหญ่ คนที่ 2)
รัฐบาลในสมัยต่อๆ ไป การ “โหวตตามฝ่าย” ของฝ่าย
รัฐบาลจึงสำคัญต่อผลทางการเมืองไม่น้อยไปกว่าฝ่าย
เพราะฉะนั้นบทบาทของคณะกรรมการประสานงาน
ที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล พรรคร่ ว มของทั้ ง ฝ่ า ยรั ฐ บาล และฝ่ า ยที่ ไ ม่ ไ ด้ เข้ า ร่ ว ม
รัฐบาล จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อพฤติกรรมการออก
ทั้งนี้ผลการโหวตตามฝ่ายก็มาจากบทบาทการทำงาน
เสียงลงมติของส.ส.ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันในฝ่าย
ของทั้ ง คณะกรรมการประสานงานพรรคร่ ว มรั ฐ บาล

ตนเองและต่างทิศทางกับฝ่ายตรงข้าม หรือการโหวต
(วิปรัฐบาล) และประธานคณะกรรมการประสานงาน
ตามฝ่ายของสภาผู้แทนราษฎรไทยในทุกสมัย
พรรคฝ่ า ยค้ า น (วิ ป ฝ่ า ยค้ า น) ในการทำหน้ า ที่ ชี้ แจง
อธิบาย โน้มน้าว และควบคุมเสียงโหวตของบรรดา ส.ส. การศึกษาครั้งนี้ พบว่า ในกรณีของสมัยสภาผู้แทน
ฝ่ า ยตั ว เองให้ เ ป็ น ไปในทิ ศ ทางของฝ่ า ยตนเองให้ ไ ด้
ราษฎรชุดที่ 22 (พ.ศ. 2548) มีการลงมติต่างทิศทางกัน

มกราคม - เมษายน 2561 39


โหวตเพื่อใคร : พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย

ของฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาลสูงที่สุด คือ เป็น ‘ฝ่าย’ มาร่วมอธิบายถึงข้อสรุปว่าโหวตตามฝ่าย


ร้อยละ 97.47 (แสดงว่าเกิดการ “โหวตตามฝ่าย” ใน หรือไม่อย่างไร จุดนี้จึงเป็นความแตกต่างที่แยกค่าทั้งสอง
สัดส่วนที่สูงที่สุดเช่นกัน) ซึ่งน่าจะเป็นผลจากการจับขั้ว ออกจากกัน
ทางการเมื อ ง ที่ เ ป็ น ผลจากรั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ ปี 2540

จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าพฤติกรรมการโหวต
ที่ ต้ อ งการให้ มี 2 พรรคการเมื อ ง จึ ง มี ก ารแบ่ ง ขั้ ว ทาง

ข้ามพรรคนั้นเกิดขึ้นจากส่วนผสมของ 3 ปัจจัยด้วยกัน
การเมื อ งที่ ชั ด เจน โดยแบ่ ง ขั้ ว ทางการเมื อ งระหว่ า ง

คือ (1) สถานภาพของพรรคการเมืองว่าเป็นฝ่ายรัฐบาล


2 พรรคการเมืองใหญ่ในขณะนั้น คือ พรรคไทยรักไทย
หรื อ ฝ่ า ยที่ ไ ม่ ไ ด้ เข้ า ร่ ว มรั ฐ บาล (2) ผลประโยชน์ ท าง

(เป็นรัฐบาลพรรคเดียว) และพรรคประชาธิปัตย์ (เป็น


การเมื อ งที่ จ ะได้ รั บ ของแต่ ล ะพรรคการเมื อ งจาก

แกนนำฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล โดยมีพรรคชาติไทย
การโหวตข้ามพรรค และ (3) ขนาดของพรรคการเมือง
และพรรคมหาชนเป็นพรรคที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล) เมื่อ
อันได้แก่ การเป็นพรรคการเมืองขนาดใหญ่ ขนาดกลาง
เกิดการแบ่งขั้วชัดเจน ทั้งสองฝ่ายก็ยิ่งต้องสร้างจุดยืน

หรือขนาดเล็ก โดยข้อค้นพบมีดังนี้ คือ


ที่ต่างกัน
หนึ่ ง ในภาพรวมไม่ มี พ รรคฝ่ า ยรั ฐ บาลโหวต

วิธีการจับขั้ว/แบ่งขั้วทางการเมืองที่ชัดเจนของฝ่าย
ข้ามพรรคกับพรรคฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล มีแต่พรรค
รัฐบาลและฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล ส่งผลให้ในสมัย
ในฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล โหวตข้ามพรรคกับพรรค
สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 22 มีความโดดเด่น หากการเมือง
ฝ่ า ยรั ฐ บาล เหตุ ผ ลที่ พ รรคฝ่ า ยรั ฐ บาลไม่ มี ก ารโหวต

ไทยเป็ น ระบบ 2 พรรคการเมื อ ง ความต่ า งกั น ในการ

ข้ามไปพรรคฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาลเลยนั้น อาจเป็น
ลงมติ (โหวต) ก็จะชัด เพราะการลงมติข้ามฝ่ายเกิดขึ้นได้
ผลมาจากการไม่เห็นประโยชน์ใด ๆ ในการโหวตข้ามไป
ยาก ส่วนสมัยสภาผู้แทนราษฎรชุดอื่นๆ การจับขั้วไม่ใช่
นอกเสี ย จากในบางช่ ว งเวลาที่ อ าจมี สั ญ ญาณในการ
2 พรรคใหญ่ แต่เป็นพรรคร่วมหลายพรรค ทำให้ค่าของ
เปลี่ยนขั้วรัฐบาล พรรครัฐบาลอาจมีการโหวตข้ามไป
ทิศทางการลงมติไม่แตกต่างกันมาก
พรรคฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาลได้ ในส่วนเหตุผลที่พรรค
3. โหวตข้ามพรรค ฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล บางพรรคโหวตข้ามไปฝ่าย
รั ฐ บาล อาจเป็ น ผลมาจากต้ อ งการการสนั บ สนุ น จาก
โหวตข้ า มพรรค (Cross-Party Voting) เป็ น
พรรครั ฐ บาลในบางเรื่ อ งที่ พ รรคนั้ น ต้ อ งการ หรื อ

พฤติกรรมการลงมติที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของ
อย่างมากสุดคือการได้เข้าร่วมรัฐบาล
แต่ละพรรคการเมืองที่ไม่ได้ใช้ ‘ฝ่าย’ ที่แต่ละพรรคสังกัด
เป็ น สิ่ ง ตั้ ง ต้ น ในการจั ด แบบแผนการโหวต นั่ น คื อ สอง พรรคการเมืองขนาดใหญ่จะไม่มีการโหวตข้าม
เป็นการเข้าไปดูลักษณะทิศทางการโหวตด้วยการจับคู่ พรรค เนื่องจากพรรคขนาดใหญ่เป็นแกนนำของแต่ละ
ระหว่างพรรคการเมืองทุกพรรคที่อยู่ในรัฐสภา เพื่อหา ฝ่าย จึงมีหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ โดยพรรคขนาดใหญ่ที่เป็น
ข้ อ สรุ ป ว่ า มี ทิ ศ ทางร่ ว มกั น มากน้ อ ยเพี ย งใดก่ อ น โดย
แกนนำฝ่ายรัฐบาลนั้น มีหน้าที่รักษาความอยู่รอดของ
ผิวเผินแล้วหลายคนอาจเข้าใจว่าค่าการโหวตข้ามพรรค
รั ฐ บาล จึ ง ไม่ อ าจปล่ อ ยให้ ส.ส.โหวตข้ า มพรรคได้

มีความคล้ายคลึงกันในฐานการคิดในการหาค่าการโหวต แต่สำหรับพรรคการเมืองที่เป็นแกนนำพรรคฝ่ายที่ไม่ได้
ตามฝ่าย แต่เมื่อดูในรายละเอียดแล้วจะเห็นว่าการโหวต เข้ า ร่ ว มรั ฐ บาลนั้ น มี ห น้ า ที่ ใ นการตรวจสอบถ่ ว งดุ ล

ข้ามพรรคนั้นจะวิเคราะห์การโหวตด้วยสถานภาพของ รวมถึ ง การพยายามเปลี่ ย นขั้ ว เพื่ อ ขึ้ น มาเป็ น แกนนำ

พรรคในฐานะสมาชิกพรรคในรัฐสภาก่อนที่จะใช้ความ ในการจั ด ตั้ ง รั ฐ บาล พรรคแกนนำฝ่ า ยที่ ไ ม่ ไ ด้ เข้ า ร่ ว ม

40 มกราคม - เมษายน 2561


รัฐบาลจึงไม่สามารถปล่อยให้ ส.ส. โหวตข้ามพรรคได้ “การเมื อ ง มั น จำเป็ น จะต้ อ งเรี ย กว่ า สร้ า ง

เช่นกัน ความเชื่ อ มั่ น สร้ า งความศรั ท ธาในระหว่ า งเพื่ อ น


นักการเมืองด้วยกัน....คนทำงานด้วยกันคุณทำตอนมี
สาม พรรคการเมืองขนาดกลางจะมีพฤติกรรมการลง
สุข พอมีทุกข์แล้วคุณทิ้งเขา วันหลังใครเขาจะคบกับ
มติเป็นไปตามสถานะของพรรคนั้นๆ สำหรับพรรคขนาด
คุณ” (ผู้บริหารพรรคการเมืองขนาดกลาง)
กลางที่ ร่ ว มรั ฐ บาล ค่ า การโหวตข้ า มพรรคจะน้ อ ย
เนื่ อ งจากพรรคขนาดกลางได้ รั บ การจั ด สรรตำแหน่ ง “พรรคการเมืองขนาดกลางที่เป็นพรรคฝ่ายที่ไม่ได้
รัฐมนตรีที่ต้องการ ขณะเดียวกัน พรรคขนาดกลางที่ไม่ เข้ า ร่ ว มรั ฐ บาล” เมื่ อ พิ จ ารณาเปรี ย บเที ย บกั บ พรรค

ได้เข้าร่วมรัฐบาล จะมีพฤติกรรมการโหวตข้ามพรรคมาก แกนนำพรรคฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาลตามแผนภาพที่ 3


หรือน้อยขึ้นอยู่กับโอกาสในการเปลี่ยนขั้วทางการเมือง แล้ว จะพบว่าค่าการโหวตข้ามพรรคจะมีค่าไม่สูงมากนัก
ซึ่งสามารถพิจารณาแบบแผนพฤติกรรมได้ 2 ลักษณะ ซึ่งแตกต่างจากพรรคขนาดกลางที่เป็นพรรคร่วมรัฐบาล
คือ “พรรคการเมืองขนาดกลางที่เป็นพรรคร่วมรัฐบาล” ที่มีค่าการโหวตข้ามพรรคที่สูงเมื่อเทียบกับพรรคแกนนำ
และ “พรรคการเมืองขนาดกลางที่เป็นพรรคฝ่ายที่ไม่ได้ รัฐบาล แสดงให้เห็นว่าพรรคขนาดกลางที่เป็นพรรคฝ่าย
เข้าร่วมรัฐบาล” ที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาลไม่ค่อยให้ความสำคัญในการเป็น
พรรคฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาลมากนัก เนื่องจากไม่มี

“พรรคการเมืองขนาดกลางที่เป็นพรรคร่วมรัฐบาล”
ผลกระทบต่อเสถียรภาพของรัฐบาล และหากไม่มีโอกาส
พฤติกรรมของพรรคการเมืองขนาดกลางที่ร่วมรัฐบาล

ในการเข้ า ร่ ว มรั ฐ บาลด้ ว ยแล้ ว พฤติ ก รรมการลงมติ

มี ส่ ว นสำคั ญ ในการกำหนดความอยู่ ร อดของรั ฐ บาล

ข้ า มพรรคไปกั บ ฝ่ า ยรั ฐ บาลของพรรคการเมื อ งขนาด


เมื่อพิจารณาต่อเนื่องถึง “แรงจูงใจของพรรคการเมือง
กลางยิ่ ง ลดลง สะท้ อ นว่ า “โอกาส” ในการเข้ า ร่ ว ม
ขนาดกลาง” พบว่า พรรคการเมืองขนาดกลางมี “เก้าอี้
รั ฐ บาลนั้ น แม้ ว่ า จะเป็ น แรงจู ง ใจในการลงมติ ข อง
รั ฐ มนตรี ” เป็ น แรงจู ง ใจที่ ส ำคั ญ อั น เป็ น ผลมาจาก

พรรคการเมื อ งขนาดกลางแล้ ว ในแง่ ห นึ่ ง ก็ ก ลายเป็ น


การเจรจาต่อรองระหว่างแกนนำพรรคการเมืองขนาด
“ข้อจำกัด” สำหรับพรรคการเมืองขนาดกลางด้วย
กลางและผู้จัดการรัฐบาล รวมถึงการให้สัดส่วนคนของ
พรรคการเมืองขนาดกลางมีตำแหน่งทางการเมืองอื่น ๆ สี่ พรรคขนาดเล็กนั้น สถานภาพการเป็นฝ่ายรัฐบาล
อาทิเช่น โฆษกประจำสำนักนายกฯ โฆษกรัฐบาล ฯลฯ
หรื อ ฝ่ า ยค้ า น จะเป็ น ปั จ จั ย ที่ ก ำหนดพฤติ ก รรมหลั ก
ในส่วนของ “ข้อจำกัดของพรรคการเมืองขนาดกลาง” เพราะพรรคการเมืองขนาดเล็ก เป็นพรรคที่ไม่มีอำนาจ
นั้น พบว่า พรรคการเมืองขนาดกลางมีพลังในการต่อรอง การต่อรอง และไม่ได้รับความสนใจจากแกนนำแต่ละ
สู ง เนื่ อ งจากมี จ ำนวน ส.ส. มากพอที่ จ ะสั่ น คลอน ฝ่าย จัดได้ว่าเป็น ‘พรรคเติมเต็ม’ การอยู่หรือไม่อยู่กับ
เสถี ย รภาพของรั ฐ บาลได้ แต่ ก ระนั้ น พรรคการเมื อ ง ฝ่ า ยรั ฐ บาลก็ ไ ม่ ไ ด้ มี ผ ลต่ อ เสถี ย รภาพของฝ่ า ยรั ฐ บาล

ขนาดกลางทั้ ง หลาย ก็ ไ ม่ ป รารถนาที่ จ ะออกจากการ


มากนัก สำหรับพรรคขนาดเล็กที่ไม่ได้ร่วมรัฐบาล ก็มี
ร่วมรัฐบาล จึงส่งผลให้การลงมติของพรรคขนาดกลาง
ลั ก ษณะเป็ น “พรรครอร่ ว มรั ฐ บาล” กล่ า วคื อ ไม่ ไ ด้ มี
ยั ง คงเป็ น ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น และถู ก ควบคุ ม ผ่ า น
พฤติกรรมการลงมติที่ชัดเจนไปในแนวทางใดแนวทาง
วิปรัฐบาล จึงไม่สามารถข้ามไปลงมติในแนวทางเดียวกับ หนึ่ ง ซึ่ ง สามารถพิ จ ารณาแบบแผนพฤติ ก รรมได้

ฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาลได้ 2 ลักษณะ คือ “พรรคการเมืองขนาดเล็กที่เป็นพรรค


ร่วมรัฐบาล” และ “พรรคการเมืองขนาดเล็กที่เป็นพรรค
ฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล”
มกราคม - เมษายน 2561 41
ฝายรัฐบาลมากนัก สําหรับพรรคขนาดเล็กที่ไมไดรวมรัฐบาล ก็มีลักษณะเปน “พรรครอรวมรัฐบาล”
กลาวคือ ไมไดมีพฤติกรรมการลงมติที่ชัดเจนไปในแนวทางใดแนวทางหนึ่ง ซึ่งสามารถพิจารณาแบบแผน
พฤติกรรมได 2 ลักษณะ คือ “พรรคการเมืโหวตเพื องขนาดเล็ กที่เปนพรรครวมรัฐบาล” และ “พรรคการเมือง
่อใคร : พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย
ขนาดเล็กที่เปนพรรคฝายที่ไมไดเขารวมรัฐบาล”
แผนภาพที่ 3
แผนภาพที่ 3
ค่าการโหวตข้ามพรรคของพรรคขนาดกลางซึ่งเป็นพรรคฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาล
คเที
าการโหวตข ามพรรคของพรรคขนาดกลางซึ่งเปนพรรคฝายที่ไมไดเขารวมรัฐบาล
ยบกับพรรคแกนนำฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาลและพรรคแกนนำรัฐบาล
เทียบกับพรรคแกนนําฝายที่ไมไดเขารวมรัฐบาลและแกนนํารัฐบาล

หมายเหตุ - ใน ส.ส. ชุดที่ 20 21 และ 23 ไมมีพรรคขนาดกลางเปนพรรคฝายที่ไมไดเขารวมรัฐบาล

“พรรคการเมืองขนาดเล็กที่เปนพรรครวมรัฐบาล” จัดวาเปนประเภท ‘พรรคเติมเต็ม’ การอยู


หรื“พรรคการเมื
อไมอยูกับฝอางขนาดเล็ ยรัฐบาลก็ กที่เไป็มนไพรรคร่
ดมีผลต วมรัอฐเสถีบาล” ยรภาพของฝ “เราเป็ายรันพรรคการเมื
ฐบาลมากนั องทีก่มี พรรคขนาดเล็
ส.ส. 1-2 คน เขาก็กไประเภทนี ม่ ้ จึ ง
จัแสดงลั
ดว่าเป็นประเภท ‘พรรคเติ ม เต็ ม ’ การอยู ่ ห รื อ ไม่ อ ยู ่ ก ั บ สนใจ
ก ษณะที่เรี ยกว าเป น “พรรคที่ไ มชัด เจนในสถานภาพ” เห็นไดจ ากแผนภาพที่ 4 ในสมัย สภา แต่ ภ าพที ่ อ อกไป เขาดู จ ากการลงมติ เ ลื อ ก
ฝ่ า ยรั ฐ บาลก็ ไ ม่ ไ ด้ มี ผ ลต่ อ เสถี ย รภาพของฝ่ า ยรั ฐ บาล
นายกฯ ถ้ า สนั บ สนุ น ก็ ถื อ เป็ น รั ฐ บาล ไม่ ส นั บ สนุ น

ผูแทนราษฎรชุดที่ 20 และชุดที่ 21 ที่มีคาการโหวตขามพรรคต่ํากวาชุดอื่น ๆ เนื่องจากพรรคแกนนําใน


มากนั ก พรรคขนาดเล็ ก ประเภทนี้ จึ ง แสดงลั ก ษณะที่ ก็เป็นฝ่ายค้าน” (อดีต ส.ส. พรรคการเมืองขนาดเล็ก)
การจัดตั้งรัฐบาลมีเสียงในสภาไมมากนัก แตสําหรับชุดที่ 21 เปนกรณีพิเศษที่มีการควบรวมพรรคขนาด
เรียกว่าเป็น “พรรคที่ไม่ชัดเจนในสถานภาพ” เห็นได้
เล็กเขามาเป่ 4นในสมั พรรคไทยรั “พรรคการเมืกอในสภาผู งขนาดเล็ กแทีทนราษฎรชุ
่ เ ป็ น พรรคฝ่ าดยที ที่่ไ21
ม่ ไ ด้
จึงไมไดมี
จากแผนภาพที ยสภาผู้แกทนราษฎรชุ
ไทยทั้งสิด้นที่ดั20งนัและ ้นแลวพรรคขนาดเล็
เข้าร่วมรัฐบาล” จะมีพฤติกรรมส่วนใหญ่คอื มีคา่ การโหวต
ชุอายุ
ด ที่ อ21ยูตทีลอดทั ้งสภา สําหรั
่ มี ค่ า การโหวตข้ บสภาผูำแกว่ทนราษฎรชุ
า มพรรคต่ า ชุ ด อื่ น ๆ ดที่ 23 และชุดที่ 24 นั้น พบวา พรรคการเมืองที่เปนแกน
เนืนํ่อางจากพรรคแกนนำในการจั
ในการจัดตั้งรัฐบาลมีจดําตันวน ่มากและมีข้เาสถี
ส.ส.เสีทียงในสภา
้งรัฐบาลมี
มพรรคที่ ต่ ำ เมื่ อ เที ย บกั บ พรรคฝ่ า ยที่ ไ ม่ ไ ด้ เข้ า ร่ ว ม
ยรภาพคอนขางมาก พฤติกรรมของพรรคการเมือง
รัฐบาลด้วยกัน อันเนื่องมาจากการมี “สถานะ” การเป็น
ไม่ขนาดเล็
ม ากนั กกแต่ จึงสมีำหรั ลักษณะดั
บ ชุ ด ที่ ง21ที่ปเป็รากฏในแผนภาพ
น กรณี พิ เ ศษที่ มี
หากคาการโหวตขามพรรคของพรรคขนาดเล็กสูงมาก ก็
พรรคฝ่ายที่ไม่ได้เข้าร่วมรัฐบาลไม่มีประโยชน์หรือแรง
การควบรวมพรรคขนาดเล็
สะทอนถึงเสถียรภาพของพรรคแกนนํ กเข้ามาเป็นพรรคไทยรั าในการจักไทย ดตั้งรัฐบาลที่มีอยูสูงมากเชนกัน
จูงใจอะไรที่พรรคขนาดเล็กจะเดินตามพรรคแกนนำฝ่าย
ทั้งสิ้น ดังนั้นแล้วพรรคขนาดเล็กในสภาผู้แทนราษฎร

ชุ ด ที่ 21 จึ“เราเป
ง ไม่ ไ ด้ มนี อพรรคการเมื
ายุ อ ยู่ ต ลอดทัอ้ งงทีสภา ่มี ส.ส.
สำหรั1-2 บ สภา
คน ทีเขาก็
่ไม่ได้ไเมข้สาร่นใจ
วมรัฐแต
บาลทั
ภาพที้งหมดหรื
่ออกไป อมีคเขาดูวามกระตื จากการ อรือร้น

ผู้ แ ทนราษฎรชุ ลงมติเลืด อที่กนายกฯ 23 และชุถดาทีสนั ่ 24บสนุ ก็ถือาเปนในการทำงานมากนั


นั้ นนพบว่ รัฐบาล ไมส นับสนุ ก หากพรรคฝ่
นก็เปนฝายค า ยทีา่ ไน”
ม่ ไ ด้(อดี
เข้ า ร่ตว ม
พรรคการเมืส.ส. องทีพรรคการเมื
่เป็นแกนนำในการจั องขนาดเล็ ก) จำนวน รั ฐ บาลมี โ อกาส หรื อ เล็ ง เห็ น โอกาสในการเปลี่ ย นขั้ ว
ดตั้งรัฐบาลมี
ทางการเมือง ค่าการโหวตข้ามพรรคจะอยู่ในเกณฑ์ที่สูง
ส.ส. ที่มากและมี เ สถี ย รภาพค่ อ นข้
“พรรคการเมืองขนาดเล็กทีเ่ ปนพรรคฝายที า งมาก พฤติ ก รรมของ ่ไมไดเขารวมรัฐบาล”
ดังปรากฏในแผนภาพที ่ 5 พบว่จะมี า สภาผูพฤติ้แทนราษฎรชุ
กรรมสวนใหญ ดที่ คือมีคา
พรรคการเมื อ งขนาดเล็ ก จึ ง มี ลั ก ษณะดั ง ที่ ป รากฏใน
การโหวตขา มพรรคที่ ต่ํา เมื่ อ เที ย บกั บพรรคฝา23ยทีรั่ไฐมบาลประชาธิ ไ ด เข าร ว มรัปัตฐย์บาลด ว ยกั่อนไทยอั นเป็เนืน่แกนนำ
ที่มีพรรคเพื อ งมาจากการมี
แผนภาพ หากค่าการโหวตข้ามพรรคของพรรคขนาดเล็ก
พรรคฝ่มาียที ่ไม่ได้เข้าร่หวรืมรัอฐแรงจู
บาล งและมี พรรคฝ่่พารรคขนาดเล็
ยที่ไม่ได้
สู“สถานะ”
งมาก ก็สะท้อการเป นถึงเสถีนยพรรคฝ ายที่ไมไดเขารวมรัฐบาลไม
รภาพของพรรคแกนนำในการ ประโยชน ใจอะไรที กจะ
เข้ า ร่ ว มรั ฐ บาลคื อ พรรคประชาราช ซึ ่ ง พรรคเพื ่ อ ไทย

จัเดิ
ดตัน้งรัตามพรรคแกนนํ
ฐบาลที่มีอยู่สูงมากเช่ าฝนากัยที
น ่ไมไดเขาร วมรัฐบาลทั้งหมดหรือมีความกระตือรือรนในการทํางานมากนัก หาก
พรรคฝายที่ไมไดเขารวมรัฐบาลมีโอกาส หรือเล็งเห็นโอกาสในการเปลี่ยนขั้วทางการเมือง คาการโหวตขาม

20
42 มกราคม - เมษายน 2561
พรรคจะอยูในเกณฑที่สูง ดังปรากฏในแผนภาพที่ 5 พบวา สภาผูแทนราษฎรชุดที่ 23 รัฐบาลประชาธิปตย
พรรคจะอยูในเกณฑที่สูง ดังปรากฏในแผนภาพที่ 5 พบวา สภาผูแทนราษฎรชุดที่ 23 รัฐบาลประชาธิปตย
ที่มีพรรคเพื่อไทย เปนแกนนําพรรคฝายที่ไมไดเขารวมรัฐบาล และมีพรรคฝายที่ไมไดเขารวมรัฐบาลคือ
ที่มีพรรคเพื่อไทย เปนแกนนําพรรคฝายที่ไมไดเขารวมรัฐบาล และมีพรรคฝายที่ไมไดเขารวมรัฐบาลคือ
พรรคประชาราช ซึ่งพรรคเพื่อไทยเล็งเห็นโอกาสในการเปลี่ยนขั้วรัฐบาล เนื่องจากมีจํานวน ส.ส. ของ
พรรคประชาราช ซึ่งพรรคเพื่อไทยเล็งเห็นโอกาสในการเปลี่ยนขั้วรัฐบาล เนื่องจากมีจํานวน ส.ส. ของ
พรรคมากพอสําหรับสั่นคลอนเสถียรภาพและความอยูรอดของฝายรัฐบาล ฉะนั้น พรรคการเมืองขนาดเล็ก
พรรคมากพอสําหรับสั่นคลอนเสถียรภาพและความอยูรอดของฝายรัฐบาล ฉะนั้น พรรคการเมืองขนาดเล็ก
จึงไมไดมีลักษณะของการเปนพรรคฝายที่ไมไดเขารวมรัฐบาลอยางเต็มตัว แตจะมีลักษณะเปน “พรรคที่
จึงงไม
เล็ ไดมีลักษณะของการเป นพรรคฝายที่ไมไดเขารวมรั ฐบาลอยาลังเต็ มตัว่ก้ำแตกึ่งจคืะมี ลักาษณะเป
เป็นฝ่ายทีน่
“พรรคที่
ไมไเห็ดนเขโอกาสในการเปลี
ารวมรัฐบาล”่ยนขั้วรัฐบาล เนื่องจากมีจำนวน “บางพรรคมี กษณะที อจะว่
ไมไดของพรรคมากพอสำหรั
ส.ส. เขารวมรัฐบาล” บสั่นคลอนเสถียรภาพและ ไม่ ไ ด้ เข้ า ร่ ว มรั ฐ บาลก็ ไ ม่ ใช่ จะเป็ น รั ฐ บาลก็ ไ ม่ เชิ ง

ความอยู่ ร อดของฝ่ “บางพรรคมี า ยรั ฐ บาล ลักษณะที


ฉะนั้ น ่่กกพรรคการเมื
้ํากึ่ง คือจะว อ งาาเป นฝายที่ไมนไดพรรคที
เขารวมรั ฐบาลก็
ว่า รอร่ไไมมวใใมรั
ช ฐจะเป นอ
“บางพรรคมี ลักษณะที ้ํากึ่ง คือจะว เปนก็อฝาจจะเป็
ายที่ไมไดเขารว่เรีมรั
ยกได้
ฐบาลก็ บาล หรื
ช จะเป น
รั
ขนาดเล็ ก รัจึฐงบาลก็ ฐ บาลก็ ไ ม เชิ ง ก็ อ าจจะเป
ไม่ ไ ด้ มไี ลมั กเษณะของการเป็ นพรรคที เ
่ รี ย กได ว  า รอร ว มรั ฐ บาล หรื อ บางครั ้ ง พรรคเล็
ยงพอทีกกจ่ ะ

ชิง ก็อาจจะเปนนพรรคฝ่ พรรคทีา ยที


่เรีย่
กไดบางครั
วา รอรง้ พรรคเล็
วมรัฐกบาล
มากๆ หรื
ก็ไม่อมบางครั
เี สถียรภาพเพี ้งพรรคเล็
ไม่ ไ ด้ เข้ า ร่ วมาก ๆ ก็ไมางเต็
มรั ฐ บาลอย่ มีเสถี
ม ตัยว รภาพเพี
แต่ จ ะมี ลั กยษณะเป็
งพอที่จ ะต อรองกั รองกับบรั ฐ บาล
บาล รัรัฐฐบาลก็
บาลก็ไมไดมาสนใจ”
มาก ๆ ก็ไมมีเสถี ย รภาพเพี ยงพอทีน่จ ะตต่ออรองกั บรัฐบาล รัฐ บาลก็ไ ม่ไไมด้ไมดาสนใจ”
มาสนใจ” (อดี ต
“พรรคที่ไม่(อดี ได้เข้ตาร่ประธานวิ
วมรัฐบาล”ปพรรคการเมื องขนาดใหญประธานวิ คนที่ 3)ปพรรคการเมืองขนาดใหญ่ คนที่ 3)
(อดีตประธานวิปพรรคการเมืองขนาดใหญ คนที่ 3)
แผนภาพที
แผนภาพที ่ 4 ่่ 44
แผนภาพที
ค่คคาาาเฉลี
เฉลีย่ ่ยการโหวตข้
การโหวตขามพรรคของพรรคขนาดเล็
เฉลี่ยการโหวตขามพรรคของพรรคขนาดเล็
กซึน่งพรรคร่
กซึง่ เป็
ามพรรคของพรรคขนาดเล็
เปนพรรคร วมรัฐบาลเที
วมรัฐบาลเที
กซึ่งเปนพรรคร
ยบกับพรรคแกนนํ
ยบกับพรรคแกนนำรั
วมรัฐบาลเที
ารัฐบาลในแต
ฐบาลในแต่
ยบกับพรรคแกนนํ ละสมัย ลละสมั
ารัฐบาลในแต ะสมัย

หมายเหตุ - ใน ส.ส. ชุดที่ 22 ไมมีพรรคขนาดเล็กเปนพรรครวมรัฐบาล


หมายเหตุ - ใน ส.ส. ชุดที่ 22 ไมมีพรรคขนาดเล็กเปนพรรครวมรัฐบาล

แผนภาพทีแผนภาพที ่5 ่5
แผนภาพที่ 5
ค่าคเฉลี
าเฉลี ่ยการโหวตข
่ยการโหวตข้ ามพรรคของพรรคขนาดเล็
ามพรรคของพรรคขนาดเล็ กซึ่งเป็กนซึพรรคฝ่
่งเปนพรรคฝ
ายที่ไม่าได้ยที
เข้่ไามร่ไวดมรัเขฐาบาล
รวมรัฐบาล
คาเฉลี่ยการโหวตขามพรรคของพรรคขนาดเล็กซึ่งเปนพรรคฝายที่ไมไดเขารวมรัฐบาล
เทียเที
บกัยบบกั บพรรคแกนนํายที
พรรคแกนนำฝ่ าฝ่ไาม่ยที
ได้เ่ไข้มาไร่ดวเมรั
ขาฐรบาลในแต่
วมรัฐบาลในแต
ละสมัยล ะสมัย
เทียบกับพรรคแกนนําฝายที่ไมไดเขารวมรัฐบาลในแตละสมัย

หมายเหตุ - ใน ส.ส. ชุดที่ 23 ชวงพรรคพลังประชาชน ไมมีพรรคขนาดเล็กเปนพรรคฝายที่ไมไดเขารวมรัฐบาล


หมายเหตุ - ใน ส.ส. ชุดที่ 23 ชวงพรรคพลังประชาชน ไมมีพรรคขนาดเล็กเปนพรรคฝายที่ไมไดเขารวมรัฐบาล

ขข้ออเสนอแนะเพื
เสนอแนะเพื่อ่อ่อการออกแบบสถาบั
การออกแบบ
นนทางการเมื อง
ขอเสนอแนะเพื การออกแบบสถาบั ทางการเมืต่อองมาที่เกิดจากการค้นพบว่าแบบแผนพฤติกรรมของ
สถาบันเพราะการค
ทางการเมือนนง หาแบบแผนพฤติ
เพราะการค
กรรมการลงมติ
หาแบบแผนพฤติกรรมการลงมติ
ข อง ส.ส.ว ก็ไมจะต้ใชอจงทำความเข้
ส.ส. เป็นขอย่องางไรแล้
ุดประสงคเดีายแบบแผน
ส.ส. ไมใชจุดประสงคาใจว่
วของงานวิจัย นี้
เดียวของงานวิจัย นี้
จุดประสงค ตอนมาที ่เกิดจากการค นพบวาแบบแผนพฤติ กรรมของ
ของ พฤติกรรมนั ้นมีข้อด้อส.ส.
ย หรืเป
อเปิน อย างไรแล
มีกววารปรั
ก็จะต
บปรุอองงทํ าความ
เพราะการค้
จุดประสงค หาแบบแผนพฤติ
ตอมาที กรรมการลงมติ
่เกิดจากการค นพบวาแบบแผนพฤติ กรรมของ ส.ส. เป นดอย
โอกาสให้
างไรแล ก็จะต งทําความ
ส.ส. ไม่ใช่จุดประสงค์เดียวของงานวิจัยนี้ จุดประสงค์ เพื่อทำให้พฤติกรรมการลงมติของ ส.ส. นั้นเป็นการโหวต
21
21 มกราคม - เมษายน 2561 43
โหวตเพื่อใคร : พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย

เพื่อประชาชนมากกว่าการโหวตเพื่อตัวเองหรือเพื่อพรรค - การใช้ประโยชน์จากการตั้งกระทู้และการอภิปราย
หรือกล่าวในอีกด้านหนึ่งคือ งานวิจัยนี้เริ่มจากการหา ซึ่ ง การใช้ ป ระโยชน์ จ ากเครื่ อ งมื อ ทั้ ง สองนี้ ไ ม่ ใช่

แบบแผนพฤติกรรมการลงมติ แต่เมื่อได้แบบแผนแล้วจะ เรื่องใหม่ แต่เป็นการใช้เครื่องมือทางการทำงาน

ทำการวิเคราะห์หาข้อด้อยของแบบแผนเหล่านั้น เมื่อพบ ในรั ฐ สภานี้ ใ ห้ มี ค วามเป็ น ทางการและให้ เ กิ ด


ข้อด้อยก็จะหาสาเหตุหรือข้อจำกัดเพื่อปรับปรุงระบบ ประโยชน์ได้จริง นั่นคือการทำให้การตอบกระทู้นั้น
หรือกลไกการทำงานที่จะส่งผลต่อพฤติกรรมการลงมติ ไม่ใช่เป็นพิธีกรรม และการใช้การอภิปรายเพื่อใช้
ให้ เ กิ ด เป็ น ข้ อ ดี แต่ ห ากการปรั บ ปรุ ง ไม่ ส ามารถทำได้ เป็นสื่อในการบอกถึงจุดยืนของตนได้ แม้ว่าในที่สุด
การออกแบบระบบหรื อ กลไกใหม่ ที่ จ ะใช้ ใ นระบบ ตนจะต้ อ งทำตามมติ พ รรค แต่ ก ารได้ สื่ อ สารถึ ง
การเมืองก็เป็นสิ่งจำเป็น เหตุผลก็ทำให้เกิดความเข้าใจในพฤติกรรมนั้นๆ ได้
(1) โหวตตามพรรค - ก ารเพิ่ ม อิ ส ระในการลงมติ หรื อ การลงมติ

ที่เรียกว่า “ไร้การทำงานของวิป” (Unwhipped)


การตั้งคำถามกับการโหวตตามพรรคของงานวิจัยนี้
ซึ่งไม่ใช่เรื่องใหม่ในการปฏิบัติของ ส.ส. ในระบบ
ไม่ได้อยู่ที่การที่ ส.ส. ต้องโหวตตามพรรค เพราะการเป็น
รัฐสภา เพราะการมีการโหวตแบบไร้การทำงาน
ส.ส. ในระบบรั ฐ สภานั้ น การโหวตตามพรรคคื อ
ของวิ ป คื อ การกำหนดประเด็ น ของการโหวตที่
พฤติ ก รรมที่ ม าด้ ว ยกั บ ระบบ หรื อ เป็ น ธรรมชาติ ข อง

ส.ส. มี อิ ส ระได้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ และไม่ ต้ อ งกั ง วลกั บ

ตั ว แสดงที่ จ ะมี พ ฤติ ก รรมตามระบบที่ ด ำเนิ น กิ จ กรรม

ผลของการโหวตที่ จ ะตามมา ซึ่ ง ประเด็ น ที่ ถู ก


อยู่
กำหนดไว้มักเป็นประเด็น ดังเช่นว่า ประเด็นของ
แต่ ค ำถามที่ อ ยู่ กั บการโหวตตามพรรคของหนั ง สือ ชี วิ ต และความตาย (Life and Death Issues)
และงานวิจัยนี้ คือ ความพยายามในการทำให้ ส.ส. ใน ประเด็ น ทางศี ล ธรรมและความเชื่ อ ทางสั ง คม
ระบบรัฐสภาสามารถแสดงความรับผิดชอบต่อประชาชน (Social and Moral Issues) ประเด็ น ของการ

ผู้ มี สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง ในพื้ น ที่ ข องตนบ้ า ง หรื อ กล่ า วในอี ก


ผสมพันธ์/ การให้กำเนิดชีวิต (Fertilization) และ
แง่หนึ่งว่า ส.ส. สามารถ “ดื้อ” กับพรรคการเมืองในการ ประเด็นการบริหารจัดการในรัฐสภาและเอกสิทธิ์
ทำหน้าที่ผู้แทนของประชาชนได้บ้าง เพราะในบางกรณี (Parliamentary Procedure and Privilege
การโหวตตามพรรคที่ ส วนทางกั บ ความต้ อ งการของ Issues and Standing Orders) ) (อรรถสิ ท ธิ์
ประชาชนในพื้ น ที่ ก็ ส ะท้ อ นได้ อ ย่ า งหนึ่ ง ว่ า ส.ส. นั้ น
พานแก้ว 2558)
ไร้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการทำหน้ า ที่ ผู้ แ ทน อย่ า งไรก็ ดี

- ก า ร เ พิ่ ม ค ว า ม โ ป ร่ ง ใ ส ใ น ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง
การ “ดื้อ” ของ ส.ส. เพื่อคนในพื้นที่เฉพาะเขตเลือกตั้ง
พรรคการเมือง ซึ่งอย่างน้อยคือ การเปิดเผยวิธีการ
ในบางมุมอาจถูกมองว่าเป็นการกระทำที่ไม่รับผิดชอบ
ที่ได้มาซึ่งมติพรรคในประเด็นที่จะลงมติก่อนที่จะ
กับผลประโยชน์ส่วนรวมที่ใหญ่กว่าได้ แต่ประเด็นก็คือ
กลายเป็ น มติ ข องการลงมติ ข องพรรคซึ่ ง จะต้ อ ง

การไม่ มี ช่ อ งทางให้ ดื้ อ นั้ น เป็ น ผลเสี ย ต่ อ การทำหน้ า ที่

เผยแพร่ในระยะเวลาที่เป็นปัจจุบัน
ผู้แทนประชาชนได้เช่นกัน
- การมีการเลือกตั้งขั้นต้น (Primary Voting) เป็น

ซึ่งข้อเสนอในการทำให้ ส.ส. “ดื้อ” กับพรรคได้บ้าง


สิ่งที่เรียกว่าการสร้าง “มาตรการความปลอดภัย
ได้แก่
(Safety Net) ทางการเมื อ งให้ แ ก่ ส.ส.”

44 มกราคม - เมษายน 2561


ซึ่งหมายความว่า แม้การดื้อของ ส.ส. จะถูกมอง (3) โหวตข้ามพรรค
จากพรรคเองว่ า เป็ น การกระทำที่ ส มควรได้ รั บ

การโหวตข้ามพรรคเป็นพฤติกรรมที่ ส.ส. นั้นไม่ได้


การลงโทษ แต่ทว่าการดื้อนั้นเป็นความต้องการ
แสดงให้เห็นว่าได้โหวตเพื่อประชาชน แต่เป็นการโหวต
จากประชาชน การสร้างพื้นที่หรือมาตรการความ
เพื่อทำให้ตนและพรรคการเมืองของตนนั้นคงสถานะ

ปลอดภัยในการที่จะมีโอกาสในการแสดงให้เห็น
ของการเป็ น พรรคร่ ว มรั ฐ บาล หรื อ ทำให้ ต นและ
ว่าการมีพฤติกรรมที่ไม่ทำตามมติพรรคในบางครั้ง
พรรคการเมืองของตนมีโอกาสในการเข้าไปร่วมเป็นฝ่าย
นั้ น ไม่ ไ ด้ ส่ ง ผลลบขั้ น ร้ า ยแรง การมี ก ารเลื อ กตั้ ง

รัฐบาล ที่สำคัญการเกิดขึ้นของพฤติกรรมนี้เกิดขึ้นเพราะ
ขั้นต้นจึงเปรียบเสมือนตาข่ายที่รองรับหาก ส.ส.
ในระบบการเมื อ งไทยมี พ รรคการเมื อ งขนาดเล็ ก มาก

นั้ น ถู ก ผลั ก ให้ ต กจากที่ ยื น ของพรรค (อรรถสิ ท ธิ์


เกินไปในระบบ ดังนั้น ข้อเสนอของส่วนการโหวตข้าม
พานแก้ว 2558)
พรรค คือ
(2) โหวตตามฝ่าย
- ก ารนำระบบการเลื อ กตั้ ง แบบสั ด ส่ ว นคู่ ข นาน
การโหวตตามฝ่ า ยเกิ ด จากความต้ อ งการที่ จ ะ
(Mixed Member Majoritarian: MMM /
คงสถานะความเป็นพรรคฝ่ายรัฐบาลและการทำให้เกิด Parallel System) มาใช้
เสถียรภาพในการทำงานของฝ่าย รวมถึงความต้องการ

ที่จะเข้าไปอยู่ในฝ่ายของรัฐบาล พฤติกรรมนี้ก่อให้เกิด สรุป


การไม่ ท ำตามความคาดหวั ง ของประชาชนต่ อ การทำ เมื่อถามว่า “ส.ส. โหวตเพื่อใคร ?” คำตอบที่ได้ก็คือ
หน้ า ที่ ส.ส. เช่ น การตรวจสอบการทำงานของฝ่ า ย ส.ส. นั้นโหวตตามพรรค และกับคำถามต่อไปที่ว่าแล้ว
บริ ห าร หรื อ การคานอำนาจระหว่ า งฝ่ า ยนิ ติ บั ญ ญั ติ
พรรคการเมืองโหวตตามฝ่ายอย่างไร คำตอบที่ได้ก็คือ
และฝ่ า ยบริ ห าร หรื อ การใช้ ก ลยุ ท ธ์ ใ นทางการเมื อ ง
เฉพาะ ส.ส. ฝ่ายรัฐบาลพรรคขนาดใหญ่และขนาดกลาง
ที่ไม่สร้างสรรค์ เช่นนี้แล้วข้อเสนอแนะสำหรับแบบแผน เท่านั้นที่โหวตตามฝ่าย ส่วนพรรคขนาดเล็กนั้นมีปัจจัย
พฤติกรรมนี้คือ ของผลประโยชน์และการต่อรองทางการเมือง ที่ส่งผลต่อ
- ก ารให้ มีช่องของการทำประชามติเสียงข้างน้อย การโหวตตามฝ่ า ย และเมื่ อ ถามอี ก ว่ า พรรคการเมื อ ง
คื อ การเปิ ด โอกาสให้ เ สี ย งส่ ว นน้ อ ยในรั ฐ สภา โหวตข้ามพรรคหรือไม่ คำตอบที่ได้ก็คือ มีการโหวตข้าม
สามารถมี เ ครื่ อ งมื อ ในการคานอำนาจกั บ เสี ย ง
พรรคมากในฝ่ายพรรคร่วมรัฐบาลและพรรคการเมือง

ส่วนใหญ่ในสภาได้ ซึ่งก็คือ ให้ประเด็นที่สมาชิก ในฝ่ายที่ไม่ได้ร่วมรัฐบาลที่มองเห็นว่าการโหวตข้ามพรรค


รั ฐ สภาเสี ย งส่ ว นน้ อ ย จะขอลงประชามติ เ ป็ น ไปยั ง พรรคฝ่ า ยรั ฐ บาลนั้ น อาจจะทำให้ เ พิ่ ม โอกาส

ประเด็นที่มีความสำคัญต่อประชาชนอย่างแท้จริง การเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของฝ่ายรัฐบาลในอนาคต
ก็ ค วรกำหนดให้ ป ระชาชนผู้ มี สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง ต้ อ ง ถึงแม้ว่าแบบแผนพฤติกรรมเหล่านี้จะถูกอธิบายถึง

ลงชื่อรับรองด้วยเพื่อป้องกันการนำกลไกดังกล่าว ที่มาของแบบแผนด้วยทฤษฎีและแนวคิดที่ได้อธิบายไว้
ไปใช้เพื่อประโยชน์ของพรรคแต่เพียงอย่างเดียว คล้ า ยคลึ ง กั น รวมทั้ ง การได้ ค ำอธิ บ ายของตั ว แสดง
(ชมพูนุท ตั้งถาวร 2558) พฤติกรรมบางส่วนซึ่งภาพของพฤติกรรมและคำอธิบาย

ก็ น ำมาสู่ ข้ อ สรุ ป ที่ ว่ า แม้ แ บบแผนพฤติ ก รรมเหล่ า นี้

จะเป็ น ไปตามที่ ฐ านคิ ด และความคาดหวั ง ที่ มี แ ต่

มกราคม - เมษายน 2561 45


โหวตเพื่อใคร : พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย

แบบแผนพฤติ ก รรมเหล่ า นี้ ยั ง คงถู ก มองว่ า มี ข้ อ ด้ อ ย


ความต้องการของประชาชนก่อนที่จะมีการนำไปถกเถียง

ที่ทำให้ต้องขบคิดและเสนอหนทางที่จะเปลี่ยนข้อด้อย ในพรรคการเมื อ งหรื อ ในรั ฐ สภา เพราะ ส.ส. และ


เหล่านั้นให้เป็นข้อดี เพื่อให้การโหวตในแบบแผนต่างๆ พรรคการเมืองมักจะอ้างว่าประชาชนไม่ได้ส่งสัญญาณ
ได้ ข ยั บ เข้ า ไปสู่ พ ฤติ ก รรมที่ เ รี ย กว่ า เป็ น พฤติ ก รรม
อะไรในเรื่องการโหวต ดังนั้นจึงเกิดการตีความว่า ส.ส.
การโหวตที่ผู้แทน “โหวตเพื่อประชาชน” ให้มากที่สุด และพรรคการเมื อ งก็ น่ า จะสามารถตั ด สิ น ใจแทน
ประชาชนได้เลย เช่นนี้แล้วรูปแบบการเป็นผู้แทนของ
ดั ง นั้ น ข้ อ เสนอที่ มี ม าในงานวิ จั ย นี้ จึ ง เป็ น ข้ อ เสนอ

ประเทศไทยก็จะเป็นรูปแบบของผู้แทนที่ตัดสินใจแทน
ที่บางข้อเสนออาจจะไม่ได้เกี่ยวกับการออกแบบสถาบัน
ประชาชน (Trustees) มากกว่าแบบที่เป็นผู้แทนที่รับฟัง
ทางการเมืองใหม่ แต่อาจจะต้องมีการเน้นย้ำและชี้ให้
ความต้ อ งการของประชาชนแล้ ว จึ ง มาถ่ า ยทอด

เห็นวิธีที่จะทำให้กลไกที่มีอยู่เดิมนั้นว่าสามารถทำให้เกิด
ความต้องการนั้น (Delegates) ซึ่งในที่สุดประชาชนเอง
การขยับของแบบแผนพฤติกรรมต่างๆ ได้
จะต้องตัดสินใจว่าตนนั้นมีความพึงพอใจกับรูปแบบไหน

แต่ เ มื่ อ พิ จ ารณาอย่ า งถี่ ถ้ ว นแล้ ว การออกแบบ มากที่สุด


สถาบั น ทางการเมื อ งแบบเป็ น ทางการ (Formal
เช่ น เดี ย วกั บ การโหวตตามฝ่ า ยหรื อ การโหวตข้ า ม
Institution) หรือการปรับใช้ของเดิมนั้นก็มีข้อจำกัดของ
พรรคของพรรคการเมืองที่ในที่สุดก็เห็นว่าเป็นการโหวต
ตั ว สถาบั น ทางการเมื อ งเหล่ า นั้ น เอง เพราะแม้ จ ะมี

เพื่อผลประโยชน์ของนักการเมืองและพรรคการเมือง

การบังคับใช้ (Enforcement) แต่การขาดการเห็นพ้อง


เป็ น หลั ก เริ่ ม ต้ น การโหวตเพื่ อ เพิ่ ม โอกาสในการเป็ น

จากความไม่ เ ป็ น ทางการของวิ ถี ป ฏิ บั ติ ใ นสั ง คม


ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง รั ฐ บ า ล อ า จ จ ะ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ กั บ
(Informal Institution) การเข้ากันไม่ได้ของความเป็น
พรรคการเมืองและ ส.ส. ในสังกัด แต่สำหรับประชาชน
ทางการของกฎ ระเบียบ แบบเป็นทางการกับความเชื่อ
แล้วการเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของรัฐบาลอาจจะไม่ส่งผล

และวิ ถี ป ฏิ บั ติ ข องคนในสั ง คม และการที่ ค นในสั ง คม

ที่เป็นประโยชน์อะไรแก่ประชาชนเลย การเข้าไปเป็น
ไม่ได้เห็นความสำคัญของการใช้กฎ ระเบียบ หรือกลไก
ส่วนหนึ่งในแขนงพรรคฝ่ายรัฐบาลในฐานะที่เป็น ‘พรรค
ของสถาบันทางการเมืองเพื่อให้เกิดพฤติกรรมใหม่หรือ
เติมเต็ม’ ไม่ได้ทำให้ความต้องการทางด้านนโยบายหรือ
การเปลี่ ย นแปลงพฤติ ก รรมเดิ ม ความสำเร็ จ ของ

การเมืองแก่ประชาชนเลย
การออกแบบสถาบันทางการเมืองนั้นจะไม่มีทางเกิดขึ้น
ได้เลย ที่ สุ ด แล้ ว การไม่ ว างแรงกดดั น หรื อ แสดงความ
ต้องการให้ถูกจุดของประชาชนจะเป็นสิ่งที่ต้องให้ความ
กล่าวในอีกแง่หนึ่งว่า การจะเปลี่ยนให้ ส.ส. ไม่โหวต
สำคัญเป็นลำดับต้นๆ เพราะสำหรับผู้ที่ศึกษาในเรื่องของ
ตามพรรค โดยการให้มีการโหวตในบางเรื่องอย่างอิสระ
การออกแบบและสถาบั น ทางการเมื อ งที่ ห วั ง ผลต่ อ

การใช้กลไกของกระทู้และการอภิปราย หรือแม้กระทั่ง
การเปลี่ยนแปลงในระบบการเมืองไม่ว่าจะเป็นรูปแบบ
การมีการเลือกตั้งขั้นต้น หากประชาชนไม่วางแรงกดดัน
หรื อ พฤติ ก รรมของคนในระบบการเมื อ งนั้ น ๆ จะมี

หรือแสดงให้ ส.ส. ได้รับรู้ตั้งแต่จุดเริ่มต้นที่การโหวตของ


บทเรี ย นของการล้ ม เหลวของการออกแบบสถาบั น
ส.ส. ด้ ว ยการแสดงความต้ อ งการทางนโยบายและ
ทางการเมื อ งที่ ว่ า หากไม่ เ กิ ด ความเข้ า ใจในที่ ม าและ

ทางการเมืองผ่านเรื่องพิจารณาและร่างกฎหมายต่างๆ
เป้าหมายของการมีกลไกของสถาบันตามการออกแบบ
แล้ว การใช้กลไกทางสถาบันทางการเมืองเหล่านี้ก็ยากที่
เพียงพอที่จะนำไปสู่การปรับพฤติกรรมของคนที่จะใช้
จะเกิ ด ผล นอกจากนี้ ควรจะมี ก ารกลั บ มารั บ ฟั ง

46 มกราคม - เมษายน 2561


และอยู่ กั บ สถาบั น การเมื อ งที่ อ อกแบบนั้ น ๆ แล้ ว
การกลับมามองตนเองของประชาชนและเปลี่ยนความ
เพี ย งการมี ส ถาบั น ทางการเมื อ งขึ้ น มาจะไม่ ไ ด้ ช่ ว ยให้
รู้ สึ ก ว่ า แท้ จ ริ ง แล้ ว ตั ว ประชาชนเองต่ า งหากที่ จ ะต้ อ ง
ผลสำเร็จของการออกแบบนั้นเกิดขึ้นได้แล้ว ทำตัวเป็นผู้สร้างแรงกดดันและส่งสัญญาณให้แก่ ส.ส. ว่า
ควรจะต้องโหวตอย่างไรที่เป็นการโหวตเพื่อประชาชน
สำหรับงานวิจัยนี้แล้วการค้นพบว่า ส.ส. โหวตเพื่อ
ไม่ ใช่ ป ล่ อ ยให้ ก ารโหวตของ ส.ส. เป็ น เหมื อ นการให้

ตนเองและพรรคการเมื อ งเพราะผลประโยชน์ แ ละ
เช็คเปล่าๆ ที่จะเขียนจำนวนเท่าไหร่ก็ได้ เพราะในที่สุด
สถานภาพในการทำงานของรั ฐ สภาไม่ ไ ด้ สื่ อ ว่ า เป็ น

ประชาชนเองจะค้นพบว่าเงินในบัญชีได้หมดไปแต่ไม่ได้
ความบกพร่องของ ส.ส. และการแก้ไขข้อบกพร่องนั้น

อะไรกลับคืนมาจากการโหวตนั้นๆ
จะต้องเกิดขึน้ ในฝัง่ ของ ส.ส. เพียงฝ่ายเดียว แต่จะเสนอว่า

มกราคม - เมษายน 2561 47


โหวตเพื่อใคร : พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย

บรรณานุกรม
ภาษาไทย
โกสินทร์ วงศ์สุรวัฒน์ และ นรนิติ เศรษฐบุตร. (2521). พรรคการเมือง. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์
ชมพูนุท ตั้งถาวร. (2558). การลงประชามติ: เครื่องมือยุติความขัดแย้งในรัฐสภา ใน ถวิลวดี บุรีกุล และคณะ
(บรรณาธิ ก าร) การประชุ ม วิ ช าการสถาบั น พระปกเกล้ า ครั้ ง ที่ 16 ประจำปี 2557 8 ทศวรรษ
ประชาธิปไตยไทย: พลวัตแห่งดุลอำนาจ. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า
นัครินทร์ เพชรสิงห์. (2553). ความเป็นสถาบันทางการเมืองของพรรคชาติไทยพัฒนา. (ภาคนิพนธ์รัฐศาสตร-

มหาบัณฑิต สาขาการเมืองการปกครอง). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


บุ ญ ศรี มี ว งศ์ อุ โ ฆษ. (2550). รายงานการวิ จั ย เสริ ม หลั ก สู ต รเรื่ อ งแนวทางการปรั บ ปรุ ง ระบบการเลื อ กตั้ ง และ
พรรคการเมือง. กรุงเทพมหานคร: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปั ท มา สู บ กำปั ง . (2552). รายงานเรื่ อ งความเคลื่ อ นไหวทางการเมื อ งและพฤติ ก รรมการเลื อ กตั้ ง สมาชิ ก สภา

ผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550 กรณีศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า


พฤทธิ ส าณ ชุ ม พล. (2553). ระบบการเมื อ ง: ความรู้ เ บื้ อ งต้ น . กรุ ง เทพมหานคร: สำนั ก พิ ม พ์ แ ห่ ง จุ ฬ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
ศาสตริ น ทร์ ตั น สุ น . (2550). ความสำเร็ จ ทางการเมื อ งและความเป็ น สถาบั น การเมื อ งของพรรคไทยรั ก ไทย.
(ภาคนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการเมืองการปกครอง). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สติธร ธนานิธิโชติ. (2555). พรรคการเมืองไทยยังไม่ “เข้มแข็ง”. วารสารการเมือง การบริหารและกฎหมาย 5 (3),
117-146
สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์. (2546). พรรคการเมืองไทย ใน สีดา สอนศรี (บรรณาธิการ) พรรคการเมืองในเอเชีย

ตะวั น ออกเฉียงใต้ (หน้า 188-294. กรุงเทพมหานคร: สถาบันเอเชีย ตะวันออกเฉีย งใต้ มหาวิทยาลัย


ธรรมศาสตร์
อรรถสิทธิ์ พานแก้ว. (2558). เพิ่มดุลอำนาจระหว่าง ‘นักการเมือง’ และ ‘พรรคการเมือง’: เพิ่มประสิทธิภาพในการ
ทำหน้าที่ “ผู้แทนราษฎร”. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า
ภาษาอังกฤษ
Back, Hanna. (2003). Explaining and predicting coalition outcomes: Conclusion from studying data
on local coalitions. European Journal of Political Research 42: 441-472
Bowler, S., Farrell, D.M., & Katz, R.S. (1998). Party Cohesion, Party Discipline, and Parliaments. In S.
Bowler, D. M. Farrell, and R. S. Katz. (Eds.), Party Discipline and Parliamentary Government.
(pp.3-22). Columbus: Ohio State University Press.
Chambers, P. (2005). Evolving Toward What?: Parties, Factions, and Coalition Behavior in Thailand
Today. East Asian Studies 5 (3), 495-520.

48 มกราคม - เมษายน 2561


Chambers, P. W. & Croissant, A. (2010). Monopolizing, Mutualizing, or Muddling Through: Factions
and Party Management in Contemporary Thailand. Journal of Current Southeast Asian
Affairs, 29 (3), 3-33.
Cox, G. W. & McCubbins, M.D. (2005). Setting the Agenda: Responsible Party Government in the
US House of Representatives. Cambridge: Cambridge University Press
Cox, G. W. & McCubbins, M.D. (1993). Legislative Leviathan. Berkeley, CA.: University of California
Press.
Davidson-Schmich, L. K. (2006). The Origins of Party Discipline: Evidence from Eastern Germany.
German Politics and Society. 79 (24:2), 23-43.
De Swaan, Abram. (1973). Coalition Theories and Cabinet Formations: A study of formal theories
of coalition formation applied to nine European parliaments after 1918. San Fransisco:
Jossey-Bass
Diermeier, D. & Feddersen, T.J. (1998). Cohesion in Legislatures and the Vote of Confidence
Procedure. American Political Science Review. 92, 611-621.
Fenno, Richard F. (1978). Home Style: House Members in Their Districts. Boston: Little, Brown
Ferejohn, J. A. & Fiorina, M. A. (1975). Purposive Models of Legislative Behavior. The American
Economic Review. 65 (2), 407-414.
Flavelle, L. & Kaye, P. (1986). Party Discipline and Legislative Voting. Canadian Parliamentary
Review. Summer, 6-9.
Godbout, J.-F. & H?yland, B. (2011). Legislative Voting in the Canadian Parliament. Canadian
Journal of Political Science. 44 (2), 367-388.
Hix, S. & Noury, A. (2016). Government-Opposition or Left-Right? The Institutional Determinants of
Voting in Legislatures. Political Science Research and Methods. 4 (2), 249-273.
Huber, J. (1996). The Vote of Confidence in Parliamentary Democracies. American Political Science
Review. 90, 269-282.
Kam, C. J. (2009). Party Discipline and Parliamentary Politics. Cambridge: Cambridge University
Press.
Laver, Michael, and Norman Schofield. (2001). Multiparty Government: The Politics of Coalition in
Europe. Ann Arbor: The University of Michigan Press
Mayhew, D. R. (1974). Congress: The Electoral Connection. New Haven: Yale University Press

มกราคม - เมษายน 2561 49


โหวตเพื่อใคร : พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย

McCargo, D. (1997). Thailand’s political parties: Real, authentic and actual in Political Change. In
Hewison, K. (Ed.), Thailand: Democracy and Participation. London and New York:
Routledge. 114-131.
Ockey, J. (1994). Political Parties, Factions, and Corruption in Thailand. Modern Asian Studies.

28 (2), 251-277.
Ockey, J. (2003). Change and Continuity in the Thai Political Party System. Asian Survey. 43 (4),
663-680.
Poole, K. T.& Rosenthal H. (1997). Congress: A Political-Economic History of Roll Call Voting.
Oxford: Oxford University Press.
Poole, K. T. (2005). Spatial Models of Parliamentary Voting. Cambridge: Cambridge University
Press
Scarrow, S. (2005). Implementing Intra-Party Democracy: Political Parties and Democracy in
Theoretical and Practical Perspective. Washington D.C: National Democratic Institute for
International Affairs.
Shepsle, K. A. (1979). Institutional Arrangements and Equilibrium in Multidimensional Voting
Models. American Journal of Political Science. 23, 27-59.
Shepsle, K. A. & Weingast, B.R. (1981). Structure Induced Equilibrium in Legislative Choice. Public
Choice. 37, 509-519.
Tsebelis, G. (2002). Veto Players: How Political Institutions Work. Princeton, NJ: Princeton
University
Ufen, A. (2008). Political Party and Party System Institutionalization in Southeast Asia: Lessons for
Democratic Consolidation in Indonesia, the Philippines and Thailand. The Pacific Review.
21(3), 327-350.
Zhang, X. (2007). Political Parties and Financial Development: Evidence from Malaysia and
Thailand. Journal of Public Policy. 27 (3), 341-374.


50 มกราคม - เมษายน 2561

You might also like