สำเนา เอกสาร

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 2

ข้อมูลปริ มาณขยะเมือง 352 city

Area Waste Types and composition


Generation ( Percent wet waste weight basis)
(kg/cap./day)

Agricultural - Straw Manure


zone 69 31

Resident 1.78 General waste Kitchen waste Recycle waste Hazardous


zone waste
33 31 26 10

Industrial 0.7 Paper Kitchen Vinyl, Wood, Incombustible Others


zone waste rubber, bamboo, waste
34.6 leather straw 0.9
46.9 12.0 5.6 0.2

1.ขยะจากการเกษตร
จากตารางข้อมูลขยะเมือง 352 city มีขยะจากกสิ กรรม (Agriculture Waste) เป็ นขยะที่เกิดขึ้นมาจากเกษตร
ซึ่ งเป็ นอินทรี ยว์ ตั ถุที่ยอ่ ยสลายได้แก่ เศษหญ้า ฟาง มูลสัตว์ หากปล่อยทิ้งไว้จะทำให้เน่าเปื่ อย กลายเป็ น
แหล่งเชื้อโรคและที่อยูข่ องแมลงและจุลินทรี ยย์ งั ทำให้เกิดเน่าเหม็นและอาจก่อให้เกิดมลภาวะทางน้ำหรื อ
ดินได้ หากมีปริ มาณมากเกินไป ซึ่ งเกษตรกรอาจมีการนำปุ๋ ยเคมีมาใช้แทนปุ๋ ยคอก และไม่ได้น ำฟางข้าว มูล
สัตว์มาทำเป็ นปุ๋ ยคอก เห็นได้จากตารางข้อมูลน้ำผิวดินที่มีค่า NH3-H จำนวนมาก

2.ขยะจากที่พกั อาศัย
แบ่งตามลักษณะทางกายภาพแบ่งได้ 4 ประเภท
2.1 ขยะทัว่ ไป (General waste) หรื อขยะมูลฝอยทัว่ ไป คือขยะที่ยอ่ ยสลายได้ยากและไม่คุม้ ค่าต่อการนำกลับ
มาใช้ใหม่ (Recycle) เช่น ซองบะหมี่ก่ ึงสำเร็ จรู ป เปลือกลูกอม ถุงขนม ถุงพลาสติก เป็ นต้น พบมากถึง
ร้อยละ 33 ของปริ มาณขยะที่มากจากที่พกั อาศัย

2.2 ขยะย่อยสลาย (Compostable waste) คือ ขยะที่เน่าเสี ยและย่อยสลายได้เร็ ว เช่น ผัก ผลไม้ ซึ่ งมีปริ มาณ
ขยะรองลงมากจากขยะทัว่ ไป ร้อยละ 31 ของปริ มาณขยะที่มาจากที่พกั อาศัย
2.3 ขยะรี ไซเคิล (Hazardous waste) หรื อ มูลฝอยที่ยงั ใช้ได้ คือ ขยะ ของเสี ยหรื อวัสดุเหลือใช้ ซึ่ งสามารถนำ
กลับมาใช้ใหม่ได้ โดยนำรู ปแบบมาเป็ นวัตถุดิบในกระบวนการผลิต เช่น แก้ว กระดาษ กระป๋ องเครื่ องดื่ม
มาแปรรู ปเป็ นวัตถุดิบในการผลิต เป็ นต้น ซึ่ งมีปริ มาณร้อยละ 26 ของปริ มาณขยะที่มาจากที่พกั อาศัย

2.4 ขยะอันตราย (Hazardous waste) หรื อขยะมูลฝอยอันตราย คือ ขยะที่มีองค์ประกอบหรื อปนเปื้ อนวัตถุ
อันตรายชนิดต่างๆซึ่ งได้แก่ วัตถุระเบิดวัตถุ ไวไฟวัตถุออกซิ ไดซ์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ท ำให้เกิดโรค
วัตถุกมั มันตรังสี วัตถุที่ท ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุถูกกัดก่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคาย
เคือง วัตถุอย่างอื่นไม่วา่ จะเป็ นเคมีภณั ฑ์หรื อสิ่ งใดที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่ บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์สินหรื อ
สิ่ งแวดล้อม เช่น ถ่านไฟฉายหลอดโฟร์ออเลตเซนต์ แบตเตอรี่ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ภาชนะบรรจุ สารกำจัด
ศัตรู พืช กระป๋ องสเปรย์บรรจุสีหรื อสารเคมี เป็ นต้น ซึ่ งมีปริ มาณร้อยละ 10 ของปริ มาณขยะที่มาจากที่พกั
อาศัย มีปริ มาณน้อยที่สุด

เกณฑ์ค่ามาตรฐานปริ มาณขยะ
เกณฑ์ ปริ มาณขยะมูลฝอยต่อวัน/จำนวนประชากร
มาตรฐาน
เกณฑ์ดี น้อยกว่า 0.9 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน
เกณฑ์ปกติ น้อยกว่า 0.9 - 1.1 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน
สู งเกินว่าเกณฑ์ มากกว่า 1.1 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน
ที่มา ศูนย์ขอ้ มูลสารสนเทศสิ่ งแวดล้อม กรมส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อม ร่ วมกับสำนักงานสิ่ งแวดล้อม
ภาค กระทรวทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม

จะได้วา่ จากอัตราการเกิดขยะมูลฝอยในชุมชนนี้ มีค่า 1.78 กก./คน/วัน แปลผลได้วา่ มีค่าสู งเกินปกติ และมี


ปริ มาณขยะย่อยสลายใกล้เคียงกับขยะทัว่ ไปแสดงถึงการใช้ชีวิตของคนในเมือง 352 city ว่าอาจมีการใช้
ทรัพยากรที่มาจากโฟมใส่ อาหาร ถุงพลาสติกใส่ อาหารและ อื่นๆ พร้อมกับอาหารเป็ นจำนวนมาก มีการสัง่
ซื้ อมากกว่าทำอาหารทานเองทำให้มีจ ำนวนขยะในปริ มาณที่ใกล้เคียงกัน

You might also like