T Test

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 5

T-Test 

# ที เทส หรือ การทดสอบที (t-test) คือ เทคนิคการทดสอบสมมติฐานแบบหนึ่ง ซึ่ง Student's T Distribution ถูกตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1908


ในวารสารวิทยาศาสตร์  Biometrika ด้วยนามแฝงว่า Student ผูท้ ี่เสนอการแจกแจงแบบ t ชื่อว่า W.S. Gosset (William Sealy Gosset : 13
June 1876 – 16 October 1937)

1. T-Test คือ การทดสอบสมมติฐาน เพื่อเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างหนึ่งกลุ่ม กับประชากร หรื อเปรี ยบเทียบระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่อาจมี


ความสัมพันธ์กนั หรื อเป็ นอิสระต่อกันก็ได้ โดยกลุ่มตัวอย่างต้องสุ่ มมาจากประชากรที่มีการแจกแจงปกติ (Normal Curve) และทราบค่าความ
แปรปรวนของประชากร ซึ่งมีการทดสอบ 3 แบบ คือ One Sample T-Test, Paired Samples T-Test และ Independent T-Test
ในกรณี การเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยที่ขอ้ มูล 2 กลุ่ม เช่น เพศ กับ กลุ่มข้อมูลต่าง ๆ ในการวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติน้ ัน มีหลายวิธี แต่ละวิธีกจ็ ะถูก
เลือกใช้ให้เหมาะสมกับข้อมูล เช่น การเปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างตัวแปร 2 ตัวที่เป็ นอิสระต่อกัน ก็อาจใช้ SPSS, Menu, Analyze,
Compare Means, Independent-samples T-Test [6].p356 ซึ่งเลือกตัวแปรที่ตอ้ งการเปรี ยบเทียบได้หลายตัว เช่น [กลุ่มความพึง
พอใจ] กับตัวที่ถูกเทียบ เช่น [เพศ]
1. ตารางที่ได้จะมีค่า sig. ของ equation of variances (ความแปรปรวนของกลุ่ม) ถ้าน้อยกว่า 0.05 ก็แสดงว่า ความแปรปรวนของกลุ่มเท่ากัน
แล้วค่อยดู sig. ของ T-Test
2. ถ้าค่า sig. ของ T-Test มากกว่า 0.05 แสดงว่า ความพึงพอใจระหว่างสองเพศไม่แตกต่างกัน ยอมรับ H0
3. ถ้าค่า sig. ของ T-Test ไม่มากกว่า 0.05 แสดงว่า ความพึงพอใจระหว่างสองเพศแตกต่างกัน ยอมรับ H1
2. One Sample T-Test คือ การวิเคราะห์กรณี เปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างกับประชากร หรื อค่าคงที่จากทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่ง # เช่น ทฤษฎี
ทางเคมีของสารประกอบชนิดหนึ่ง มีส่วนประกอบของเหล็ก x% เพื่อทดสอบทฤษฎีจึงทดลองส่ วนประกอบของสารประกอบชนิดนี้ y ครั้ง โดย H0 :
u1 = x และ H1 : u1 != x
3.

Paired Samples T-Test คือ การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่สัมพันธ์กนั เช่น การเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยสองค่าว่าแตกต่างกัน


หรื อไม่ โดยค่าเฉลี่ยทั้งสองวัดจากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่สัมพันธ์ หรื อกลุ่มเดียว 2 ครั้ง หรื อวัดตัวอย่างสองกลุ่มที่ได้จากการจับคู่คุณลักษณะที่เท่าเทียมกัน
โดย H0 : u1 = u2 และ H1 : u1 != u2 เริ่ มต้นจะหาค่าสถิติสหสัมพันธ์ (Correlation) ก่อนดูจากตาราง Paired Samples
Correlations ถ้าค่า sig น้อยกว่า 0.01 แสดงว่าค่าตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธ์กนั แล้วมองตารางที่สอง Paired Samples Test ที่นยั
สำคัญ 0.01 ถ้า sig < 0.01 แสดงว่าสองตัวแปรมีค่าเฉลี่ยแตกต่างกันอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ
4.

Independent T-Test คือ การทดสอบสมมติฐานของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็ นอิสระจากกัน เช่น การวิจยั เชิงทดลองต้องการทดสอบผลสัมฤทธิ์


ทางการเรี ยน ของกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบใหม่ กับกลุ่มที่ได้รับการสอบแบบเดิมหรื อกลุ่มควบคุม โดย H0 : u1 = u2 และ H1 : u1 != u2 ที่นยั
สำคัญ 0.05 ถ้า sig < 0.05 แสดงว่ายอมรับ H1 ค่าเฉลี่ยแตกต่างกันอย่างมีนยั สำคัญ
ซึ่งจะใช้ ค่า T-Test นี้ จะต้องทดสอบ F-Test หาค่าความแปรปรวนก่อน ว่าสองกลุ่มนี้มีความแปรปรวนแตกต่างกันอย่างมีนยั สำคัญหรื อไม่ ถ้า sig
> 0.05 (F-Test) แสดงว่าไม่แตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สำคัญ ให้ใช้ขอ้ มูลในตารางบรรทัดแรก คือ บรรทัด Equal variances assumed ถ้า
sig < 0.05 (F-Test) แสดงว่าแตกต่างกันอย่างมีนยั สำคัญ ให้ใช้ขอ้ มูลในตารางบรรทัดที่สอง คือ บรรทัด Equal variances not
assumed
เช่ น สมมติฐาน ว่า เพศที่แตกต่างกันจะมีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกัน
H0 : เพศที่แตกต่างกันจะมีความผูกพันต่อองค์การไม่แตกต่างกัน
H1 : เพศที่แตกต่างกันจะมีความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกัน
การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่

PSS : การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่  [2].p35


การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลทางสถิติน้ นั มีหลายวิธี แต่ละวิธีกจ็ ะถูกเลือกใช้ให้เหมาะสมกับข้อมูล เช่น การเปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างตัวแปร 2 ตัวที่เป็ นอิสระ
ต่อกันก็อาจใช้ indepentent-sample T-Test [6].p356 หรื อทั้ง t-test และ z-test เมื่อใช้กบั ค่ากลุ่มใหญ่จะให้ค่าเท่ากัน แต่ t-test มักใช้กบั กลุ่มเล็ก
ที่ < 30 ดังนั้นในตัวอย่างข้างล่างนี้ จึงเลือกใช้ค่าสถิติ t-test

1. การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ หนึ่งกลุ่ม (One Sample Test)


ตัวอย่างโจทย์ที่จะทดสอบ
ประเด็น รายได้ เฉลีย่ ของพนักงานบริษัท A ต่ อเดือน เท่ ากับ 15000 หรือไม่
H0 : u = 15000
จงทดสอบว่า ประเด็นข้างต้น โดยมีค่าความเชื่อมัน่ 0.05
H1 : u != 15000
กลุ่มตัวอย่าง 15200, 16000, 14000, 14800, 14900, 15000, 15100, 15050, 14950, 15100
ประเด็น นักเรียนในห้ อง A นั่งสมาธิได้ ไม่ น้อยกว่า 30 นาที
H0 : u > 30
จงทดสอบว่า ประเด็นข้างต้น โดยมีค่าความเชื่อมัน่ 0.01
H1 : u <= 30
กลุ่มตัวอย่าง 28, 31, 32, 33, 29, 30, 22, 36, 41, 29
ลำดับการใช้ สถิติ one-sample t-test ในโปรแกรม SPSS
1. กรอกข้อมูลลงใน SPSS
2. เลือก menu bar, analyze, compare means, one-sample-test
3. เลือกตัวแปรมาทดสอบ (interval หรื อ ratio scale)
4. test value กรอก 15000 หรื อ 30
5. คลิ๊ก option กำหนด confidence interval 1% = 0.01
6. คลิ๊ก ok จะแสดงรายงาน

2. การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ 2 กลุ่ม แบบ 1 อิสระจากกัน ด้วย t-independent


ตัวอย่างโจทย์ที่จะทดสอบ มีตัวแปร อิสระ 1 ตัว และตัวแปรตาม 1 ตัว
ประเด็น การเลือกพรรคการเมือง ของเพศชาย หรือหญิง ไม่ แตกต่ างกัน
H0 : u1 = u2
จงทดสอบว่า ประเด็นข้างต้น โดยมีค่าความเชื่อมัน่ 0.05
H1 : u1 != u2
กลุ่มตัวอย่าง M-1 M-1 M-2 M-2 M-1 F-1 F-2 F-1 F-2 F-1
ลำดับการใช้ สถิติ one-sample t-test ในโปรแกรม SPSS
1. กรอกข้อมูลลงใน SPSS
2. เลือก menu bar, analyze, compare means, Independent-samples T-Test
3. เลือกตัวแปรมาทดสอบ (interval หรื อ ratio scale)
4. grouping variable และ norminal scale
5. คลิ๊ก option กำหนด confidence interval 1% = 0.01
6. คลิ๊ก ok จะแสดงรายงาน
3. การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ 2 กลุ่ม แบบ 2 อิสระจากกัน ด้วย t-dependent (Pre-test & Post-test)
ตัวอย่างโจทย์ที่จะทดสอบ 2 ครั้งกับกลุ่มเดียวกัน มีตัวแปร อิสระ 2 ตัว
ประเด็น คะแนนก่อนสอบ และคะแนนหลังสอบ ไม่ แตกต่ างกัน
H0 : u1 = u2
จงทดสอบว่า ประเด็นข้างต้น โดยมีค่าความเชื่อมัน่ 0.05
H1 : u1 != u2
กลุ่มตัวอย่าง 1)80,82 2)75,76 3)40,50 4)84,88 5)55,56 6)71,69 7)81,82 8)90,95 9)26,31 10)60,70
ลำดับการใช้ สถิติ one-sample t-test ในโปรแกรม SPSS
1. กรอกข้อมูลลงใน SPSS
2. เลือก menu bar, analyze, compare means, paired sample t-test
3. เลือกตัวแปรมาทดสอบ (interval หรื อ ratio scale)
4. paired variable
5. คลิ๊ก option กำหนด confidence interval 5% = 0.05
6. คลิ๊ก ok จะแสดงรายงาน

You might also like