เอกนาม

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

พหุนาม

เอกนาม
นิพจน์ (expression) คือ ข้อความที่เขียนให้อยู่ในรูปสัญลักษณ์ต่าง ๆ แต่ในทางพีชคณิตจะมีการใช้ตัวอักษร เช่น a, b,
c, A, B, C แทนจานวนต่าง ๆ ที่เราต้องการ โดยมีตัวอย่าง เช่น .......................................................................................................

โดยเรียกตัวอักษรว่า ....................................................และตัวเลขเรียกว่า....................................................

ข้อตกลงในการเขียนผลคูณระหว่างค่าคงตัวและตัวแปร
1) กรณีที่มีค่าคงตัวมากกว่า 1 ตัว ให้หาผลคูณของค่าคงตัวก่อน แล้วเขียนผลลัพธ์ไว้หน้าตัวแปร
เช่น 2 3 4 x เขียนได้เป็น....................................................
2) กรณีที่มีตัวแปรมากกว่า 1 ตัว ให้เขียนเรียงลาดับตัวอักษรและเขียนเรียงชิดติดกันไปและใช้รูปเลขยกกาลังถ้ามีตัว
7
แปรซากัน เช่น  m m n เขียนได้เป็น....................................................
5
3 a  b  a  b  c  4 เขียนได้เป็น....................................................
3) กรณีที่ค่าคงตัวเป็น 1 ไม่ต้องเขียนค่าคงตัว ถ้าค่าคงตัวเป็น -1 ให้เขียนเฉพาะเครื่องหมายลบหน้าตัวแปรทังหมด
เช่น 1 x  y เขียนได้เป็น....................................................
 1  y  z  x เขียนได้เป็น....................................................

นิพจน์ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป และเลขชี้กาลังของตัว
แปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือจานวนเต็มบวก เรียกว่า................................................................

ตัวอย่างนิพจน์ที่เป็นเอกนาม ตัวอย่างนิพจน์ที่ไม่เป็นเอกนาม
ส่วนที่เป็นค่าคงตัว เรียกว่า .................................................
เอกนาม
ส่วนที่เป็นตัวแปรหรืออยู่ในรูปการคูณของตัวแปร โดย
ผลบวกของเลขชี้กาลังของตัวแปรทั้งหมดในเอกนาม
เรียกว่า...............................................................................

เช่น 2xy เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น............................. มีดีกรีเป็น.............................

 xy 2 เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น............................. มีดีกรีเป็น.............................

22 a3b4 เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น............................. มีดีกรีเป็น.............................

8 เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น............................. มีดีกรีเป็น.............................

x เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น............................. มีดีกรีเป็น.............................

1
เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น............................. มีดีกรีเป็น.............................
a 2

xyz 2 เป็นเอกนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็น............................. มีดีกรีเป็น.............................


3

เอกนามคล้าย
เอกนาม 2 เอกนามใด ๆ จะเป็นเอกนามคล้ายกันก็ต่อเมื่อ
1. เอกนามทั้งสองมีตัวแปรชุดเดียวกัน
2. เลขชี้กาลังของตัวแปรแต่ละตัวในเอกนามทั้งสองเท่ากัน

ตัวอย่างเอกนามที่คล้ายกัน ตัวอย่างเอกนามที่ไม่คล้ายกัน

……………………….คล้ายกันกับ………………………. ……………………….ไม่คล้ายกันกับ……………………….
……………………….คล้ายกันกับ………………………. ……………………….ไม่คล้ายกันกับ……………………….
……………………….คล้ายกันกับ………………………. ……………………….ไม่คล้ายกันกับ……………………….
2

You might also like