Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 42

ปัจจัยพื้นฐาน

ทางพฤติกรรม
ของมน ุษย์
ปัจจัยพื้นฐานทางพฤติกรรมของมน ุษย์

● ปั จจัยพื้นฐานทางชีวภาพของมนุษย์
○ ระบบประสาท
○ ต่อมไร้ทอ่
● ปั จจัยพื้นฐานทางพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม
ปัจจัยพื้นฐาน
ทางชีวภาพของมน ุษย์
ปัจจัยพื้นฐานทางชีวภาพของมน ุษย์

01 ระบบประสาท (Nervous System) การทางานของระบบประสาทจะควบคุม


ทัง้ พฤติกรรมภายใน เช่น การรูส้ ึก การรับรู้ การคิด การเกิดอารมณ์ และ
กระทาตอบสนองเป็ นพฤติกรรมภายนอก

02 ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine) ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมนส่งเข้าไปในกระแส


เลือด เพื่อกระตุน้ และควบคุมการทางานของอวัยวะส่วนต่าง ๆ
01

ระบบประสาท
(Nervous System)
“ระบบประสาท (Nervous System)”
• เป็ นระบบที่ทาหน้าที่ควบคุมการรูส้ ึก และการแสดงออก
• ทาหน้าที่เกี่ยวกับการรับรู้ ความคิด ความจา
และการตัดสินปั ญหา
• ควบคุมทัง้ การแสดงออกสูภ ่ ายนอกและการทางาน
ของอวัยวะภายใน
ระบบประสาท

ทาหน้าที่ควบคุมกลไกทัง้ หมดของปฏิกิริยาในร่างกาย
• ความรูส ้ ึกและการแสดงปฏิกิริยาตอบสนอง
• เป็ นศูนย์กลางความคิด ความจา
• ควบคุมการทางานของอวัยวะภายใน
• ควบคุมการทางานของกล้ามเนือ ้
RULE ONE
ระบบประสาท
เซลล์ประสาท ประกอบด้วย
ตัวเซลล์ (Cell Body) และ
แขนงของเซลล์ 2 ชนิด คือ
• เดนไดรต์ (Dendrite)
เป็ นตัวรับกระแสประสาท
• แอกซอน (Axon)
เป็ นตัวส่งกระแสประสาทออกไป
ระบบประสาท
• เซลล์ประสาทตัง้ ต้นจะส่งกระแสประสาท
ไปยังเซลล์ประสาทตัวต่อไป
• มีทงั้ การกระตุน้ ให้สง่ ต่อ และการยับยัง้ ให้
หยุดส่ง
• ระหว่างเซลล์ประสาทจะมีชอ่ งว่างแคบ ๆ
เรียกว่า ซิแนปส์ (Synapse)
• การส่งกระแสประสาทข้ามซิแนปส์ตอ้ ง
อาศัยสารชีวเคมีเป็ นตัวนา เรียกว่า
นิวโรทรานสมิตเตอร์ (Neurotransmitter)
DID YOU KNOW THIS?
ระบบประสาทส่วนกลาง
(Central Nervous System)
ระบบประสาท
ระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System)

• สมอง (Brain) ทาหน้าที่ในกระบวนการรับรู้ สัง่ การ และควบคุม


อวัยวะภายใน
• ไขสันหลัง (Spinal Cord) ประกอบด้วยเซลล์ประสาท และใยประสาท
มีหน้าที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ด้วยปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex Action)
และเป็ นเส้นทางนาข้อมูล
โดยกระแสประสาทไปสูส่ มอง
เพื่อตีความ และสัง่ การ
ระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System)
สมอง

• สมองใหญ่ (Cerebrum)
• ส่วนแกนกลาง (Brain Stem)
• ส่วนลิมบิก (Limbic) และ
ไฮโปทาลามัส (Hypothalamus)
ระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System)
สมอง
สมองใหญ่ (Cerebrum)
• เป็ นส่วนที่ใหญ่ที่สดุ
• สมองซีกซ้ายจะควบคุมการทางานของร่างกายซีกขวา
ซึ่งเป็ นด้านที่คนส่วนใหญ่ถนัดและใช้มากกว่า
• สมองซีกซ้ายเกี่ยวข้องกับการใช้ภาษา
• สมองซีกขวาทาหน้าที่เฉพาะเกี่ยวกับความสามารถทางดนตรี
สุนทรียะ การกาหนดทิศทาง และการหาตาแหน่ง
ระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System)
สมอง
ส่วนแกนกลาง (Brain Stem)
ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
• ก้านสมอง (Brain Stem)
เมดัลลา (Medulla) ควบคุมหน้าที่สาคัญของชีวิต คือ การหายใจและการไหลเวียนของโลหิต
พอนส์ (Pons) ทาหน้าที่เป็ นตัวเชือ่ มระบบประสาทสัง่ การระหว่าง สมองใหญ่และสมองน้อย
เพื่อให้ร่างกายสามารถประสานงานกัน
มิดเบรน (Midbrain) ทาหน้าที่ควบคุมการเคลือ่ นไหว และการทรงตัวของร่างกาย
• ทาลามัส (Thalamus) เป็ นศูนย์รวมของประสาทรับความรูส้ ึกก่อนส่งไปยังสมองใหญ่
เพื่อสัง่ การต่อไป
• สมองน้อย (Cerebellum) ควบคุมการเคลื่อนไหว และการทางานของร่างกาย
ระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System)
สมอง
ส่วนลิมบิก (Limbic) และไฮโปทาลามัส (Hypothalamus)
มีหน้าที่สาคัญเกี่ยวกับ
• สัญชาตญาณพื้นฐาน เช่น ความต้องการอาหาร ความต้องการความปลอดภัย
หรือความต้องการการสืบพันธุ์
• การแสดงอารมณ์ เป็ นอาการทางร่างกาย เช่น ใจสัน่ หน้าแดง หรือพฤติกรรมต่าง ๆ
เช่น แสดงอาการดีใจด้วยการกระโดดตัวลอย
• เกี่ยวข้องกับความจา โดยทางานร่วมกับสมองส่วนหน้า
• ควบค ุมระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System)
ไขสันหลัง
• เป็ นส่วนหนึง่ ของระบบประสาทส่วนกลาง
• มีลกั ษณะเป็ นลายาว ประกอบด้วยเซลล์ประสาทและใยประสาท
• ตัง้ อยูภ่ ายในช่องของกระดูกสันหลัง มีหน้าที่
1. มีหน้าที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าด้วยปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex Action)
เช่น เมือ่ เท้าเหยียบของที่แหลมคม เท้าจะกระตุกหนีทนั ที
2. เป็ นเส้นทางนาข้อมูลโดยกระแสประสาทไปสูส่ มอง
เพื่อตีความและสัง่ การ และขณะเดียวกันก็รบั กระแสประสาท
จากสมองที่สง่ ลงมาด้วยเช่นกัน
ระบบประสาทส่วนปลาย
(Peripheral Nervous System)
DID YOU KNOW THIS?
ระบบประสาท
ระบบประสาทส่วนปลาย(Peripheral Nervous System)

• ระบบประสาทโซมาติก
(Somatic Nervous System)
เส้นประสาทสมอง
เส้นประสาทไขสันหลัง
• ระบบประสาทอัตโนมัติ
(Autonomic Nervous System)
ซิมพาติก
พาราซิมพาเธติก
ระบบประสาทส่วนปลาย(Peripheral Nervous System) ระบบประสาทโซมาติก (SNS)

• ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของร่างกายทีส่ มองสามารถสัง่ งานได้โดยตรง


ภายใต้อานาจจิตใจ (Voluntary) คือรับรูไ้ ด้ว่ามีอะไรเกิดขึน้
และสัง่ การให้อวัยวะต่าง ๆ ทางานโต้ตอบ
• ประกอบด้วยเส้นประสาท 2 ชนิด คือ
• เส้นประสาทรับความรู ส้ ึก (Sensory Nerve) นาข่าวสารที่ได้รบั ไปยังประสาท
ส่วนกลาง เช่น ความรูส้ ึกร้อนหนาว การรูร้ ส การทรงตัว
• เส้นประสาทมอเตอร์ (Motor Nerve) นาคาสัง่ จากระบบประสาทส่วนกลางไปยัง
กล้ามเนือ้ ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของจิตใจ หรือกล้ามเนือ้ ลาย ทาให้เกิดการ
เคลื่อนไหว และแสดงออก
ระบบประสาทส่วนปลาย(Peripheral Nervous System) ระบบประสาทโซมาติก (SNS)

• เส้นประสาทสมอง (brainal nerve)


มาจากสมอง 12 คู่ แยกไปทางซีกซ้ายและซีกขวา
เพื่อรับส่งความรูส้ ึกและคาสัง่ ตัง้ แต่ลาคอขึน้ ไป
• เส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerve)
ออกจากไขสันหลัง มีทงั้ สิ้น 31 คู่
จากกึ่งกลางลาตัว แยกกระจายไปทาง
ซีกซ้ายและซีกขวาของร่างกาย
รับส่งความรูส้ ึกและคาสัง่ ตัง้ แต่บริเวณลาคอ
ลงไปจนถึงปลายเท้า
ระบบประสาทส่วนปลาย(Peripheral Nervous System) ระบบประสาทอัตโนมัติ (ANS)

ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของอวัยวะที่ไม่อยูภ่ ายใต้อานาจจิตใจ
• กล้ามเนือ้ หัวใจ การเต้นและการบีบตัวของหัวใจ
• กล้ามเนือ้ เรียบ ควบคุมให้อวัยวะภายในทางาน
เช่น กระเพาะ ลาไส้ กระเพาะปั สสาวะ หลอดลม และปอด
• ต่อมมีทอ่ ควบคุมการหลัง่ ของอวัยวะต่าง ๆ
เช่น ต่อมเหงือ่ ต่อมนา้ ตา ต่อมนา้ ลาย และต่อมนา้ ย่อย
ระบบประสาทส่วนปลาย(Peripheral Nervous System) ระบบประสาทอัตโนมัติ (ANS)
แบ่งได้เป็ น 2 ระบบย่อย ซึ่งในภาวะปกติ
จะทางานร่วมกันอย่างสมดุล
• ซิมพาเธติก (Sympathetic Nervous System)
ทางานในขณะที่ร่างกายอยู่ในภาวะฉุกเฉิน
เช่น ภาวะเครียด กลัว ตกใจ หรือโกรธ
อวัยวะต่าง ๆ จะทางานลดลง เพื่อให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะ
ที่เป็ นกล้ามเนือ้ ลาย เป็ นการเตรียมพร้อมในการต่อสู้
• พาราซิมพาเธติก (Parasympathetic Nervous System)
ทางานในภาวะที่ร่างกายผ่อนคลาย เช่น หลังจากผ่านภาวะตึงเครียด เวลาพักผ่อน
หลังอาหาร หัวใจจะเต้นช้าลง เลือดจะไปเลี้ยงอวัยวะภายใน
02

ระบบต่อมไร้ท่อ
(Endocrine System)
ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System)
• เป็ นระบบที่สาคัญ ทางานร่วมกับระบบ
ประสาทอย่างใกล้ชดิ
• มีอิทธิพลต่อร่างกาย และพฤติกรรมมาก
• ผลิตสารเคมีที่เรียกว่า “ฮอร์โมน (Hormone)”
ส่งเข้าไปในกระแสเลือดเพื่อแจกจ่าย
ไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
• กระตุน้ และควบคุมการทางานของอวัยวะ
ส่วนต่าง ๆ
• ต่อมไร้ทอ่ จะทางานร่วมกันเป็ นระบบ
และส่งผลต่อกัน
ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System)
• ต่อมพิทอู ิทารี (Pituitary Gland)
ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของต่อมไร้ทอ่ อื่น ๆ จึงเป็ นต่อมที่มคี วามสาคัญมาก
มีหน้าที่
• กากับปฏิกิริยาของร่างกาย เพื่อตอบโต้
กับความเครียดและต่อสูก้ บั เชือ้ โรค
• หลัง่ ฮอร์โมนควบคุมความดันโลหิต
ความกระหายนา้ และผลิตฮอร์โมน
เจริญเติบโต (Growth Hormone)
ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System)
• ต่อมไทรอยด์ (Thyroid Gland) • ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid
• ผลิตฮอร์โมน ไทร็อกซิน (Thyroxin) Glands)
ทาหน้าที่ควบคุมการเผาผลาญ • ผลิตฮอร์โมนพาราไทรอยด์
อาหาร การเจริญเติบโตของ ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณแคลเซียม
ร่างกาย เพิ่มระดับนา้ ตาลในเลือด และฟอสฟอรัสในเลือด
เพื่อให้ระบบประสาทมีความไวต่อ
การกระตุน้ เป็ นปกติ
ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System) • ต่อมแพนเครียส (Pancreas)
• ผลิตฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin)
• ต่อมเพศ (Gonads) ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณนา้ ตาลในเลือด
• ต่อมในรังไข่ของผูห้ ญิงและในอัณฑะ ควบคุมการเผาผลาญนา้ ตาลในร่างกาย
ของผูช้ าย ทาหน้าที่ผลิตไข่ และสเปิ ร์ม ให้อยู่ในภาวะสมดุล
• ผลิตฮอร์โมนที่มบี ทบาทต่อความ • ต่อมอดรีนลั (Adrenal Glands)
ตืน่ ตัวทางเพศ และการพัฒนา • กระตุน้ การทางานของระบบซิมพาเทติค
ลักษณะทางเพศ ทาให้ร่างกายตืน่ ตัวเพื่อป้องกันตัว
• กระตุน้ ทางอารมณ์ การเผาผลาญ
อาหาร และความตืน่ ตัวทางเพศ
• กระตุน้ การทางานของร่างกายเวลามี
ความเครียด และกากับภูมคิ มุ้ กันโรค
ปัจจัยพื้นฐานทาง
พันธ ุกรรมและ
ทางสิ่งแวดล้อม
01

พันธ ุกรรม
(Heredity)
พันธ ุกรรม (Heredity)
ลักษณะที่ ได้รับการถ่ายทอดจากพ่อแม่ และบรรพบุรุษ
โดยผ่านกระบวนการทางชีววิทยา
และลักษณะต่าง ๆ นั้น จะติดตัวบุคคลมาตั้งแต่เกิด
ความรูพ
้ ้ ืนฐานในการถ่ายทอดทางพันธ ุกรรม

• ลักษณะทางพันธุกรรมถูกถ่ายทอดผ่านโครงสร้าง
ที่เรียกว่า “โครโมโซม (Chromosome)”
• โครโมโซมประกอบด้วยสารเคมีที่เป็ นกรด เรียกว่า “DNA”
• ลักษณะที่ถ่ายทอดจากบรรพบุรษุ สูล่ กู หลานจะอยูใ่ น DNA
ซึ่งมีโมเลกุลเรียกว่า “ยีน (Gene)”
“ยีนจึงเป็ นหน่วยพื้นฐานของการถ่ายทอดทางพันธุ กรรม”
ความรูพ
้ ้ ืนฐานในการถ่ายทอดทางพันธ ุกรรม
ลักษณะที่ถ่ายทอดทางพันธ ุกรรม

● โรคทางจิต (บางอย่าง) เช่น


● ลักษณะทางกาย
เช่น เพศ สีผม สีผวิ สีตา โรคจิตเภท (Schizophrenia) Bipolar

● โรคทางกาย (บางอย่าง) โรคอารมณ์แปรปรวน (Affective


เช่น ทาลัสซีเมีย โลหิตไหลไม่ Disorder)
● เชาวน์ปัญญา และความพิการ
หยุด เบาหวาน ตาบอดสี
ทางสมอง
= ⇐
,
02

สิ่งแวดล้อม
ปัจจัยพื้นฐานทางสิ่งแวดล้อม
TI meline ตาม ห ก ต ทยา .

❑ สิ่งแวดล้อมก่อนคลอด (Prenatal Environment)


❑ สิ่งแวดล้อมขณะคลอด (Perinatal Environment)
❑ สิ่งแวดล้อมหลังคลอด (Postnatal Environment
จิ
ลั
วิ
สิ่งแวดล้อมก่อนคลอด
01
- สุขภาพของมารดา เช่น หัดเยอรมันในการตัง้ ครรภ์ 3 เดือนแรก
จะส่งผลให้ทารกหูพิการ เป็ นต้อกระจก ฟันไม่ครบ โครงสร้างหัวใจ
ผิดปกติ มีศีรษะเล็กและปั ญญาอ่อนได้
- ยา ยาแก้แพ้บางชนิด เช่น Thalidomide ใช้ระงับอาการแพ้ทอ้ ง ถ้าใช้
ในช่วง 3 เดือนแรกของการตัง้ ครรภ์ จะทาให้ทารกพิการ
- รังสี หากได้รบั ได้ระยะปฏิสนธิและเริ่มแบ่งเซลล์ จะทาให้ตวั อ่อน
ผิดปกติทางตา กระดูกพิการ อาจมีอาการปากแหว่งเพดานโหว่
สิ่งแวดล้อมก่อนคลอด
01
- แอลกอฮอล์ ทาลายสมองและพัฒนาการของทารก
- บุหรี่ มีผลต่อภาวะเคมีในเลือด รวมถึงอัตราการเต้นที่ผิดปกติของ
หัวใจทารก
- Rh. factor โดยทัว่ ไปคนไทยจะมีเลือด Rh.+ ถ้ามารดามีเลือดที่มี
Rh.– ซึ่งเป็ นคนละกลุม่ กับทารก จะกระตุน้ ให้มารดาสร้าง Anti Rh.
ส่งผลให้ทารกเสียชีวิตด้วยโลหิตจาง
สิ่งแวดล้อมก่อนคลอด
01
- อาหาร หากมารดาขาดอาหารจะทาให้ทารกขาดอาหารไปด้วย
โดยเฉพาะในระยะ Embryo Period ซึ่งร่างกายทารกกาลังสร้างกระดูก
และสมอง จึงต้องการแคลเซียม เหล็ก วิตามิน A B และ D เป็ นต้น
- อายุ การตัง้ ครรภ์ในช่วงที่มารดามีอายุมาก มีโอกาสที่โครโมโซมและ
ยีนส์จะเสื่อมคุณภาพในการถ่ายทอดพันธุกรรม เช่น ทารกที่เกิดมา
เป็ น Down’s syndrome
- อารมณ์ของมารดา ความเครียด
ความกดดันของมารดาจะมีผลต่อทารกในครรภ์
02 สิ่งแวดล้อมขณะคลอด
• การใช้เครื่ องมือช่วยคลอด อาจพบความผิดพลาดได้ เช่น แผลถลอก
หรือเป็ นอันตราย ต่อตาศีรษะ ไหล่ และคอ รวมถึงการติดเชือ้ ความสะอาด
ของเครื่องมือจึงเป็ นสิง่ สาคัญ
• การขาดออกซิเจน จากการคลอดที่ผดิ ปกติ ส่งผลให้เกิดความพิการทางสมอง
• การติดเชื้อกามโรคโกโนเรีย (Gonorrhea) หรือหนองในบริเวณช่องคลอด
หากไม่ได้รบั การรักษาให้หายก่อนการคลอด
ตามธรรมชาติอาจส่งผลให้ทารกตาบอดได้
สิ่งแวดล้อมหลังคลอด
01
- ภายในครอบครัว เป็ นสิ่งแวดล้อมแรกของเด็กที่ตอบสนอง
ความต้องการทางกายภาพ และความต้องการทางจิตสังคม
- ภายในโรงเรียน เป็ นสิ่งแวดล้อมที่เด็กต้องใช้เวลายาวนาน
ในการใช้ชวี ิต
- ภายในสังคมและชุมชน การส่งต่อข้อมูลการสื่อสาร
ถ่ายทอดและส่งต่อ ความเชือ่ วัฒนธรรม ประเพณี คุณค่า
และบรรทัดฐาน

You might also like