Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 22

เคมีครูเปา


ิ ธ ิ ์

ิ ส
เคมีเล่ม 1 เรื่อง สมบัติของธาตุและสารประกอบ

ง ว น
ข อส
ร เ
ู ปา
ม ค

เค
Paul T. Thanataweenont
BEng Petrochemicals and polymeric materials, Silpakorn University, Thailand
MSc Oil and gas engineering, Robert Gordon University, UK
เคมีครูเปา

ิ ธิ ์

ิ ส
เคมีเล่ม 1 เรื่อง สมบัติของธาตุและสารประกอบ

EP.1 งวน
อ ส
• าข
• Introduction


ี ร
• เ
ู ป
วิวัฒนาการของตาราธาตุ


พื้นฐานเรื่องธาตุ และไอออน

เค
Introduction: ผู้สอน

ิ ธิ ์
ครูเปา ธนุพล ธนทวีนนท์

ลข
ิ ส

การศึกษา

งว
- BEng Petrochemicals and polymeric materials, Silpakorn University,



Thailand

ู เปา ข
- MSc Oil and gas engineering, Robert Gordon University, UK

ประสบการณ์สอน

มค
ี ร
เค
- เริ่มสอนวิชาเคมีตั้งแต่ พ.ศ.2553
- เริ่มสอนวิชาเคมีออนไลน์ตั้งแต่ พ.ศ.2560
Introduction: เนื้อหาที่เรียน

ิ ธิ ์
✴ Introduction
ลข
ิ ส
✴ ธาตุแทรนซิชัน


✴ แนวโน้มสมบัติของธาตุบนตารางธาตุ ✦ การเกิดสี
✦ ขนาดอะตอม และขนาดไอออน

สงว ✦ การเกิดสารประกอบเชิงซ้อน

✴ ธาตุกัมมันตรังสี

✦ IE, EN, E0, EA
✦ ความหนาแน่น
✦ ความเป็นโลหะ

ู เปา ข ✦ สมการนิวเคลียร์
✦ ครึ่งชีวิต


ี ร
✦ จุดเดือดจุดหลอมเหลว


เค
✴ สมบัติของสารประกอบตามคาบ
✦ สมบัติของสารประกอบคลอไรด์
✦ สมบัติของสารประกอบออกไซด์
Introduction: วิวัฒนาการของตารางธาตุ

ิ ธิ ์

ิ ส
พ.ศ. 2407 จอห์น นิวแลนด์ เสนอว่า ถ้านำธาตุมาเรียงลำดับตามมวลอะตอม โดยไม่รวมธาตุ H และ



ก๊าซเฉื่อย พบว่า ธาตุตัวที่ 8 จะมีสมบัติคล้ายธาตุตัวที่ 1

สงว
Li
Na
า ข อBe
Mg
B
Al
C
Si
N
P
O
S
F
Cl


ี ร ู
K
เป Ca

เค ม
แต่พบว่า การจัดเรียงตามแนวคิดของนิวแลนด์ จะไช้ได้เพียงธาตุ Ca เท่านั้น
Introduction: วิวัฒนาการของตารางธาตุ

ิ ธิ ์

ิ ส
พ.ศ. 2412 – 2413 ยูลิอุส โลทาร์ ไมเออร์ และ ดิมิทรี อิวาโนวิช เมนเดเลเอฟ




จัดเรียงตารางธาตุตามมวลอะตอม

งว

• พบว่า ธาตุมีสมบัติที่คล้ายคลึงกันเป็นช่วงๆ

ข อ
เกิดเป็นกฏขึ้นมา เรียกว่า “กฎพีริออดิก (The Periodic Law)”



ี ร ู เป
เค ม
Introduction: วิวัฒนาการของตารางธาตุ

ิ ธิ ์

ิ ส
การจัดเรียงธาตุของเมนเดเลเอฟ ไม่เพียงแต่จัดเรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไปหามากเท่านั้น ยังคง


งวน
ยึดหลักของ กฎพีริออดิก คือ ธาตุที่นำมาจัดเรียงในกลุ่มเดียวกัน จะต้องมีคุณสมบัติที่คล้ายกัน คือ

ข อส H He
Li

ร ู เปา
Be B C N O F Ne



Na Mg Al Si P S Cl 39.9Ar

เค ม
39.1K Ca
Introduction: วิวัฒนาการของตารางธาตุ

ิ ธิ ์

ิ ส
พ.ศ. 2445 เฮนรี กวิน เจฟฟรีส์ โมสลีย์ พบว่า ตารางธาตุต้องเรียงตามเลขอะตอม หรือจำนวน




โปรตอน จะต้องสอดคล้องกับกฎพีริออดิก โดยไม่ต้องสลับที่กันเหมือนกับการจัดเรียงตามมวลอะตอม

สงว
ปัจจุบัน ตารางธาตุที่ได้เป็นดังแสดง

า ข อ

ี ร ู เป
เค ม
Introduction: ตารางธาตุในปัจจุบัน

ิ ธิ ์
ลข
ิ ส คาบที่ 1 มี 2 ธาตุ


คาบที่ 2, 3 มี 8 ธาตุ

สงว คาบที่ 4, 5 มี 18 ธาตุ


คาบที่ 6 มี 32 ธาตุ

ู เปา ข คาบที่ 7 ยังมีธาตุเพิ่ม


ขึ้นเรื่อยๆ

มค
ี ร
เค
ธิ
Introduction: การตั้งชื่อธาตุตามระบบ IUPAC

ิ ์


ลข
ิ ส
ใช้สำหรับธาตุที่ยังไม่ได้ตั้งชื่ออย่างเป็นทางการ


ทำการกำหนดชื่อธาตุตามเลขอะตอมดังนี้

งว
ให้ลงท้ายชื่อธาตุด้วยเสียง เ_ียม (_ium)


เลข

า ข อ
คำอ่าน สัญลักษณ์ เลข คำอ่าน สัญลักษณ์
0
1

ี ร ู เป นิล (nil)
อูน(un)
n
u
5
6
เพนต(pent)
เฮกซ(hex)
p
h

เค ม
2
3
4
ไบ(bi)
ไตร(tri)
ควอด(quad)
b
t
q
7
8
9
เซปต(sept)
ออกต(oct)
เอนน(enn)
s
o
e

Introduction: การตั้งชื่อธาตุตามระบบ IUPAC

ิ ิ ์

ิ ส
Ex. จงอ่านชื่อธาตุตามสัญลักษณ์นิวเคลียร์ต่อไปนี้


114A

งวน 115B

116C

ข อส 117D

118E

ร ู เปา 119F

มค

เค
120G 121H
Introduction: พื้นฐานเรื่องธาตุ และไอออน

ิ ธิ ์
การรับ–จ่ายอิเล็กตรอน และโปรตอน


ลข
ิ ส
งวน
การรับ–จ่ายอิเล็กตรอน จะทำให้ธาตุอยู่ในรูปไอออน แต่ถ้าเป็น การรับ–จ่ายโปรตอน จะทำให้ธาตุ

ข อส
เปลี่ยนชนิดตามเลขอะตอมใหม่ เช่น


Ex.1 ธาตุ 7N รับ 2 โปรตอน รับ 5 อิเล็กตรอน จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร


ี ร ู เป
เค ม
ธิ ์
Introduction: การรับ–จ่ายอิเล็กตรอน และโปรตอน



ิ ส
Ex.2 ธาตุ 16S รับ 3 โปรตอน จ่าย 1 อิเล็กตรอน จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร


งวน
ข อส

Ex.3 ธาตุ 23V รับ 4 โปรตอน จ่าย 3 อิเล็กตรอน จะเปลี่ยนแปลงอย่างไร


ี ร ู เป
เค ม
Introduction: พื้นฐานเรื่องธาตุ และไอออน

ิ ธิ ์

ิ ส
การจัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือนก๊าซเฉื่อย ดังต่อไปนี้


วน
ธาตุหมู่ IA อยู่ในรูปไอออน +1


ธาตุหมู่ V อยู่ในรูปไอออน +5, –3

ข อส
ธาตุหมู่ IIA อยู่ในรูปไอออน +2
ธาตุหมู่ IIIA อยู่ในรูปไอออน +3
ธาตุหมู่ VI อยูใ่ นรูปไอออน +6, –2
ธาตุหมู่ VII อยูใ่ นรูปไอออน +7, –1

ู เปา
ธาตุหมู่ IV อยู่ในรูปไอออน +4, –4


มค

เค
Introduction: พื้นฐานเรื่องธาตุ และไอออน

ิ ธิ ์
การรับ–จ่ายอิเล็กตรอน และโปรตอน

ลข
ิ ส
งวน
การรับ–จ่ายอิเล็กตรอน จะทำให้ธาตุอยู่ในรูปไอออน แต่ถ้าเป็น การรับ–จ่ายโปรตอน จะทำให้ธาตุ

ข อส
เปลี่ยนชนิดตามเลขอะตอมใหม่ เช่น


Ex.1 ธาตุ N รับ 2 โปรตอน รับ 5 อิเล็กตรอน จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร


ี ร ู เป
เค ม
Introduction: พื้นฐานเรื่องธาตุ และไอออน

ิ ธิ ์

ิ ส
Ex.2 ธาตุ S รับ 3 โปรตอน จ่าย 1 อิเล็กตรอน จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร


งวน
ข อส

Ex.3 ธาตุ V รับ 4 โปรตอน จ่าย 3 อิเล็กตรอน จะเปลี่ยนแปลงอย่างไร


ี ร ู เป
เค ม
Introduction: พื้นฐานเรื่องธาตุ และไอออน

ิ ธิ ์

ิ ส
การจัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือนก๊าซเฉื่อย ดังต่อไปนี้


งวน
ธาตุหมู่ IA อยู่ในรูปไอออน +1 ธาตุหมู่ V อยู่ในรูปไอออน +5, –3

ข อส
ธาตุหมู่ IIA อยู่ในรูปไอออน +2 ธาตุหมู่ VI อยู่ในรูปไอออน +6, –2

ร ู เปา
ธาตุหมู่ IIIA อยู่ในรูปไอออน +3 ธาตุหมู่ VII อยู่ในรูปไอออน +7, –1



ธาตุหมู่ IV อยู่ในรูปไอออน +4, –4


เค
Introduction: พื้นฐานเรื่องธาตุ และไอออน

ิ ธิ ์

ิ ส
Ex.1 N3– จัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือนแก๊สเฉื่อยตัวใด…………………………………………….............................


งวน
Ex.2 Si4+ จัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือนแก๊สเฉื่อยตัวใด…………………………………………….............................

ข อส
ร ู เปา
Ex.3 Ca2+ จัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือนแก๊สเฉื่อยตัวใด…………………………………………….............................

มค

เค
Ex.4 I– จัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือนแก๊สเฉื่อยตัวใด…………………………………………….............................
Introduction: พื้นฐานเรื่องธาตุ และไอออน

ิ ธิ ์

ิ ส
การจัดเรียงอิเล็กตรอนที่เท่ากันของธาตุต่างๆ



ธาตุปกติที่อยู่ใกล้กันหรือต่อเนื่องกัน ถ้าอยู่ในรูปไอออนที่เสถียร จะมีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากัน
N3–, O2–, F–,

สงว
Ne, Na+, Mg2+, Al3+ มีอิเล็กตรอน 10 ตัว
P3–, S2–, Cl–,

า ข อ
Ar, K+, Ca2+ มีอิเล็กตรอน 18 ตัว
Ex.1 ธาตุหรือไอออนในข้อใดจัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือนกันและมีอิเล็กตรอนเท่าใด

ร ู เป
A: Na , Mg , Al3+ , S4+




D: Na+, K+ , Mg2+ , Ca2+


เค ม
B: Ca2+ , Mg2+ , Na+ , F–

C: N3– , O2– , F , Ne
E: Si4– , Cl– , Ar , Ca2+

F: Na+, Ca2+ , Al3+ , Cl–
Introduction: พื้นฐานเรื่องธาตุ และไอออน
ทิธ ์ ิ
Ex.2 สารประกอบคู่ใดที่ไอออนลบจัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือนกัน


ลข
ิ ส
A: KF กับ MgCl2


ง ว น
B: CaO กับ Na2S


ข อส

C: LiCl กับ BaBr2

D: SrCl2 กับ


ี ร ูเป
Na2S

E: BaCl2

เค มกับ K2O
ตอนต่อไป: สมบัติต่างๆในตารางธาตุ

ิ ธิ ์
✦ ขนาดอะตอม

ลข
ิ ส
✦ ขนาดไอออน

งวน
✦ EN, IE, E0, EA

ข อส

✦ ความหนาแน่น
✦ ความเป็นโลหะ


ี ร ู เป

เค ม
จุดเดือด จุดหลอมเหลว
Thank you สิทธ ิ ์
น ล ข

ส ง ว
µÔ´µÒÁ¡ÒÃÊ͹¢Í§¤ÃÙà»Òä´é · è Õ

า ข อ
PaulsChemistryThailand


ี ร เ
ู ป
PaulChemistryTH

เค ม

You might also like