Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 27

1

หน่ วยที่ 4
หลักการเมืองการปกครองท้ องถิ่น

รองศาสตราจารย์ ดร.ปธาน สุ วรรณมงคล

ชื่อ รองศาสตราจารย์ ดร.ปธาน สุวรรณมงคล


วุฒิ ร.บ. (เกียรตินิยม) มหวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ร.ม. (บริ หารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ร.ด. (การปกครอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตาแหน่ ง ข้าราชการบานาญ
หน่ วยทีเ่ ขียน หน่วยที่ 4
2

แผนผังแนวคิดหน่วยที่ 4
4.1.1 ความหมายของการปกครองท้องถิ่น

ตอนที่ 4.1 ความหมายและ


ความสาคัญของการปกครอง
ท้ องถิ่น

4.1.2 ความสาคัญของการปกครองท้องถิ่น

หลักการเมืองการปกครอง
ท้ องถิ่น
4.2.1 หลักการปกครองตนเอง

4.2.2 หลักการกระจายอานาจ
ตอนที่ 4.2 หลักการสาคัญของ
การปกครองท้ องถิน่ 4.2.3 หลักความเป็ นหนึ่งเดียวของรัฐ

4.2.4 หลักการมีส่วนร่ วม

4.2.5 หลักการกากับดูแลของรัฐ
3

หน่ วยที่ 4
หลักการเมืองการปกครองท้ องถิ่น

เค้ าโครงเนือ้ หา
ตอนที่ 4.1 ความหมาย ขอบเขต และความสาคัญของการปกครองท้องถิ่น
เรื่ องที่ 4.1.1 ความหมาย และขอบเขตของการปกครองท้องถิ่น
เรื่ องที่ 4.1.2 ความสาคัญของการปกครองท้องถิ่น
ตอนที่ 4.2. หลักสาคัญของการปกครองท้องถิ่น
เรื่ องที่ 4.2.1 หลักการปกครองตนเอง
เรื่ องที่ 4.2.2 หลักการกระจายอานาจ
เรื่ องที่ 4.2.3 หลักความเป็ นหนึ่งเดียวของรัฐ
เรื่ องที่ 4.2.4 หลักการมีส่วนร่ วม
เรื่ องที่ 4.2.5 หลักการกากับดูแลของรัฐ

แนวคิด
1. การปกครองท้องถิ่ นเป็ นการปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชนอย่างอิสระ
ตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น
2. หลักสาคัญของการปกครองท้องถิ่ นได้แก่ หลักการปกครองตนเอง หลักการกระจายอานาจ
หลักความเป็ นหนึ่งเดียวของรัฐ หลักการมีส่วนร่ วม และหลักการกากับดูแลของรัฐ

วัตถุประสงค์
เมื่อศึกษาหน่วยที่ 4 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายความหมาย ความสาคัญและหลักการเมืองการปกครองท้องถิ่นได้
2. อธิ บายหลักสาคัญของการเมืองการปกครองท้องถิ่นได้
4

กิจกรรม
1. กิจกรรมการเรี ยน
1) ศึกษาแผนผังแนวคิดของหน่วยที่ 4
2) อ่านแผนการสอนประจาหน่วยที่ 4
3) ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรี ยนหน่วยที่ 4
4) ศึกษาเนื้อหาสาระ ดังนี้
ก. หนังสื อและบทความเพิ่มเติม
ข. สื่ อโสตทัศน์และอื่นๆ
5) ปฏิบตั ิกิจกรรมในแต่ละเรื่ อง
6) ตรวจสอบกิจกรรมจากแนวตอบ
7) ทาแบบประเมินผลตนเองหลังเรี ยนหน่วยที่ 4
2. งานที่กาหนดให้ทา
1) ค้นคว้าศึกษาเพิ่มเติมจากตาราทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
2) สรุ ปประเด็นสาคัญจากการศึ กษาเพิ่มเติ ม โดยอาจใช้เนื้ อหาเพิ่มเติ มดังกล่ าวประกอบการ
ตอบคาถามหรื อกิจกรรมอื่นๆที่กาหนดสาหรับชุดวิชานี้
3. การสัมมนาเสริ ม
เข้ารับการสัมมนาเสริ มตามวัน เวลา และสถานที่ที่มหาวิทยาลัยกาหนด
แหล่งวิทยาการ
1. สื่ อการศึกษา
1) แนวการศึกษาหน่วยที่ 4
2) เอกสารอ้างอิงในบรรณานุกรม
2. หนังสื อในห้องสมุดต่างๆและศูนย์วทิ ยบริ การ
การประเมินผลการเรียน
1. ประเมินจากการสัมมนาเสริ ม และงานที่กาหนดให้ทาในแผนกิจกรรม
2. ประเมินจากการสอบไล่ประจาภาคการศึกษา
5

แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน

วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ประเมิ น ความรู ้ เ ดิ ม ในการเรี ย นรู ้ ข องนัก ศึ ก ษาเกี่ ย วกับ เรื่ อ ง “หลัก การเมื อ งการ
ปกครองท้องถิ่น”
คาแนะนา อ่านคาถามแล้วเขียนคาตอบลงในช่ องว่างที่กาหนดให้ นักศึกษามีเวลาทาแบบประเมินชุ ดนี้
30 นาที
1. นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับการเมืองการปกครองท้องถิ่นอย่างไร
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_________________
6

ตอนที่ 4.1
ความหมาย ขอบเขต และความสาคัญของการเมืองการปกครองท้ องถิ่น

โปรดอ่านแผนการสอนประจาตอนที่ 4.1 แล้วจึงศึกษาเนื้อหาสาระ พร้อมปฏิบตั ิกิจกรรมในแต่ละเรื่ อง

หัวเรื่อง
เรื่ องที่ 4.1.1 ความหมายและขอบเขตของการเมืองการปกครองท้องถิ่น
เรื่ องที่ 4.1.2 ความสาคัญของการเมืองการปกครองท้องถิ่น

แนวคิด
1. การเมืองการปกครองท้องถิ่ นหมายถึ ง การปกครองของคนในท้องถิ่ น โดยคนในท้องถิ่ น และ
เพื่อคนในท้องถิ่ นโดยรั ฐได้กระจายอานาจให้คนในท้องถิ่ นได้ปกครองตนเองโดยมีการกากับดู แลอย่าง
เหมาะสมจากรัฐ และมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับการเมืองระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และสถาบันทางการเมือง
2. การปกครองท้องถิ่ นมี ความสาคัญต่ อระบอบประชาธิ ปไตย ประเทศชาติ ชุ มชน และปั จเจก
บุคคล

วัตถุประสงค์
เมื่อศึกษาตอนที่ 4.1 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายความหมาย และขอบเขตของการปกครองท้องถิ่นได้
2. อธิ บายความสาคัญของการปกครองท้องถิ่นได้
7

เรื่องที่ 4.1.1 ความหมาย และขอบเขตของการเมืองการปกครองท้ องถิ่น

สาระสั งเขป

ความหมายของการเมืองการปกครองท้องถิ่น
การเมืองการปกครองท้องถิ่ นในที่น้ ี เป็ นคาที่พิจารณาในความหมายที่กว้างที่ครอบคลุมทั้งมิติทาง
การเมืองและการปกครองควบคู่กนั เนื่องจากในแง่มุมหนึ่ง การเมืองการปกครองท้องถิ่นเป็ นสิ่ งที่รัฐจัดให้มี
ขึ้นโดยเฉพาะในระบอบการเมื องการปกครองแบบประชาธิ ปไตยโดยรัฐกระจายอานาจให้ประชาชนได้
ปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ ข องประชาชนในท้อ งถิ่ น นั้น โดยผ่ า นระบบตัว แทนและการให้ ภ าค
ประชาชนได้มีส่วนร่ วมโดยทางตรงอีกทางหนึ่ง
อย่างไรก็ดี การเมืองการปกครองท้องถิ่ นได้ถูกนิ ยามไว้หลากหลาย และเพื่ อให้เกิดความเข้าใจใน
เรื่ องนี้มากขึ้น จึงขอนาคานิยามการเมืองการปกครองท้องถิ่นมาเสนอไว้ดงั นี้
การเมืองการปกครองส่ วนท้องถิ่น คือหน่วยงานทางการเมืองการปกครองที่อยูใ่ กล้ชิดกับประชาชน
มากที่สุดรู ปแบบหนึ่ง โดยปกติการเมืองการปกครองส่ วนท้องถิ่นจะเปิ ดโอกาสให้ประชาชนในเขตท้องถิ่น
นั้นๆ เลื อกตั้งผูแ้ ทนของตนเข้าไปทาหน้าที่ เป็ นผูบ้ ริ หารท้องถิ่ น หรื อเป็ นสมาชิ กสภาท้องถิ่ นเพื่อเลื อก
ผูบ้ ริ หารท้องถิ่นอีกทีหนึ่ง (เรี ยกว่าการเลือกตั้งโดยตรงหรื อโดยอ้อมตามลาดับ) องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
จะมีอานาจอิสระ (autonomy) ในการบริ หารจากรัฐได้ในระดับหนึ่งตามขอบเขตที่กฎหมายกาหนด1
วิลเลี่ยม วี. ฮอลโลเวย์ (William V. Holloway) นิยามว่า การเมืองการปกครองท้องถิ่นเป็ นองค์การที่
อาณาเขตแน่ นอน มีประชากรตามหลักที่กาหนดไว้ มีอานาจการปกครองตนเอง รวมไปถึ งมีการบริ หาร
งบประมาณการคลังของตนเอง และมีสภาท้องถิ่นที่สมาชิกได้รับการเลือกตั้งจากประชาชน2
วิลเลี่ ยม เอ. ร๊ อบสัน (William A. Robson) นิ ยามว่า การเมื องการปกครองท้องถิ่ นเป็ นหน่ วยการ
ปกครองที่รัฐได้จดั ตั้งขึ้นและให้มีอานาจปกครองตนเอง (Autonomy) มีสิทธิ ตามกฎหมาย (Legal Rights)
และมีองค์การที่จาเป็ นในการปกครอง (Necessary Organization)3
พี สโตน (P. Stone) ให้ความหมายว่า การเมืองการปกครองท้องถิ่นเป็ นส่ วนหนึ่ งของการปกครอง
ของประเทศที่รับผิดชอบเกี่ยวกับประชาชนในท้องถิ่นหนึ่งเป็ นการเฉพาะ4

1
https://th.wikipedia.org/wiki
2
William V.Holloway 1951. State and Local government in the United States. Mc Graw-Hill, New York
3
William A. Robson (1954) The development of local government London : Allen & Unwin,
4
P. Stone P. Stone,(1963) “Local Government for Students”, London, MC Donald and Evons
Ltd., , p. 1.
8

วี แวนคาทา โรว์ (V. Vankata Rao) ชี้ให้เห็นว่า การเมืองการปกครองท้องถิ่นเป็ นส่ วนหนึ่งของการ


ปกครองของประเทศที่เกี่ยวข้องกับกิ จการของท้องถิ่ นเป็ นส่ วนใหญ่ และบริ หารงานโดยผูท้ ี่อยู่ภายใต้การ
กากับดูแลของรัฐบาลมลรั ฐ แต่มาจากการเลื อกตั้งอย่างอิสระจากมลรั ฐและมีคุณสมบัติเป็ นพลเมื องของ
ท้องถิ่นนั้น5
ในที่น้ ี การเมืองการปกครองท้องถิ่นหมายถึง การมีปฏิสัมพันธ์ของภาคส่ วนต่าง ๆ ในท้องถิ่นโดย
คนในท้องถิ่น และเพื่อคนในท้องถิ่นในบริ บทที่รัฐกระจายอานาจให้คนในท้องถิ่นได้ปกครองตนเองอย่าง
อิสระภายใต้การกากับดูแลอย่างเหมาะสมจากรัฐ

ขอบเขตการเมืองการปกครองท้องถิ่น
เมื่อพิจารณาถึงขอบเขต (scope) ของการเมืองการปกครองท้องถิ่นแล้ว สามารถกล่าวได้วา่ การเมือง
การปกครองท้องถิ่นมีขอบเขตที่สาคัญดังนี้
1. การเมืองการปกครองท้องถิ่นมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับการเมืองการปกครองระดับท้องถิ่น ในฐานะ
ที่ การเมื องการปกครองท้องถิ่ นเป็ นระบบการเมื องในระดับท้องถิ่ นที่ รัฐกระจายอานาจให้ประชาชนใน
ชุมชนท้องถิ่นได้ปกครองตนเองอย่างอิสระตามเจตนารมณ์ของประชาชน
2. การเมืองการปกครองท้องถิ่ นมีขอบเขตเกี่ ยวข้องกับการเมืองภาคตัวแทนระดับท้องถิ่ น ในที่น้ ี
ได้แก่ องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ นในฐานะที่ เป็ นองค์กรที่ รัฐจัดตั้งขึ้ นตามกฎหมายเพื่อให้ประชาชนได้
ปกครองตนเองผ่านตัวแทนที่ประชาชนผูม้ ีสิทธิ เลื อกตั้งได้เลือกเข้าทาหน้าที่แทนในองค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่นในฐานะผูบ้ ริ หารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น
3. การเมืองการปกครองท้องถิ่นมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับการเมืองภาคพลเมือง ในฐานะที่การเมืองการ
ปกครองท้องถิ่นเป็ นการเมืองการปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน ทาให้การมีส่วนร่ วม
ของภาคประชาชนมีความสาคัญไม่น้อยไปกว่าการเมื องภาคตัวแทน โดยประชาชนเข้ามีส่วนร่ วมในการ
รับรู้ การแสดงความคิดเห็น การร่ วมตัดสิ นใจ การร่ วมปฏิบตั ิ การกากับตรวจสอบ
4. การเมืองการปกครองท้องถิ่นมีขอบเขตเกี่ยวข้องกับการบริ หารงานท้องถิ่น โดยองค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถิ่ นมีบทบาทสาคัญในการอานวยบริ การสาธารณะพื้นฐานที่จาเป็ นแก่ประชาชน เช่ น โครงสร้าง
พื้นฐานด้านถนน สาธารณสุ ข การรักษาความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย เป็ นต้น และการแก้ไขปั ญหาตลอดจน
พัฒนาท้องถิ่นให้เจริ ญก้าวหน้า
5. การเมื อ งการปกครองท้อ งถิ่ น มี ข อบเขตเกี่ ย วข้อ งกับ การเมื อ งการปกครองระดับ ชาติ โดย
การเมืองการปกครองท้องถิ่นถือเป็ นส่ วนย่อยของระบบการเมืองการปกครองของประเทศ และมีส่วนสาคัญ
ในการพัฒนาทางการเมืองของประเทศเนื่ องจากการปกครองท้องถิ่นเป็ นฐานราก (grass root) ของการเมือง
การปกครองระดับชาติ

5
2 V. Venkata Rao (1965) “A hundred year of Local Self- Government in Assam, Calcutta, Beni Parkash, Mander, , p. 1
9

กล่าวโดยสรุ ป การเมืองการปกครองท้องถิ่นเป็ นส่ วนย่อยของระบอบประชาธิ ปไตยที่มีความสาคัญ


ต่อการพัฒนาทางการเมืองของระบอบประชาธิ ปไตยให้มีความมัน่ คงและยัง่ ยืนต่อไป ในขณะเดียวกันก็เป็ น
ระบอบการปกครองที่ให้ประขาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่ วมในการปกครองตนเอง

(โปรดอ่านเนื้ อหาสาระโดยละเอี ย ดในหนังสื อ/ตารา เรื่ อง การปกครองส่ วนท้องถิ่ น.เขีย นโดย


สิ วาพร สุ ขเอียด http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=การปกครองส่ วนท้องถิ่ น, การปกครองท้องถิ่ นไทย
ในปัจจุบนั โดย สานักงาน ก.ถ. www.local.moi.go.th/sak.ppt สภาปฏิรูปแห่งชาติ การปกครองท้องถิ่นไทย.
www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament.../article_20120807100611.pdf, การเมื อ งการปกครอง
ท้องถิ่น โดย ปธาน สุ วรรณมงคล จากชุดวิชา สถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย สาขาวิชารัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช )

กิจกรรมที่ 4.1.1
การเมืองการปกครองท้องถิ่นหมายถึงอะไร

บันทึกคาตอบกิจกรรม 4.1.1
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
(โปรดอ่านคาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 4 ตอนที่ 4.1 กิจกรรม 4.1.1)
10

เรื่องที่ 4.1.2 ความสาคัญของการเมืองการปกครองท้ องถิ่น

สาระสั งเขป
การเมืองการปกครองท้องถิ่นมีความสาคัญดังนี้
1) ความสาคัญต่อระบอบประชาธิ ปไตย การเมืองการปกครองท้องถิ่ นมีความสาคัญต่อระบอบ
ประชาธิ ปไตยในฐานะที่เป็ นส่ วนย่อยของระบอบประชาธิ ปไตยซึ่ งเป็ นระบอบการเมืองการ
ปกครองที่อานาจอธิ ปไตยเป็ นของปวงชน และเมื่อระบอบประชาธิ ปไตยได้เปิ ดโอกาสให้
ประชาชนได้มีส่วนร่ วมทางการเมืองอย่างต่อเนื่ องก็เป็ นการสร้ างการเรี ยนรู ้ ทางการเมื องแก่
ประขาชนทาให้ระบอบประชาธิ ปไตยได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่ องมาม
2) ความส าคัญ ต่ อ ประเทศชาติ . ในฐานะที่ ก ารเมื อ งการการปกครองท้อ งถิ่ น อยู่ ใ กล้ชิ ด กับ
ประชาชนในท้องถิ่นมากที่สุดทาให้สามารถรู ้และเข้าใจปั ญหา ความต้องการตลอดจนอานวย
บริ การแก่ประชาชนได้อย่างรวดเร็ วกว่ารัฐบาลและหน่วยงานของรัฐจึงเป็ นการแบ่งเบาภาระ
ของรัฐในการดูแลประชาชนได้อีกทางหนึ่ งทาให้ประชาชนได้รับการดูแลอย่างทัว่ ถึงผ่านทาง
การเมืองการปกครองท้องถิ่นในรู ปขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
3) ความสาคัญต่อชุ มชน การเมืองการการปกครองท้องถิ่นมีความสาคัญต่อชุ มชนในฐานะที่รัฐ
กระจายอานาจให้ชุมชนได้มีส่วนในการปกครองตนเองอย่างอิสระภายใต้การกากับดูแลอย่าง
เหมาะสมของรัฐส่ งผลให้ชุมชนสามารถตอบสนองปั ญหาและความต้องการของประชาชนได้
อย่างเหมาะสม
4) ความส าคัญ ต่ อ ปั จ เจกบุ ค คล การเมื อ งการปกครองท้อ งถิ่ น นับ เป็ นช่ อ งทางส าคัญ ให้ ก ับ
ประชาชนในท้องถิ่นในการแสดงออกถึงความคิดเห็น การเรี ยกร้อง เสนอความต้องการของตน
ต่อตัวแทนในองค์กรปกครอง หรื อต่อภาคส่ วนอื่ นเกี่ ยวข้องเช่ น หน่ วยงานราชการ องค์กร
เอกชน เป็ นต้น และเป็ นช่ องทางให้ประชาชนได้จดั การตนเองบนพื้นฐานของการพึ่งตนเป็ น
สาคัญ

กล่าวโดยสรุ ป การเมืองการปกครองท้องถิ่นเป็ นส่ วนย่อยของระบอบประชาธิ ปไตยที่มีความสาคัญ


ต่อการพัฒนาทางการเมืองของระบอบประชาธิ ปไตยให้มีความมัน่ คงและยัง่ ยืนต่อไป ในขณะเดียวกันก็เป็ น
ระบอบการปกครองที่ให้ประขาชนมีส่วนร่ วมในการปกครองตน

(โปรดอ่านเนื้ อหาสาระโดยละเอี ย ดในหนังสื อ/ตารา เรื่ อง การปกครองส่ วนท้องถิ่ น.เขีย นโดย


สิ วาพร สุ ขเอียด http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=การปกครองส่ วนท้องถิ่น สานักงาน ก.ถ การปกครอง
ท้อ งถิ่ น ไทยในปั จ จุ บ ัน www.local.moi.go.th/sak.ppt สภาปฏิ รู ป แห่ ง ชาติ การปกครองท้อ งถิ่ น ไทย.
www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament.../article_20120807100611.pdf ป ธ า น สุ ว ร ร ณ ม ง ค ล
11

การเมื อ งการปกครองท้ อ งถิ่ น สถาบัน และกระบวนการทางการเมื อ งไทย สาขาวิ ช ารั ฐ ศาสตร์


มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช )

กิจกรรมที่ 4.1.2
การเมืองการปกครองท้องถิ่นมีความสาคัญต่อระบอบประชาธิ ปไตยอย่างไร

บันทึกคาตอบกิจกรรม 4.1.2
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
(โปรดอ่านคาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 4 ตอนที่ 4.1 กิจกรรม 4.1.2)
12

ตอนที่ 4.2
หลักการสาคัญของการเมืองการปกครองท้ องถิ่น

โปรดอ่านแผนการสอนประจาตอนที่ 4.2 แล้วจึงศึกษาเนื้อหาสาระ พร้อมปฏิบตั ิกิจกรรมในแต่ละเรื่ อง

หัวเรื่อง
เรื่ องที่ 4.2.1 หลักการปกครองตนเอง
เรื่ องที่ 4.2.2 หลักการกระจายอานาจ
เรืื ่ องที่ 4.2.3 หลักความเป็ นหนึ่งเดียวของรัฐ
เร่ื่ องที่ 4.2.4 หลักการมีส่วนร่ วม
เรื่ องที่ 4.2.5 หลักการกากับดูแลของรัฐ

แนวคิด
1. หลักการปกครองตนเอง เป็ นหลักการสาคัญของการเมืองการปกครองท้องถิ่นที่มุ่งให้ประชาชน
ในท้องถิ่นได้ปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่นนั้น
2. หลักการกระจายอานาจ เป็ นการที่รัฐได้ถ่ายโอนอานาจให้ทอ้ งถินได้ปกครองตนเอง
3. หลักความเป็ นหนึ่งเดียวของรัฐ เป็ นหลักสากลที่ทาให้รัฐดารงความเป็ นรัฐได้โดยไม่แตกแยก
4. หลักการมีส่วนร่ วม เป็ นหลักการที่ให้พลเมืองได้เข้ามีส่วนร่ วมทางการเมืองการปกครองทั้งโดย
ทางตรงและทางอ้อม
5. หลัก การก ากับดู แลของรั ฐ เป็ นหลัก การที่ รัฐเข้า ไปกากับ ดู แลการใช้อานาจที่ รัฐกระจายให้
ท้องถิ่นไปดาเนินการตามหลักการปกครองตนเอง

วัตถุประสงค์
เมื่อศึกษาตอนที่ 4.2 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. เข้าใจและอธิบายหลักการปกครองตนเองได้
2. เข้าใจและอธิบายหลักการกระจายอานาจได้
3. เข้าใจและอธิบายหลักความเป็ นหนึ่งเดียวของรัฐได้
4. เข้าใจและอธิ บายหลักการมีส่วนร่ วมได้
5. เข้าใจและอธิ บายหลักการกากับดูแลของรัฐได้
13

เรื่องที่ 4.2.1 หลักการปกครองตนเอง

สาระสั งเขป
หลักการปกครองตนเองหรื อ Principal of Self-Government เป็ นคาที่มีความสาคัญต่อการเมืองการ
ปกครองท้องถิ่ นมากเนื่ องจากว่า หลัก การปกครองตนเองมี นัย ถึ ง การที่ ป ระชาชนในท้องถิ่ นสามารถ
ตัดสิ นใจในกิจการของท้องถิ่นได้ดว้ ยตนเองบนพื้นฐานของหลักอานาจอธิ ปไตยเป็ นของปวงชน (Popular
Sovereignty) กล่ าวอี กนัยหนึ่ ง การปกครองตนเองเป็ นการที่ ป ระชาชนมี อานาจที่ จะกาหนดวิถีชี วิต ของ
ตนเองได้ตามเจตนารมณ์ของประชาชนแทนที่จะให้รัฐซึ่ งอยูห่ ่างไกลเป็ นผูต้ ดั สิ นใจให้เกือบทุกเรื่ อง
หลักการปกครองตนเองที่สาคัญได้แก่
1. หลักการปกครองที่ ใ กล้ชิ ดกับ ประชาชนมากที่ สุ ด หมายความว่า การปกครองที่ประชาชนมี
อานาจในการตัดสิ นใจในประเด็นที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนในชุ มชนโดยคนในชุ มชน เพื่อคนในชุมชนเอง
เนื่ องจากประชาชนในชุ มชนมีความรู้ ความเข้าใจในปั ญหาหรื อความต้องการของตนเองได้ดีกว่าคนนอก
ชุมชน และสามารถตอบสนองปัญหา ความต้องการของประชาชนได้รวดเร็ ว
2. หลักการให้ผมู ้ ีสิทธิ ออกเสี ยงเลือกตั้งมีความตระหนักรู ้ เป็ นการทาให้ผมู ้ ีสิทธิ ออกเสี ยงเลื อกตั้ง
สามารถตระหนักรู้ถึงความสาคัญของสิ ทธิของตนและการไปใช้สิทธิ เลือกตั้งเพื่อควบคุมอนาคตของชุมชน
ของตนเองผ่านตัวแทนที่เลือกเข้าไปทาหน้าที่แทนตน โดยที่ประชาชนยังสามารถควบคุมตัวแทนของตนเอง
ผ่านการเลือกตั้งแต่ละครั้งโดยการเลื อกหรื อไม่เลื อกผูส้ มัครที่เสนอตัวเข้ามาให้ผมู ้ ีสิทธิ เลื อกตั้งเลื อก หรื อ
การถอดถอนตัวแทนในท้องถิ่นออกจากตาแหน่งหากมีความประพฤติที่ไม่เหมาะสมต่อการดารงตาแหน่ง
3. หลักความเสมอภาคตามแนวราบ หมายถึงว่า เป็ นความเท่าเทียมกันระหว่างประชาชนในชุ มชน
ในฐานะที่เป็ นส่ วนหนึ่ งของชุมชนที่รับผิดชอบต่อชุ มชนของตนเอง และความเท่าเทียมกันในการรับบริ การ
สาธารณะจากองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ น โดยที่ไม่มีการความแตกต่างกันอันเนื่ องจากประเด็นทางเพศ
ศาสนา ฐานะทางสังคม
4. หลักศักดิ์ ศรี ความเป็ นมนุ ษย์ เป็ นอีกหลักการปกครองตนเองหนึ่ งที่ให้ความสาคัญกับประเด็น
ของความเป็ นมนุษย์ที่ตอ้ งมีความเสมอภาค เท่าเทียมกันตามที่กล่าวมาในหลักอานาจอธิ ปไตยของปวงชน
หลักศักดิ์ ศรี ความเป็ นมนุ ษย์ยอมรับความสาคัญที่ให้มนุ ษย์ปกครองตนเองได้ ไม่ใช่ ให้ผอู ้ ื่นมาใช้อานาจ
ปกครองโดยคนในสังคมหรื อชุมชนไม่ยนิ ยอมหรื อไม่มีส่วนร่ วม

หลักการปกครองตนเองดังกล่าวนับเป็ นสิ่ งที่ มีความสาคัญพื้นฐานของการเมื องการปกครองใน


ระบอบประชาธิปไตย
14

(โปรดอ่านเนื้ อหาสาระโดยละเอี ยดในหนังสื อ/ตารา American Principles of Self-Government เขียนโดย


Michael Reber จาก docs.lib.purdue.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1462&context=eandc สื บค้นเมื่อวันที่
11 กรกฏาคม 2560, The Great Principle of Self-Government Popular Sovereignty and Bleeding Kansas
เขียนโดย Nicole Etcheson จาก https://kshs.org/publicat/history/2004spring_etcheson.pdf สื บค้นเมื่อวันที่
11 กรกฏาคม 2560

กิจกรรมที่ 4.2.1
จงอธิบายหลักการปกครองตนเองโดยสังเขป

บันทึกคาตอบกิจกรรม 4.2.1
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
(โปรดอ่านคาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 4 ตอนที่ 4.2.1 กิจกรรม 4.2.1)
15

เรื่องที่ 4.2.2 หลักการกระจายอานาจ

สาระสั งเขป
การกระจายอานาจเป็ นหลักการที่ต่อเนื่ องจากหลักการปกครองตนเองเนื่ องจากการกระจายอานาจ
เป็ นการถ่ายโอนอานาจจากรัฐมาสู่ ประชาชนในท้องถิ่นได้ปกครองตนเอง ทั้งนี้ ประเทศที่มีระบอบการเมือง
การปกครองแบบประชาธิ ปไตย การกระจายอานาจถือเป็ นหลักการสาคัญหลักการหนึ่งในการให้ประชาชน
ได้มีอานาจและบทบาทในการปกครองตนเอง
หลักการกระจายอานาจที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนและชุ มชนจาเป็ นต้องเป็ นการกระจาย
อานาจที่ดีดงั นี้
1. การกระจายอานาจที่ดีตอ้ งมีเป้ าหมายเพื่อส่ งเสริ มการปกครองตนเองของประชาชนในท้องถิ่น
2. การกระจายอานาจที่ดีส่งเสริ มให้ประชาชนได้มีส่วนร่ วมทางการเมืองในกิจการสาธารณะของ
ท้องถิ่นอย่างกว้างขวาง
3. การกระจายอานาจที่ดีส่งเสริ มให้ประชาชนได้รับการดูแลอย่างเสมอภาค เท่าเทียมจากองค์กร
ปกครองส่ วนท้องถิ่น
4. การกระจายอานาจที่ดีส่งเสริ มให้ประชาชนได้รับบริ การสาธารณะที่ดี มีมาตรฐานจากองค์กร
ปกครองส่ วนท้องถิ่น
5. การกระจายอานาจที่ดีส่งเสริ มให้เกิ ดธรรมาภิบาลในการบริ หารงานขององค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่น
6. การกระจายอานาจที่ ดีส่ ง เสริ ม ให้เกิ ดความรู ้ ท างการเมื องแก่ ป ระชาชนและสร้ า งความเป็ น
พลเมืองให้เกิดขึ้นแก่ประชาชนในท้องถิ่น
7. การกระจายอานาจที่ดีเป็ นการวางรากฐานที่เข้มแข็งให้กบั การเมืองการปกครองระดับท้องถิ่น
และระดับชาติ

สรุ ป การกระจายอานาจทาให้ประชาชนสามารถปกครองตนเองและจัดการกับปั ญหาของท้องถิ่ น


รวมถึ งตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ด้วยตนเองอย่างรวดเร็ วและตรงกับความต้องการของ
ประชาชนมากที่สุด และวางรากฐานทางการเมืองการปกครองที่เข้มแข็งให้กบั ระดับท้องถิ่นและระดับชาติ

(โปรดอ่า นเนื้ อหาสาระโดยละเอี ย ดในหนังสื อ/ตารา. การเมื องท้องถิ่ น ของใคร โดยใคร เพื่อใคร โดย
รองศาสตราจาย์ ดร.ปธาน สุ วรรณมงคล)
16

กิจกรรมที่ 4.2.2
จงอธิบายหลักการกระจายอานาจโดยสังเขป

บันทึกคาตอบกิจกรรม 4.2.2
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
(โปรดอ่านคาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 4 ตอนที่ 4.2.2 กิจกรรม 4.2.2)
17

เรื่องที่ 4.2.3 หลักความเป็ นหนึ่งเดียวของรัฐ

สาระสั งเขป
หลักความเป็ นหนึ่ งเดียวของรัฐเป็ นหลักการสาคัญประการหนึ่ งของการเมืองการปกครองท้องถิ่ น
ควบคู่กบั หลักการกระจายอานาจ ทั้งนี้ หลักความเป็ นหนึ่งเดียวของรัฐเป็ นหลักสากลของทุกรัฐที่เป็ นนิติรัฐ
ทั้งหลาย กล่าวอีกนัยหนึ่ง รัฐที่มีการกระจายอานาจมากน้อยอย่างไรก็ตามก็ตอ้ งไม่กระทบต่อหลักความเป็ น
หนึ่งเดียวของรัฐเพราะถือว่า ความเป็ นรัฐเป็ นหนึ่งเดียวที่แบ่งแยกไม่ได้
ความเป็ นรัฐมีองค์ประกอบสาคัญอย่างน้อย 4 ประการคือ
ประการแรก อานาจอธิปไตยของรัฐ
ประการที่สอง รัฐบาล
ประการที่สาม อาณาเขตดินแดน และ
ประการที่สี่ ประชากร

จากความเป็ นรัฐที่กล่าวมาข้างต้นทาให้เห็นได้วา่ องค์ประกอบความเป็ นรัฐทั้งสี่ ประการไม่สามารถ


แยกออกจากกันได้เพราะเป็ นส่ วนควบที่ตอ้ งดารงอยูด่ ว้ ยกันตราบเท่าที่ยงั เป็ นรัฐอยู่
ความเป็ นหนึ่ งเดียวของรัฐที่มีต่อการเมืองการปกครองท้องถิ่ นเป็ นหลักการสาคัญที่ทาให้รัฐไม่ว่า
เป็ นเอกรัฐ หรื อสหพันธ์รัฐดารงอยูไ่ ด้ในบริ บทของการกระจายอานาจให้ชุมชนท้องถิ่นหรื อมลรัฐทั้งหลาย
ได้ปกครองตนเองโดยที่ชุมชนท้องถิ่นหรื อมลรัฐต่างก็ยงั รวมกันเป็ นส่ วนหนึ่ งของรัฐ มิได้มีอิสระไปอย่าง
เด็ดขาดจากรัฐแต่อย่างใด
ความสาคัญในเรื่ องของความเป็ นหนึ่งเดีย วของรัฐจึงเป็ นหลักการที่รัฐทุกรัฐต้องยึดถือเป็ นบรรทัด
ฐานเช่น รัฐธรรมนูญของรัฐไทยทุกฉบับ ได้บญั ญัติในมาตรา 1 ว่า ประเทศไทยเป็ นราชอาณาจักรหนึ่งเดียว
แบ่งแยกไมได้ และโดยเฉพาะหลักความเป็ นหนึ่ งเดียวของรัฐมีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับรัฐที่มีระบอบ
การเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยที่ยดึ หลักอีกสองประการคือ หลักการปกครองตนเอง และหลักการ
กระจายอานาจ
การเมืองการปกครองท้องถิ่นจึงพัฒนาการบนพื้นฐานของความเป็ นหนึ่ งเดียวของรัฐด้วย ซึ่ งทาให้
ความเป็ นอิสระในการปกครองตนเองของท้องถิ่ นมีความแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ โดยรัฐที่มุ่งเน้น
ความเป็ นหนึ่ งเดียวของรัฐมากเกินไปจนทาให้รัฐไม่กระจายอานาจให้ทอ้ งถิ่นมากเพียงพอในการทาหน้าที่
ทางการเมืองและการบริ หารในการจัดบริ การสาธารณะเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน
ในขณะที่ บ างรั ฐแม้ย งั คงหลัก การความเป็ นหนึ่ งเดี ย วของรั ฐไว้ แต่ ก็ มี ก ารกระจายอานาจลงสู่
ท้องถิ่นให้ประชาชนได้ปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถ่ิ่นเช่น รัฐในกลุ่มสแกนดิเวีย
สาธารณรัฐเยอรมัน สหพันธ์สวิต เป็ นต้น
18

สรุ ป หลักความเป็ นหนึ่ งเดี ยวของรัฐเป็ นหลักสากลที่สาคัญของทุก รัฐหรื อประเทศต้องยึด เป็ น


หลักการพื้นฐานและมีผลต่อความเป็ นอิสระในการปกครองตนเองและการกระจายอานาจสู่ ทอ้ งถิ่น

(โปรดอ่านเนื้ อหาสาระโดยละเอียดในหนังสื อ/ตารา การปกครองส่ วนท้องถิ่ น โดย สิ วาพร สุ ขเอียด จาก


http://wiki.kpi.ac.th/index.php สื บค้นเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2560, การเมืองท้องถิ่น ของใคร โดยใคร เพื่อ
ใคร โดย รองศาสตราาจารย์ ดร.ปธาน สุ วรรณมงคล)

กิจกรรมที่ 4.2.3
จงอธิบายหลักความเป็ นหนึ่งเดียวของรัฐโดยสังเขป

บันทึกคาตอบกิจกรรม 4.2.3
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
(โปรดอ่านคาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 4 ตอนที่ 4.2.3กิจกรรม 4.2.3)
19

เรื่องที่ 4.2.4 หลักการมีส่วนร่ วม

สาระสั งเขป
หลักการมีส่วนร่ วมเป็ นอีกหลักหนึ่ งที่สาคัญในการเมืองการปกครองท้องถิ่น การมีส่วนร่ วมในที่น้ ี
เป็ นการมีส่วนร่ วมอย่างมีคุณภาพซึ่ งประกอบด้วยหลักการสาคัญได้แก่
1. หลักความเป็ นพลเมืองที่มีความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสาคัญของการมีส่วน
ร่ วมในกิจการสาธารณะของชุมชนท้องถิ่นหรื อของสังคมประเทศ
2. หลักความเสมอภาค เท่าเที ยมกันระหว่างผูเ้ ข้าร่ วมโดยไม่คานึ งถึ งความแตกต่างด้านกายภาพ
ความเชื่อ และฐานะทางสังคม
3. หลักความเชื่ อมัน่ ในศักยภาพของตนเองว่า สามารถทาให้เกิ ดการเปลี่ ยนแปลงไปสู่ เป้ าหมายที่
ต้องการได้
4. หลัก ผลประโยชน์ ร่ ว มกัน ของชุ ม ชนหรื อ ของประเทศ การมี ส่ ว นร่ ว มต้อ งมี เ ป้ าหมายเพื่ อ
ประโยชน์สาธารณะของชุมชนท้องถิ่นหรื อสังคมประเทศเป็ นสาคัญ
5. หลักสานึกรับผิดชอบ ในฐานะที่เป็ นส่ วนหนึ่ งของชุ มชนหรื อสังคมประเทศ พลเมืองควรมีความ
สานึกรับผิดชอบร่ วมกันต่อชุมชนท้องถิ่นหรื อสังคมประเทศโดยรวม
6. หลักความโปร่ งใส การมีส่วนร่ วมต้องมีลกั ษณะที่เปิ ดเผย ไม่ซ่้อนเร้ น โดยเปิ ดเผยถึงเป้ าหมาย
และวิธีการมีส่วนร่ วมต่อสาธารณะ

การมีส่วนร่ วมตามหลักการดังกล่าวมีระดับการมีส่วนร่ วมที่ควรกล่าวถึงในที่น้ ีดงั นี้


ระดับแรก การมีส่วนร่ วมในการรับรู ้ ขอ้ มูล ข่าวสารที่จาเป็ นหรื อเกี่ ยวข้องจากแหล่งข้อมูล
ต่าง ๆ ที่เชื่อถือได้
ระดับทีส่ อง การมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น หลังจากที่ผเู ้ ข้าร่ วมได้รับข้อมูลข่าวสารที่
เพียงพอแล้ว ก็สามารถร่ วมในการแสดงความคิดเห็นในช่ องทางต่าง ๆ ที่เปิ ดให้แสดงความคิดเห็ นได้เช่ น
เวที ป ระชาคม การสัม มนา สื่ อสั ง คมออนไลน์ ต่า ง ๆ โดยที่ ผูม้ ี ส่ วนร่ วมในการแสดงความคิ ดเห็ นต้อ ง
รับผิดชอบต่อความคิดเห็นของตนที่แสดงออกไปบนพื้นฐานของการไม่ละเมิดสิ ทธิ เสรี ภาพบุคคลอื่น
ระดับทีส่ าม การมี ส่ ว นร่ ว มในการปฏิ บ ัติ เป็ นการมี ส่ ว นร่ ว มในการเข้า ไปร่ วมในการ
ดาเนินการในเรื่ องนั้น ๆ เช่น เป็ นกรรมการ เป็ นอาสาสมัคร เป็ นผูส้ นับสนุน เป็ นต้น
ระดับทีส่ ี่ การมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจ เป็ นการมีส่วนร่ วมที่ผเู ้ ข้าร่ วมต้องมีขอ้ มูลข่าวสาร
ที่ เ พี ย งพอในการประกอบการตัด สิ น ใจในเรื่ อ งนั้น และเป็ นการมี ส่ ว นร่ ว มที่ ส าคัญ และมี ผ ลต่ อ การ
เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตจากการตัดสิ นใจนี้
20

ระดับทีห่ ้ า การมีส่วนร่ วมในการติดตาม ตรวจสอบ โดยที่ผเู ้ ข้าร่ วมทาหน้าที่ในการติ ดตาม


ตรวจสอบผูท้ ีท าหน้า ที่ แทนประชาชนในการติ ดสิ นใจและหรื อดาเนิ นการให้เป็ นไปตามที่ ตดั สิ นใจว่า
เป็ นไปเพื่อประโยชน์ของส่ วนรวมหรื อไม่ อย่างใด
การมีส่วนร่ วมทางการเมืองการปกครองท้องถิ่นของพลเมืองสามารถกระทาได้ท้ งั โดยทางตรงและ
ทางอ้อม โดยการมีส่วนร่ วมทางตรงเป็ นการใช้สิทธิ ในฐานะที่เป็ นพลเมืองในการเข้ามีส่วนร่ วมในกิ จการ
สาธารณะของท้องถิ่นเช่น การมีส่วนร่ วมในประชาคมเพื่อปรึ กษาหารื อเกี่ยวกับการแก้ไขปั ญหาของชุมชน
ท้องถิ่น หรื อการมีส่วนร่ วมแบบจิตอาสาในการจัดระเบียบชุ มชน เป็ นต้น หรื อภาคพลเมืองอาจกระทาโดย
ผ่านองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นซึ่ งเป็ นองค์กรทางการเมืองที่รัฐจัดตั้งขึ้นมาเพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นได้
มีส่วนในการปกครองตนเองโดยประชาชนผูม้ ีสิทธิ เลือกตั้งเลือกผูส้ มัครที่ตวั แทนเห็นว่า เหมาะสมเข้าไปทา
หน้าที่แทนประชาชนในองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นซึ่ งเท่ากับเป็ นการมีส่วนร่ วมทางการเมืองการปกครอง
ท้องถิ่นแบบทางอ้อม และภาคประชาชนมีหน้าที่ในการกากับ ตรวจสอบตัวแทนว่า ได้เข้าไปทาหน้าที่โดย
ยึดประโยขน์ของประชาชนเป็ นสาคัญหรื อไม่
สรุ ป การมีส่วนร่ วมนับเป็ นสิ่ งที่มีความสาคัญมากในการเมืองการปกครองท้องถิ่นเพราะการมีส่วน
ร่ วมที่มีคุณภาพก่อให้เกิดรากฐานที่มนั่ คง ยัง่ ยืนให้แก่การเมืองการปกครองท้องถิ่น

(โปรดอ่านเนื้ อหาสาระโดยละเอียดในหนังสื อ/ตารา. การมีส่วนร่ วมของประชาชน โดย เรณุ มาศ รักษาแก้ว


จาก จาก. http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title= สื บ ค้น เมื่ อ วัน ที่ 10 กรกฏาคม 2560. Public Participation:
Principles and Best Practices for British Columbia by Office of Auditor General of British Columbia
https://www.bcauditor.com/sites/default/files/publications/2008/report11/report/public-participation-prin-
ciples-and-best-practices-british-columbia.pdf. สื บค้นเมื่ อวันที่ 10 กรกฏาคม 2560, Building a Culture of
Participation Handbook by Perpetua Kirby Claire Lanyon Kathleen Cronin & Ruth Sinclair จ า ก
https://www.unicef.org/adolescence/cypguide/files/Building_a_culture_of_participation.pdf สื บ ค้ น เ มื่ อ
วันที่ 10 กรกฏาคม 2560)
21

กิจกรรมที่ 4.2.4
จงอธิบายหลักการมีส่วนร่ วมโดยสั งเขป

บันทึกคาตอบกิจกรรม 4.2.4
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
(โปรดอ่านคาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 4 ตอนที่ 4.2.4 กิจกรรม 4.2.4)
22

เรื่องที่ 4.2.5. หลักการกากับดูแลของรัฐ

สาระสั งเขป
ดังกล่าวมาเบื้องต้นในหลักความเป็ นหนึ่งเดียวของรัฐว่า การเมืองการปกครองท้องถิ่นเป็ นส่ วนย่อย
ของการเมืองการปกครองของระดับประเทศ และการกระจายอานาจสู่ ทอ้ งถิ่นมากเพียงใดก็ตามก็ยงั ต้องเป็ น
ส่ วนหนึ่งของรัฐหรื อประเทศไม่อาจแยกออกไปเป็ นอิสระโดยสมบุรณ์ได้
นอกจากนี้ จากการที่รัฐได้กระจายอานาจให้แก่ทอ้ งถิ่นได้ปกครองตนเองทาให้รัฐมีหน้าที่ในการ
กากับดูแลท้องถิ่นโดยมีจุดมุ่งหมายสาคัญดังนี้
ประการแรก เพื่อให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ นปฏิ บตั ิภารกิ จและใช้อานาจที่รัฐมอบหมายมาได้
ถูกต้องตามกฎหมาย
ประการที่สอง เพื่อให้การปฏิ บตั ิภารกิ จขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ นมี ความสอดคล้องกับ
นโยบายของรัฐบาล
ประการที่สาม เพื่อเป็ นการลดความขัดแย้งและแก้ไขปั ญหาที่ อาจเกิ ดขึ้ นระหว่างรั ฐกับองค์กร
ปกครองส่ วนท้องถิ่น หรื อระหว่างองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นด้วยกันเอง
ประการที่สี่ เพื่อให้การปฏิ บตั ิ ภารกิ จขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ นเป็ นไปเพื่อประโยชน์
ของส่ วนรวมและชุมชนท้องถิ่นอย่างแท้จริ ง

การกากับดูแลของรัฐต่อองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นสามารถกระทาได้หลายรู ปแบบดังนี้


1. การกากับดูแลเหนื อองค์กรและตัวบุคคล เช่น การสั่งยุบสภาท้องถิ่น การสั่งให้ผบู ้ ริ หารท้องถิ่ น
สมาชิกสภาท้องถิ่นพ้นจากตาแหน่ง เป็ นต้น
2. การกากับดูแลเหนื อการกระทาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น เช่น การอนุมต้ ิ การอนุญาต การ
ให้ความเห็นชอบ เป็ นต้น
3. การกากับดูแลทางอ้อม เช่น การออกกฎ ระเบียบเพื่อให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นปฏิบตั ิ เป็ น
ต้น

ทั้งนี้ แม้วา่ การกากับดูแลของรัฐต่อองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นจะมีความจาเป็ นก็ตาม แต่การกากับ


ดูแลนี้ จะขัดหลักการปกครองตนเองอย่างอิสระมิได้ ดังนั้น การกากับดูแลของรัฐจึงต้องเป็ นการส่ ง เสริ ม
หลักการปกครองตนเองมากกว่าการควบคุมการปกครองตนเองของประชาชนในท้องถิ่น

(โปรดอ่ า นเนื้ อ หาสาระโดยละเอี ย ดในหนัง สื อ /ต ารา. การเสริ ม สร้ า งระบบก ากับ ดู แ ลองค์ก ร
ปกครองส่ วนท้องถิ่น โดย อนุชา ฮุนสวัสดิกุล จาก kpi.ac.th/media/pdf/M10_194.pdf. สื บค้นเมื่อวันที่ 12
กรกฏาคม 2560)
23

กิจกรรมที่ 4.2.5
จงอธิ บายหลักการกากับดูแลของรัฐต่อองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นมาโดยสังเขป

บันทึกคาตอบกิจกรรม 4.2.5
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
(โปรดอ่านคาตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่ 4 ตอนที่ 4.2.5 กิจกรรม 4.2.5)
24

แนวตอบกิจกรรมหน่ วยที่ 4
หลักและแนวทางการปกครองท้องถิ่น
ตอนที่ 4.1 ความหมาย ขอบเขต และความสาคัญของการเมืองการปกครองท้องถิ่น
แนวตอบกิจกรรมที่ 4.1.1
การเมืองการปกครองท้องถิ่นเป็ นการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชนใน
ท้องถิ่นนั้นอย่างมีอิสระตามเจตนารมณ์ของประชาชน
แนวตอบกิจกรรม 4.1.2
การเมืองการปกครองท้องถิ่ นเป็ นส่ วนย่อยของระบอบประชาธิ ปไตยซึ่ งเป็ นระบอบการเมืองการ
ปกครองที่อานาจอธิปไตยเป็ นของปวงชน

ตอนที่ 4.2 หลักการสาคัญของการเมืองการปกครองท้องถิ่น


แนวตอบกิจกรรม 4.2.1
การปกครองตนเองเป็ นการที่ประชาชนมีอานาจที่จะกาหนดวิถีชีวิตของตนเองได้ตามเจตนารมณ์
ของประชาชนแทนที่จะให้รัฐซึ่ งอยูห่ ่ างไกลเป็ นผูต้ ดั สิ นใจให้เกือบทุกเรื่ อง ซึ่ งมีหลักการอยูห่ ลายข้อ โดย
หนึ่ งในนั้นคือ หลักการปกครองที่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด หมายความว่า การปกครองที่ประชาชนมี
อานาจในการตัดสิ นใจในประเด็นที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนในชุ มชนโดยคนในชุ มชน เพื่อคนในชุมชนเอง
เนื่ องจากประชาชนในชุ มชนมีความรู้ ความเข้าใจในปั ญหาหรื อความต้องการของตนเองได้ดีกว่าคนนอก
ชุมชน และสามารถตอบสนองปัญหา ความต้องการของประชาชนได้รวดเร็ ว
แนวตอบกิจกรรม 4.2.2
หลักการกระจายอานาจเป็ นการที่ รัฐถ่ายโอนอานาจบางส่ วนให้แก่ทอ้ งถิ่นได้ปกครองตนเองและ
สามารถจัดการชุมชนท้องถิ่นของตนเองด้วยตนเอง
แนวตอบกิจกรรม 4.2.3
หลักความเป็ นหนึ่ งเดียวของรัฐเป็ นหลักที่แสดงถึงอานาจอธิ ปไตยของรัฐที่ไม่สามารถแบ่งแยกได้
ไม่วา่ จะมีการกระจายอานาจให้ทอ้ งถิ่นได้มีอิสระในการปกครองตนเองมาเพียงใดก็ตาม
แนวตอบกิจกรรม 4.2.4
การมีส่วนร่ วมทางการเมืองการปกครองท้องถิ่นของพลเมืองสามารถกระทาได้ท้ งั โดยทางตรงและ
ทางอ้อม การมีส่วนร่ วมนับเป็ นสิ่ งที่มีความสาคัญมากในการเมืองการปกครองท้องถิ่นเพราะการมีส่วนร่ วม
ที่มีคุณภาพก่อให้เกิดรากฐานที่มนั่ คง ยัง่ ยืนให้แก่การเมืองการปกครองท้องถิ่น
แนวตอบกิจกรรม 4.2.5
การกากับดูแลเของรัฐเหนื อการกระทาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นเป็ นสิ่ งที่มีความสาคัญและ
จาเป็ นเพื่อให้อานาจรัฐที่กระจายไปให้ทอ้ งถิ่ นถูกดาเนิ นการไปเพื่อประโยชน์ของส่ วนร่ วมและประโยชน์
สุ ขของประชาชนอย่างแท้จริ ง
25

แบบประเมินผลตนเองหลังเรียน
วัต ถุ ประสงค์ เพื่ อประเมิ นความก้า วหน้า ในการเรี ย นรู ้ ข องนัก ศึ ก ษาเกี่ ย วกับ เรื่ อง “หลัก แนวทางการ
ปกครองท้องถิ่น”
คาแนะนา อ่านคาถามแล้วเขียนคาตอบลงในช่ องว่างที่กาหนดให้ นักศึกษามีเวลาทาแบบประเมินชุ ดนี้
30 นาที
1. การเมืองการปกครองท้องถิ่นมีบทบาทในการพัฒนาการเมืองอย่างไร
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________
26

เฉลยแบบประเมินผลตนเองหน่ วยที่ 1
ก่อนเรียน

การเมืองการปกครองท้องถิ่นเป็ นการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชนใน


ชุมชนท้องถิ่นนั้น

หลังเรียน
การเมื องการปกครองท้องถิ่ นมี บทบาทสาคัญในการพัฒนาการเมื องของประเทศในฐานะที่เป็ น
ระบบย่อยของระบบการเมื องการปกครองของประเทศและเป็ นฐานรากสาคัญของสัง คมประเทศที่ อยู่
ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด ดังนั้น หากฐานรากมีความเข้มแข็ง มัน่ คง ระบบการเมืองการปกครองของ
ประเทศย่อมมีความเข้มแข็ง มัง่ คงตามไปด้วย
27

บรรณานุกรม

สิ วาพร สุ ข เอี ย ด การปกครองส่ วนท้องถิ่ น จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=การปกครองส่ ว น


ท้องถิ่น สื บค้นเมื่อวันที่ 10 กรกฏาคม 2560
เรณุ มาศ รักษาแก้ว การมีส่วนร่ วมของประชาชน จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title= สื บค้นเมื่อวันที่
10 กรกฏาคม 2560.
สานักงาน ก.ถ. การปกครองท้องถิ่นไทยในปั จจุบนั จาก www.local.moi.go.th/sak.ppt
สภาปฏิ รู ป แห่ ง ชาติ การปกครองท้อ งถิ่ น ไทย. จาก www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament.../
article_ 20120807100611.pdf,
ปธาน สุ วรรณมงคล การเมืองการปกครองท้องถิ่ น จาก ชุดวิชาสถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย
สาขา วิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
........... (2560) การเมืองท้องถิ่น ของใคร โดยใคร เพื่อใคร กรุ งเทพฯ จตุพร ดีไซน์
อนุ ชา ฮุนสวัสดิกุล การเสริ มสร้ างระบบกากับดูแลองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ น จาก kpi.ac.th/media/pdf/
M10_194.pdf. สื บค้นเมื่อวันที่ 12 กรกฏาคม 2560
Etcheson, Nicole The Great Principle of Self-Government Popular Sovereignty and Bleeding Kansas
from https://kshs.org/publicat/history/2004spring_etcheson.pdf สื บค้ น เมื่ อ วัน ที่ 11 กรกฏาคม
2560
Office of Auditor General of British Columbia Public Participation: Principles and Best Practices for
British Columbia from https://www.bcauditor.com/sites/default/files/publications/2008/re-
port11/report/public-participation-principles-and-best-practices-british-columbia.pdf. สื บค้น เมื่ อ วัน ที่ 10
กรกฏาคม 2560.
Perpetua Kirby Claire Lanyon Kathleen Cronin & Ruth Sinclair Building a Culture of Participation
Handbook from https://www.unicef.org/adolescence/cypguide/files/Building_a_culture_of_
participation.pdf สื บค้นเมื่อวันที่ 10 กรกฏาคม 2560
Reber, Michael American Principles of Self-Government from docs.lib.purdue.edu/cgi/viewcontent.cgi?ar-
ticle =1462&context=eandc สื บค้นเมื่อวันที่ 11 กรกฏาคม 2560

You might also like