หน่วยที่ 2 ความคล้าย ม.3

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 131

แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน

( ค 33101 ) ช่วงชันที้ ่ 3 ชันมั้ ธยมศึกษาปี ที่ 3


หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความคล้ าย จำนวน 15 ชัว่ โมง
แผนการเรียนรู้ที่ 16 เรื่อง รูปทีค่ ล้ ายกัน จำนวน 1 ชัว่ โมง
……………………………………………………………………………………………………….
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2. ใช้ นกึ ภาพ ใช้ เหตุผลเกี่ยวกับปริภมู ิและใช้ แบบจำลองทางเรขาคณิตในการแก้
ปั ญหาได้
1. สาระสำคัญ
ความหมายของรูปที่คล้ ายกัน
รูปสองรูปจะคล้ ายกันก็ตอ่ เมื่อรูปทังสองนั
้ นมี
้ รูปร่างเหมือนกัน แต่อาจจะมีขนาดที่แตกต่างกัน

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 จุดประสงค์ปลายทาง
2.1.1 สามารถบอกความหมายของการคล้ ายของรูปที่คล้ ายกันได้
2.2 จุดประสงค์นำทาง
2.2.1 สามารถบอกความหมายของการคล้ ายของรูปที่คล้ ายกันได้

3. สาระการเรียนรู้
ความหมายของรูปที่คล้ ายกัน

4. กิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ให้ นกั เรียนทดสอบก่อนเรียน โดยใช้ เวลา 30 นาที
4.2 นักเรียนนำแผนภูมิรูปภาพเกี่ยวกับรูปที่คล้ ายกันมาศึกษา แล้ วจับคูร่ ูปภาพคูท่ คี่ ล้ ายกันให้ ได้ มากคูท่ สี่ ดุ และได้ ยกตัวอย่างดังนี ้

รูปสองรูปที่คล้ ายกันก็ตอ่ เมื่อรูปทังสองนั


้ นมี
้ รูปร่างเหมือนกัน แต่อาจจะมีขนาดที่แตกต่างกัน

รูปที่คล้ ายกัน รูปทรงที่คล้ ายกัน


ในรูปทีค่ ล้ ายกัน
1. มุมที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากัน
2. อัตราส่วนของความยาวของด้ านที่สมนัยกันเท่ากัน

สำหรับรูปที่คล้ ายกันจะเขียนชื่อของรูปเรียงตามลำดับอักษรของมุมที่สมนัยกันเสมอ เพื่อให้ ง่ายต่อการคำนวณ และจะใช้ สญ


ั ลักษณ์  แทนคำ
ว่า คล้ ายกับ

ABCD คล้ ายกับ


ตัวอย่าง สี่เหลี่ยมคางหมู สี่เหลี่ยมคางหมู PQRS เขียนได้ วา่

ABCD  PQRS

P Q
A B

D C S R

4.2 นักเรียนแบ่งกลุม่ ๆละ 4-5 คน ศึกษาใบความรู้ที่ 2.1 แล้ วนักเรียนช่วยกันสร้ าง


รูปที่คล้ ายกัน มากลุม่ ละ 3 คูเ่ พื่อนำเสนอหน้ าชันเรี
้ ยนให้ นกั เรียนในชันได้
้ ศกึ ษา
ร่วมกันอีก
4.3 นักเรียนศึกษา นิยามรูปที่คล้ ายกัน แล้ วศึกษาค้ นคว้ าในห้ องสมุดโรงเรียน หรือ
แหล่งเรียนรู้ในชุมชน ให้ นกั เรียนนำผล มานำเสนอในชันเรี้ ยนให้ เพื่อนได้ ทราบในชัว่
โมงต่อไป
4.4 นักเรียนทำปั ญหาชวนคิดและทำแบบฝึ กหัดคณิตศาสตร์ ม .3 แล้ วส่งตรวจในชัว่ โมง ต่อไป

5. สื่อและแหล่งเรียนรู้
5.1 แบบทดสอบก่อนเรียน
5.2 แหล่งเรียนรู้ในชุมชน
5.3 ห้ องสมุดโรงเรียน
5.4 แผนภูมิรูปภาพ และใบความรู้ที่ 2.1
5.5 แบบฝึ กหัดคณิตศาสตร์
5.6 ปั ญหาชวนคิด

6. การวัดและประเมินผล
6.1 สังเกตการทำงานร่วมกันเป็ นกลุม่
6.2 ตรวจผลงานตามสภาพจริง
6.3 สัมภาษณ์และบันทึกในแบบบันทึกการประเมิน
6.4 แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
7. กิจกรรมเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………

ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………………..
(…………………………………….)
ตำแหน่ง…………………………………………..
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ปั ญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

(ลงชื่อ)…………………………………….ผู้สอน
( นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า )
ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้ านลาดใหญ่
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
( 33101)
กลุม่ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน ค ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 ครูผ้ บู นั ทึก นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า วัน
่ ……..เดือน………………………..พ.ศ……….
ที…
ครัง้ ที่…………ปี การศึกษา………………………… .
รายการประเมิน สรุปผลการประเมิน

เลข
ประจำ
ที่ ตัว

ความซื่อสัตย์และทำงานเสร็จทันเวลา
ผ่าน ไม่ผา่ น

ความมีเหตุผลและเชื่อมัน่ ในตนเอง
ชื่อ - นามสกุล
รวม

เข้ าร่วมกิจกรรมด้ วยความสนใจ


ความมีระเบียบรอบคอบ
ความเพียรพยายาม
ความสนใจใฝ่ รู้

5 5 5 5 5 5 30

แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความคล้ าย สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ พื ้นฐาน ค ( 33101)
ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 จำนวน 20 ข้ อ เวลา 30 นาที

คำสัง่ ให้ นกั เรียนเลือกคำตอบข้ อที่ถกู ที่สดุ เพียงข้ อเดียวเท่านัน้


1. รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คล้ ายกันมีลกั ษณะอย่างไร 4. จากรูป ที่กำหนดให้ ข้ อใดผิด
1. มีมมุ เท่ากันสามคู่ A
2. มีพื ้นที่เท่ากัน D
3. มีความยาวของเส้ นรอบรูปเท่ากัน
4. มีความยาวของฐานและความสูงเท่ากัน

2. ABC  XYZ ข้ อใดกล่าวถูกต้ อง


ถ้ า 

ก. A = X ข. B = Y B E C
ค. C = Z ง. ถูกทุกข้ อ

3. จากรูป QR  ST ข้ อใดถูกต้ อง ก .  BAC   EDC


P 2. ABC   DEC
3. ABC  DEC
4.
Q R ใช้ รูปต่อไปนี ้ตอบคำถามข้ อ 5 - 9
S T
A
1. PQR , PST เป็ นสามเหลี่ยมคล้ าย
2. PQR , PST ไม่เป็ นสามเหลี่ยมคล้าย C D
3.
4. 

5. ข้ อใดกล่าวถูกต้ อง ก. 3x หน่วย . 5x หน่วย


ก. ABCACD ข.ADCCDB ค. 3 หน่วย ง. 5y หน่วย

ค. BCDBAC ง. ถูกทุกข้ อ 11. พื ้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC เท่ากับ 104 ตารางหน่วย DE //


6. AB  BC เท่ากับอัตราส่วนในข้ อใด BC ถ้ า DE = 12 หน่วย AB = 16 หน่วย พื ้นที่รูป ADE
เท่ากับตารางหน่วย
ก. ACDC ข. BDBC A
ค. ACAD ง. ACBC
7. ถ้ า BD = 12 , BC = 13 แล้ ว AC เท่ากับ
เท่าไร
D 12 E
ก. 2.6 ข. 5.4
ค. 6.8 ง. 7.2
B 16 C
8. ถ้ า BD = 8, DC = 6 จงหาความยาวของด้ าน DA
ก. 3 ข. 3.5
ก . 42.5 ตารางหน่วย
ค. 4 ง. 4.5
9. CDDB = 52 แล้ วอัตราส่วนในข้ อใดเท่ากับ 125
ถ้ า ข. 48 ตารงหน่วย
1. CBCA ข. ADAC ค. 50 ตารางหน่วย
ง. 58.5 ตารงหน่วย
5. DABD ง. DC  CA
10. กำหนดให้ DE = 2x หน่วย , BE = 3y หน่วย , AB 12. นายทองดีสงู 160 เซนติเมตร ตอนบ่ายวันหนึง่ เขาวัดเงานของตัวเอง
ได้ 192 เซนติเมตร และวัดเงาของเสาธงได้ 21.6 เมตร จงหาความสูง
= 7.5y หน่วย และ EDC =EBA ของเสาธง
ก. 18 . 19 เมตร
เมตร ข
C ค. 20 เมตร ง. 21 เมตร
D 13. จุดๆหนึง่ อยู่ห่างจากเสาไฟฟ้า 30 เมตร หาไม้ ยาว 3 เมตร มาปั กห่าง
2x E จากจุดนัน้ 5 เมตร ทำให้ จดุ นันกั
้ บปลายไม้ และปลายเสาไฟฟ้าอยู่ห่าง
จากเสาต้ นสูงเท่าไร จึงจะเห็นยอดเสาทังสองต้
้ นได้ พอดี
3y ก.8 เมตร ข. 16 เมตร

B ค. 18 เมตร ง. 20 เมตร

7.5y
A

14. เสาไม้ สองต้ นสูง 5 เมตร และ 8


เมตร อยู่ห่างกัน 4เมตร เด็ก ก . 13 เมตร ข . 14 เมตร
คนหนึง่ ใช้ ไม้ เล็งยอดเสาทังสองต้
้ น อยากทราบว่า เขาจะต้ องอยู่ห่างจากเสาต้ นสูง
เท่าไร จึงจะเห็นยอดเสาทังสองต้
้ นได้ พอดี ค . 15 เมตร ง . 16 เมตร

1. 10 เมตร ข . เมตร 18. กำหนดให้ABCD เป็ นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู มีด้าน CD ยาวเป็ น


ครึ่งหนึง่ ของด้ าน AB และขนานกัน ลาก AC และ BD ตัดกันที่ O
แล้ วข้ อสรุปใดไม่เป็ นจริง
2. เมตร ง . 11 เมตร
1. AO = 2 OC ข . OCD  OAB
15. บนเรือลำหนึง่ มองเห็นยอดเสากระโดงเรือใหญ่ และยอดหน้ าผาริมทะเลอยู่
ในแนวเดียวกันพอดี ถ้ ายอดเสากระโดงเรือใหญ่สงู กว่าระดับน้ำทะเล 15 เมตร
.
ค พื ้นที่  ACD = พื ้นที่ BDC
้ ่ห่างจากเรือใหญ่ 35 เมตร หน้ าผาสูง 450 เมตรเรือใหญ่อยู่
และเรือลำนันอยู ง . AOB = 2 เท่าของพื ้นที่ OCD
พื ้นที่ 
ห่างจากฝั่ งกี่เมตร
19. ลูกเสือคนหนึง่ นอนเล็งแนวยอดไม้ ด้วยไม้ พลอง ซึง่ ยาว 1.5 เมตร ถ้ าแนว
16. จากรูป จงหาความสูงของต้ นมะพร้ าว เมื่อ BD = 8 เมตร CD ที่เล็งทำให้ ปลายไม้ พลองอยู่สงู จากพื ้นดิน 1.2 เมตร แล้ วยอดไม้ สงู เท่าไร ถ้ า
= 2 เมตร และ DE = 2.5 เมตร ต้ นไม้ อยู่ห่างจากจุดที่เขานอน 8.1 เมตร
A ก . 10 เมตร ข . 10.8 เมตร
E ค . 14 เมตร ง . 15 เมตร

20. ชายคนหนึง่ สูง 1.8


เมตร ยืนอยู่ห่างจากเสาธง 9
เมตร ในแนวเดียว
B D C กับเงาเสาธง ปรากฎว่าเงาของเขาทอดยาวเท่ากับยอดเสาธงพอดี ถ้ าเงาเขายาว
3 เมตร เสาธงสูงเท่าไร
ก . 10 เมตร ข . 10.5 เมตร
ก . 7.2 เมตร ข . 1.8 เมตร
ค . 12 เมตร ง . 12.5 เมตร
17. หอระฆังวัดสูง 6 เมตร มีเงาทอดยาวไปทางทิศตะวันตก 12 เมตร ค . 2 เมตร ง . 2.2 เมตร
และเจดีย์ใหญ่มีเงาทอดไปทางเดียวกันยาว 30 เมตร จงหาความสูง
ของเจดีย์ใหญ่

ปั ญหาชวนคิด

จากภาพ ให้ ผ้ เู ล่นเติมตัวเลข 1 ถึง 5 ลงใน เพื่อทำให้ ผลบวกของจำนวน 4 จำนวนบนเส้ นตรงเดียวกัน

เป็ น 24

12

9 10

6 8
ใบความรู้ที่ 2.1
ความคล้ าย

ความหมายของรูปที่คล้ ายกัน

นิยาม รูปสองรูปที่คล้ ายกันก็ตอ่ เมื่อรูปทังสองนั


้ นมี
้ รูปร่างเหมือนกัน แต่อาจจะมีขนาดที่
แตกต่างกัน

รูปที่คล้ ายกัน รูปทรงที่คล้ ายกัน

ในรูปทีค่ ล้ ายกัน
1. มุมที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากัน
2. อัตราส่วนของความยาวของด้ านที่สมนัยกันเท่ากัน

สำหรับรูปที่คล้ ายกันจะเขียนชื่อของรูปเรียงตามลำดับอักษรของมุมที่สมนัยกันเสมอ เพื่อให้ ง่ายต่อการคำนวณ และจะใช้ สญ


ั ลักษณ์  แทนคำ
ว่า คล้ ายกับ

ตัวอย่าง ABCD คล้ ายกับ


สี่เหลี่ยมคางหมู สี่เหลี่ยมคางหมู PQRS เขียนได้ วา่

ABCD  PQRS

P Q
A B
D C S R

แบบฝึ กหัดคณิตศาสตร์

คำสัง่ จงจับคูข่ องรูปสามเหล่ยมที่คล้ ายกันจากสามเหลี่ยมในแต่ละข้ อต่อไปนี ้


1. Q Y
B 45
A P 60 X 60
60
35 35
C R Z

2. N
2cm 4cm Z
M O 8cm
3cm 4cm U
Y X 12cm
6cm 4cm
T 9cm S

3. R X
F
30 70
P Q
D 30 90 E V 80 70 W

4. N
Q Y

5cm 67 10cm 67
13cm 26cm

90 X Z
M 4cm O P R

5. A
3cm 4cm
P B 5cm C S
6cm 8cm 3cm 5cm
Q 10cm R T 10cm U
แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน
( ค 33101 ) ช่วงชันที้ ่ 3 ชันมั้ ธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความคล้ าย จำนวน 15 ชัว่ โมง
แผนการเรียนรู้ที่ 17 เรื่อง รูปที่คล้ ายกัน (ต่อ) จำนวน 1 ชัว่ โมง
………………………………………………………………………………………………………
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้ นกึ ภาพ ใช้ เหตุผลเกี่ยวกับปริภมู ิ และใช้ แบบจำลองทางเรขาคณิตในการแก้
ปั ญหาได้
1. สาระสำคัญ
ความหมายของรูปที่คล้ ายกัน
รูปสองรูปจะคล้ ายกันก็ตอ่ เมื่อรูปทังสองนั
้ นมี
้ รูปร่างเหมือนกัน แต่อาจจะมีขนาดที่แตกต่างกัน

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 จุดประสงค์ปลายทาง
2.1.1 สามารถบอกความหมายของการคล้ ายของรูปที่คล้ ายกันได้
2.2 จุดประสงค์นำทาง
2.2.1 สามารถบอกความหมายของการคล้ ายของรูปที่คล้ ายกันได้

3. สาระการเรียนรู้
ความหมายของรูปที่คล้ ายกัน (ต่อ)

4. กิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ครูนำแผนภูมิรูปสี่เหลี่ยมคางหมูที่คล้ ายกันมาให้ นกั เรียนได้ ศกึ ษา และนักเรียนได้ ช่วยกันจับคูม่ มุ ที่สมนัยกันรูปสองรูปที่คล้ ายกันก็ตอ่ เมื่อรูป
ทังสองนั
้ นมี
้ รูปร่างเหมือนกัน แต่อาจจะมีขนาดที่แตกต่างกัน
รูปที่คล้ ายกัน
1. มุมที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากัน
2. อัตราส่วนของความยาวของด้ านทีส่ มนัยกันเท่ากัน
สำหรับรูปที่คล้ ายกันจะเขียนชื่อของรูปเรียงตามลำดับของตัวอักษรทีส่ มนัยกันเสมอ เพื่อให้ ง่ายต่อการคำนวณและจะใช้ สญ
ั ลักษณ์  แทน
คำว่า คล้ ายกับ ตัวอย่างเช่น
รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ABCD คล้ ายกับ สี่เหลี่ยม PQRS เขียนได้ วา่  ABCD  PQRS

A 10 cm B
110 70
24 cm P 5 cm Q
12 cm
70 110
D C S R

จากรูป อักษรทีส่ มนัยกัน คือ A P , B Q , C R , D S


มุมที่เท่ากันคือ มุม A = มุม P = 110

มุม B = มุม Q = 70


มุม C = มุม R = 110
มุม D = มุม S = 70
อัตราส่วนของด้ านทีส่ มนัยกันที่เท่ากัน คือ

รูปที่คล้ ายกันไม่จำเป็ นต้ องเขียนไปทางเดียวกันก็ได้ รูป PQRS  ABCD อาจจะเขียนรูปในลักษณะอื่น


ก็ได้ แต่มนั ก็คงคล้ ายกันอยู่
ในรูปบางรูปที่มีมมุ ที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากันทุกมุมเพียงอย่างเดียว ก็ไม่อาจจะทำให้ รูปนันคล้
้ ายกันได้ เช่น รูปสี่เหลี่ยม
มุมฉาก มีมมุ สมนัยกันเท่ากัน เพราะอัตราส่วนของด้ านที่สมนัยกันต่างกัน ดังรูป

แต่รูปสามเหลี่ยมไม่เป็ นไปตามที่กล่าวมา
4.2 4-5 คน ศึกษาใบความรู้ที่ 2.2 และศึกษาจนเป็ นที่เข้ าใจแล้ว
นักเรียนแบ่งกลุม่ ๆละ
จึงนำใบกิจกรรมที่ 2.1 ไปทำร่วมกันแล้ วเปลี่ยนกันตรวจระหว่างกลุม่ นำคะแนนที่ได้
ส่งครูเพื่อบันทึกลงในแบบบันทึกการประเมินผล
4.3 นักเรียนช่วยกันทำปั ญหาชวนคิดและทำแบบฝึ กหัดในหนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชัน้
ม .3 ส่งในชัว่ โมงต่อไป
5. สื่อและแหล่งเรียนรู้
5.1 แผนภูมิภาพ
5.2 ใบความรู้ที่ 2.2 และใบกิจกรรมที่ 2.1
5.3 หนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชัน้ ม.3
5.4 แหล่งเรียนรู้
5.5 ปั ญหาชวนคิด

6 การวัดและประเมินผล
6.1 สังเกตการทำงานร่วมกันเป้นกลุม่
6.2 ตรวจผลงานตามสภาพจริง
6.3 สัมภาษณ์และบันทึกในแบบบันทึกการประเมิน
6.4 แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน

7 กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………………..
(…………………………………….)
ตำแหน่ง…………………………………………..
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ปั ญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

(ลงชื่อ)…………………………………….ผู้สอน
( นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า )
ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้ านลาดใหญ่

แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
( 33101)
กลุม่ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน ค ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 ครูผ้ บู นั ทึก นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า วัน
่ ……..เดือน………………………..พ.ศ……….
ที…
ครัง้ ที่…………ปี การศึกษา………………………… .
รายการประเมิน สรุปผลการประเมิน

เลข
ประจำ
ที่ ตัว
ความซื่อสัตย์และทำงานเสร็ จทันเวลา

ผ่าน ไม่ผา่ น
ความมีเหตุผลและเชื่อมัน่ ในตนเอง

ชื่อ - นามสกุล
รวม
เข้ าร่วมกิจกรรมด้ วยความสนใจ
ความมีระเบียบรอบคอบ
ความเพียรพยายาม
ความสนใจใฝ่ รู้

5 5 5 5 5 5 30
ปั ญหาชวนคิด

ให้ นกั เรียนเติมตัวเลขที่ขาดอยู่ ตังแต่


้ 1 - 12 ลงใน

ให้ ได้ ผลรวม ของจำนวนที่อยู่ในแนวเส้ นตรงเดียวกันมีคา่ เป็ น 26

8 2

12

5 6
ใบความรู้ที่ 2.2
ความคล้ าย

รูปที่คล้ ายกัน

รูปที่คล้ ายกัน
มุมที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากัน
อัตราส่วนของความยาวของด้ านที่สมนัยกันเท่ากัน

สำหรับรูปทีค่ ล้ ายกันจะเขียนชื่อของรูปเรียงตามลำดับของตัวอักษรที่สมนัยกัน
เสมอ เพื่อให้ ง่ายต่อการคำนวณและจะใช้ สญ ั ลักษณ์

 แทนคำว่า คล้ ายกับ

ตัวอย่างเช่น
รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ABCD คล้ ายกับ สี่เหลี่ยม PQRS เขียนได้ วา่  ABCD  PQRS

A 10 cm B
110 70
24 cm P 5 cm Q
12 cm 110 70
70 110 70 110
D C S R
จากรูป อักษรทีส่ มนัยกัน คือ A P , B Q , C R , D S
มุมที่เท่ากันคือ มุม A = มุม P = 110

มุม B = มุม Q = 70


มุม C = มุม R = 110
มุม D = มุม S = 70

อัตราส่วนของด้ านทีส่ มนัยกันที่เท่ากัน คือ

รูปที่คล้ ายกันไม่จำเป็ นต้ องเขียนไปทางเดียวกันก็ได้ รูป PQRS  ABCD อาจจะ


เขียนรูปในลักษณะอื่นก็ได้ แต่มนั ก็คงคล้ ายกันอยู่

ในรูปบางรูปที่มีมมุ ที่สมนัยกันมีขนาดเท่ากันทุกมุมเพียงอย่างเดียว ก็ไม่อาจจะทำให้ รูปนันคล้


้ ายกันได้ เช่น รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก มีมมุ สมนัยกัน
เท่ากัน เพราะอัตราส่วนของด้ านที่สมนัยกันต่างกัน ดังรูป
ใบกิจกรรมที่ 2.1
กำหนดให้ รูปสามเหลี่ยม 2 รูปคล้ ายกัน จงหาว่า
1. มุมใดที่สมนัยกัน
2. คำนวณอัตราส่วนของด้ านทีส่ มนัยกัน

20.6cm
E C
14.1cm 121 W
33.5cm 134cm
D 135 Y 40cm
10cm 41
63 82.4cm 121 56.4cm
F V
วิธีทำ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน
(ค 33101) ช่วงชันที้ ่ 3 ชันมั้ ธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความคล้ าย จำนวน 15 ชัว่ โมง
แผนการเรียนรู้ที่ 18 เรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน จำนวน 1 ชัว่ โมง
………………………………………………………………………………………………………
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้ การนึกภาพ ใช้ เหตุผลเกี่ยวกับปริภมู ิและใช้ แบบจำลองทางเรขาคณิตในการ
แก้ ปัญหาได้
1. สาระสำคัญ
นิยาม รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีขนาดของมุมเท่ากันสามคู่ เรียกว่า รูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 จุดประสงค์ปลายทาง
2.1.1 สามารถบอกสมบัติการคล้ ายกันของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คล้ ายกันได้
2.2 จุดประสงค์นำทาง
2.2.1 สามารถบอกสมบัติการคล้ ายกันของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คล้ ายกันได้
2.2.2 สามารถบอกเงื่อนไขที่ทำให้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ ายกันได้

3. สาระการเรียนรู้
รูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน

4. กิจกรรมการเรียนรู้
4.1 นักเรียนศึกษาแผนภูมิภาพร่วมกันเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมคล้ าย ว่ามีมมุ ที่สมนัยกันกี่คู่ และมุมอะไรบ้ างให้ ช่วยกันบอก แล้ ว สรุปได้ ดงั นี ้
รูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน
นิยาม รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีขนาดของมุมเท่ากันสามคู่ เรียกว่า รูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน

ถ้ าสามเหลี่ยม 2 รูปคล้ ายกันแล้ ว


1. มุมทังสามคู
้ ท่ ี่สมนัยกันจะเท่ากัน
2. อัตราส่วนของด้ านทีส่ มนัยกันทังสามอั
้ ตราส่วนเท่ากัน

ตัวอย่าง เช่น  ABC  XYZ ดังรูป

B C Y Z

ดังนัน้  A = X , B = Y ,  C = Z
และ

สามเหลี่ยมคล้ าย เป็ นรูปคล้ ายที่มีลกั ษณะพิเศษ คือไม่จำเป็ นต้ องทราบขนาดของมุมทังหมดและด้


้ านทังหมดของสามเหลี
้ ่ยม 2 รูป
เพื่อเช็คดูวา่ สามเหลี่ยมทังนั
้ นคล้
้ ายกันหรือไม่
4.2 นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 2.3 และทำใบกิจกรรมที่ 2.2 โดยนักเรียนช่วยกันศึกษา
เมื่อเข้ าใจดีแล้ วลงมือทำกิจกรรมในใบกิจกรรมที่2.2 เปลี่ยนกันตรวจระหว่างกลุม่
และนำคะแนนที่ได้ สง่ ครูเพื่อบันทึกลงในแบบบันทึกคะแนนการประเมิน
4.3 " รูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน จะต้ องมีมมุ ทังสามคู
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า ้ ส่ มนัย
กัน และอัตราส่วนของด้ านทีส่ มนัยกันทังสามอั
้ ตราส่วนเท่ากัน "
4.5 นักเรียนทำปั ญหาชวนคิดและทำแบบฝึ กหัดในหนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชัน้ ม.3 แล้ วนำส่งในชัว่ โมงต่อไป

5.สื่อและแหล่งเรียนรู้
5.1 แผนภูมิภาพรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน
5.2 ใบกิจกรรมที่ 2.2 และใบความรู้ที่ 2.3
5.3 แหล่งเรียนรู้ในชุมชนหรือท้ องถิ่น
5.4 ห้ องสมุด
5.5 หนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชัน้ ม. 3
5.6 ปั ญหาชวนคิด

6 การวัดและประเมินผล
6.1 สังเกตการทำงานร่วมกันเป็ นกลุม่
6.2 ตรวจผลงานตามสภาพจริง
6.3 สัมภาษณ์และบันทึกในแบบบันทึกการประเมิน
6.4 แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน

7 กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………………..
(…………………………………….)
ตำแหน่ง…………………………………………..
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ปั ญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

(ลงชื่อ)…………………………………….ผู้สอน
( นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า )
ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้ านลาดใหญ่

ปั ญหาชวนคิด

ให้ นกั เรียนใช้ ไม้ ขีดไฟ 9 ก้ าน เรียงเป็ นรูปสามเหลี่ยม 3 รูป ที่มีขนาดเท่ากัน ดังรูป ให้ ผ้ เู ล่นย้ ายก้ านไม้ ขดี เพียง 3
ก้ าน แล้ วต่อให้ ได้ รูปสามเหลี่ยม จำนวน 5 รูป

ใบความรู้ที่ 2.3
ความคล้ าย

รูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน

นิยาม รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีขนาดของมุมเท่ากันสามคู่
เรียกว่า รูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน

ถ้ าสามเหลี่ยม 2 รูปคล้ ายกันแล้ ว


มุมทังสามคู
้ ท่ ี่สมนัยกันจะเท่ากัน
อัตราส่วนของด้ านทีส่ มนัยกันทังสามอั
้ ตราส่วนเท่ากัน

ตัวอย่าง เช่น  ABC  XYZ ดังรูป

A
b
c X y
z
B a C Y x Z

ดังนัน้  A = X , B = Y ,  C = Z

และ

นัน่ คือ
อัตราส่วนของด้ านที่อยู่ตรงกับมุมที่เท่ากันของ
สามเหลี่ยมคล้ ายย่อมเท่ากัน

สามเหลี่ยมคล้ าย เป็ นรูปคล้ ายที่มีลกั ษณะพิเศษ คือไม่จำเป็ นต้ องทราบขนาดของมุมทังหมดและด้


้ านทังหมดของสามเหลี
้ ่ยม 2 รูป เพื่อเช็คดู
ว่าสามเหลี่ยมทังนั
้ นคล้
้ ายกันหรือไม่

ใบกิจกรรมที่ 2.2
ให้ นกั เรียนทำแบบฝึ กหัดต่อไปนี ้
1. รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่เท่ากันทุกประการเป็ นรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันหรือไม่ จงอธิบายเหตุผลด้ วย
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
2. กำหนดให้ // ABC และ EDC คล้ ายกันหรือไม่ จงให้ เหตุผล

A B

D E
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
3. กำหนดให้ LPO  LNM LOP และ LMN คล้ ายกันหรือไม่ จงให้ เหตุผล
M

L P N
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
4. กำหนดให้ // และ // จงแสดงว่า ABC  EFD

B
A C

D E
F

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
( 33101)
กลุม่ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน ค ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 ครูผ้ บู นั ทึก นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า วัน
่ ……..เดือน………………………..พ.ศ……….
ที…
ครัง้ ที่…………ปี การศึกษา………………………… .
รายการประเมิน สรุปผลการประเมิน

เลข
ประจำ
ที่ ตัว

ความซื่อสัตย์และทำงานเสร็จทันเวลา
ผ่าน ไม่ผา่ น

ความมีเหตุผลและเชื่อมัน่ ในตนเอง
ชื่อ - นามสกุล
รวม

เข้ าร่ วมกิจกรรมด้ วยความสนใจ


ความมีระเบียบรอบคอบ
ความเพียรพยายาม
ความสนใจใฝ่ รู้

5 5 5 5 5 5 30

แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน


(ค 33101) ช่วงชันที้ ่ 3 ชันมั้ ธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่2 เรื่อง ความคล้าย จำนวน 15 ชัว่ โมง
แผนการเรียนรู้ที่ 19 เรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน จำนวน 1 ชัว่ โมง
………………………………………………………………………………………………………
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้ การนึกภาพ ใช้ เหตุผลเกี่ยวกับปริภมู ิและใช้ แบบจำลองทางเรขาคณิตในการ
แก้ ปัญหาได้
1. สาระสำคัญ
นิยาม รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีขนาดของมุมเท่ากันสามคู่ เรียกว่า รูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 จุดประสงค์ปลายทาง
2.1.1 สามารถบอกสมบัติการคล้ายกันของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คล้ ายกันได้
2.2 จุดประสงค์นำทาง
2.2.1 สามารถบอกสมบัติการคล้ายกันของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คล้ ายกันได้
2.2.2 สามารถบอกเงื่อนไขที่ทำให้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกันได้

3. สาระการเรียนรู้
รูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน ต่อ ( )

4. กิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ให้นกั เรียนแบ่งกลุม่ ๆละ 4-5 คนศึกษาแผนภูมิภาพรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน แล้ วร่วมกันอภิปรายเป็ นกลุม่ ซึง่ ครูจะเห็นว่าความคิดของ
นักเรียนในแต่ละกลุม่ จะแตกต่างกัน โดยสรุปได้ ดังนี ้
กลุม่ ที่ 1 สรุปได้ วา่ รูปสามเหลี่ยมสองรูปจะคล้ ายกันก็ตอ่ เมื่อ " มุมที่สมนัยกันทังสามคู
้ ข่ องสามเหลี่ยม 2 รูปใดเท่ากัน แล้ ว
สามเหลี่ยมทังสองนั
้ นคล้
้ ายกัน "
กลุม่ ที่ 2 สรุปได้ วา่ รูปสามเหลี่ยมสองรูปจะคล้ ายกันก็ตอ่ เมื่อ " อัตราส่วนของด้ านที่สมนัยกันทังสามอั
้ ตราส่วนแล้ ว สามเหลี่ยม
2 รูปนันคล้
้ ายกัน "
กลุม่ ที่ 3 สรุปได้ วา่ รูปสามเหลี่ยมสองรูปจะคล้ ายกันก็ตอ่ เมื่อ " อัตราส่วนของด้ านที่สมนัยกันเท่ากันเพียง 2 คู่ และมุมที่อยู่ระ
ว่างด้ านนันเท่
้ ากันด้ วย แล้ วสามเหลี่ยม 2 รูป จะคล้ ายกัน "
4.2 นักเรียนนำใบความรู้ที่ 2.4 ไปศึกษาเมื่อเข้ าใจดีแล้ ว จึงทำแบบฝึ กในใบกิจกรรมที่ 2.3
โดยจับคูแ่ ล้ วอธิบายให้ ได้ วา่ สามเหลี่ยมที่คล้ ายกันสองรูปในแต่ละข้ อคล้ ายกันเพราะเหตุ
ใด นำมาเสนอหน้ าห้ องเรียนให้ เพื่อนๆได้ รับทราบ ใช้ เวลานำเสนอกลุม่ ละไม่เกิน 10
นาที
4.3 เมื่อนักเรียนนำเสนอเสร็จเรียบร้ อยแล้ ว ครูจะสัมภาษณ์สมุ่ นักเรียนเป็ นรายบุคคล กลุม่
ละ 1-2 คน และร่วมกันสรุปดังนี ้

มุมที่สมนัยทังสามคู
้ ข่ องสามเหลี่ยม 2 รูปใดเท่ากัน แล้ วสามเหลี่ยมทังสองนั
้ นเท่
้ ากัน
A

B X Y

C Z

จากรูป  ABC  XYZ เพราะว่า  A = X


B =  Z
C =  Y
2 คู่ ก็สามารถบอกได้ วา่ มุมที่สามต้ องเท่ากันด้ วย เพราะผลบวกของมุมภายใน
ความจริงแล้ ว ถ้ าทราบว่า มุมที่สมนัยกันเท่ากันเพียง

ของ  ใดๆ มีคา่ 180 เสมอ ดังนัน้ ถ้ ารู้เพียงว่า A = X

และ  B = Z เท่านันก็ ้ สามารถสรุปได้ วา่ สามเหลี่ยม ABC  สามเหลี่ยม XZY เพราะมุมที่เหลือคือ  C =

Y แน่นอน

" อัตราส่วนของด้ านที่สมนัยกันเท่ากันทังสามอั


้ ตราส่วนแล้ ว สามเหลี่ยม 2 รูปนันคล้
้ ายกัน "

P
D

Q R E F

จากรูป  PQR จะคล้ ายกับ  DEF ถ้ า

" ถ้ าอัตราส่วนของด้ านที่สมนัยกันเท่ากันเพียง 2 คู่ และมุมที่อยู่ระหว่างด้ านนัน้


เท่ากันด้ วย แล้ วสามเหลี่ยม 2 รูป จะคล้ ายกัน "

N
S

T R M O
จากรูป  MNO จะคล้ ายกับ RST ถ้ า  N = S
และ

4.4 นักเรียนทำปัญหาชวนคิดและทำแบบฝึ กหัดในหนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชัน้ ม.3 ส่งในชัว่ โมงต่อไป

5 สื่อและแหล่งเรียนรู้
5.1 แผนภูมิภาพ
5.2 ใบความรู้ที่ 2.4 และใบกิจกรรมที่ 2.3
5.3 แหล่งเรียนรู้ในชุมชนหรือท้ องถิ่น
5.4 ห้ องสมุด
5.5 หนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชัน้ ม. 3
5.6 ปั ญหาชวนคิด

6 การวัดและประเมินผล
6.1 สังเกตการทำงานร่วมกันเป็ นกลุม่
6.2 ตรวจผลงานตามสภาพจริง
6.3 สัมภาษณ์และบันทึกในแบบบันทึกการประเมิน
6.4 แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน

7 กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………………..
(…………………………………….)
ตำแหน่ง…………………………………………..
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ปั ญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)…………………………………….ผู้สอน
( นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า )
ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้ านลาดใหญ่

แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
( 33101)
กลุม่ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน ค ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 ครูผ้ บู นั ทึก นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า วัน
่ ……..เดือน………………………..พ.ศ……….
ที…
ครัง้ ที่…………ปี การศึกษา………………………… .
รายการประเมิน สรุปผลการประเมิน
เลข
ประจำ

ความซื่อสัตย์และทำงานเสร็จทันเวลา
ที่ ตัว ผ่าน ไม่ผา่ น

ความมีเหตุผลและเชื่อมัน่ ในตนเอง

เข้ าร่วมกิจกรรมด้ วยความสนใจ


ชื่อ - นามสกุล รวม

ความมีระเบียบรอบคอบ
ความเพียรพยายาม
ความสนใจใฝ่ รู้
5 5 5 5 5 5 30

ปั ญหาชวนคิด

ให้ นกั เรียนช่วยกันไขปั ญหาต่อไปนี ้

1. เลขจำนวนหนึง่ เมื่อหารด้ วย 4 ผลลัพธ์ที่ได้ จะเท่ากับเอา 4 ไปลบออก ( เลขจำนวนนี ้มีคา่ ไม่เกิน 10 )

2. ใช้ เลข 9 สีต่ วั เพื่อเขียนให้ มีคา่ 100 พอดี โดยใช้ วิธีการบวก ลบ คูณ และหาร
3. ระหว่างจำนวน 1 ถึง 100 มีเลขเก้ าอยู่กี่ตวั

4. ตีกลอง 1 ที ดังไปได้ ไกล 100 เมตร ถ้าตีกลอง 5 ที จะดังไปได้


ไกลเท่าไร

6. เป็ ดสองตัวเดินนำหน้ าเป็ ดตัวหนึง่ เป็ ดสองตัวเดินตามหลังเป็ ดตัวหนึง่ และเป็ ดหนึง่ ตัวเดินอยู่กลาง อยากทราบว่าเป็ ดฝูงนี ้มีกี่ตวั

ใบความรู้ที่ 2.4

ความคล้ าย

รูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน

มุมที่สมนัยทังสามคู
้ ข่ องสามเหลี่ยม 2 รูปใดเท่ากัน แล้ วสามเหลี่ยมทังสองนั
้ นเท่
้ ากัน

B X Y
C Z

จากรูป  ABC  XYZ เพราะว่า  A = X


B =  Z
C =  Y
2 คู่ ก็สามารถบอกได้ วา่ มุมที่สามต้ องเท่ากันด้ วย เพราะผลบวกของมุมภายใน
ความจริงแล้ ว ถ้ าทราบว่า มุมที่สมนัยกันเท่ากันเพียง

ของ  ใดๆ มีคา่ 180 เสมอ ดังนัน้ ถ้ ารู้เพียงว่า A = X

และ  B = Z เท่านันก็ ้ สามารถสรุปได้ วา่ สามเหลี่ยม ABC  สามเหลี่ยม XZY เพราะมุมที่เหลือคือ  C =

Y แน่นอน
2

" อัตราส่วนของด้ านที่สมนัยกันเท่ากันทังสามอั


้ ตราส่วนแล้ ว สามเหลี่ยม 2 รูปนันคล้
้ ายกัน "

P
D

Q R E F

จากรูป  PQR จะคล้ ายกับ  DEF ถ้ า

" ถ้ าอัตราส่วนของด้ านที่สมนัยกันเท่ากันเพียง 2 คู่ และมุมที่อยู่ระหว่างด้ านนัน้


เท่ากันด้ วย แล้ วสามเหลี่ยม 2 รูป จะคล้ ายกัน "

N
S

T R M O

จากรูป  MNO จะคล้ ายกับ  RST ถ้ า  N = S


และ

ใบกิจกรรมที่ 2.3
คำสัง่ ให้ นกั เรียนแสดงวิธีทำเพื่อหาคำตอบ
1. กำหนดให้ // ดังรูป ถ้ า CE = 8 หน่วย AC = 6 หน่วย และ
CD = 12 หน่วย จงหาว่า ยาวเท่าไร

D
12
A 6 C 8 E

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
2. จากรูป // ถ้ า , และ ยาว a , b และ c หน่วยตามลำดับ และ ยาว x
หน่วยแล้ ว และ ยาวด้ านละเท่าไร

B
A
E
D

C
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
3. จากรูป // และด้ านต่างๆ ของรูปมีความยาวดังที่กำหนดให้ จงหาความยาวของ
และ

A 4 cm B
2cm E 2.7cm

C 2cm D
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน (
ค 33101 ) ช่วงชันที้ ่ 3 ชันมั้ ธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความคล้ าย จำนวน 15 ชัว่ โมง
แผนการเรียนรู้ที่ 20 เรื่อง รูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน จำนวน 1 ชัว่ โมง
……………………………………………………………………………………………………
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้ การนึกภาพ ใช้ เหตุผลเกี่ยวกับปริภมู ิและใช้ แบบจำลองทางเรขาคณิตในการ
แก้ ปัญหาได้
1. สาระสำคัญ
นิยาม รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีขนาดของมุมเท่ากันสามคู่ เรียกว่า รูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 จุดประสงค์ปลายทาง
2.1.1 สามรถบอกคุณสมบัติที่คล้ ายกันของรูปสามเหลี่ยมสองรูปได้
2.2 จุดประสงค์นำทาง
2.2.1 สามารถบอกคุณสมบัติทคี่ ล้ายกันของรูปสามเหลี่ยมสองรูปได้
2.2.2 สามารถบอกเงื่อนไขที่ทำให้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คล้ ายกันได้

3. สาระการเรียนรู้
รูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน ต่อ( )

4. กิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ครูและนักเรียนทบทวนความรู้เกี่ยวกับสมบัติรูปสามเหลี่ยมคล้ าย
4.2 นักเรียนนำใบความรู้ที่ 2.5 และใบกิจกรรมที่ 2.4 ไปศึกษา เมื่อเข้ าใจดีแล้ ว ให้ นกั เรียนทำใบกิจกรรมที่ 2.4
จนเสร็จ
เรียบร้ อย จึงเปลี่ยนกันตรวจตามใบเฉลยทีค่ รูแจกให้ แต่ถ้ามีนกั เรียนคนที่ยงั ทำใบกิจกรรมไม่เสร็จให้ เพื่อที่ทำเสร็จแล้ วช่วยบอกหรืออธิบาย
จนเข้ าใจ จึงให้ ทำต่อจนเสร็จ จึงตรวจคำตอบให้ เสร็จแล้ วรวบรวมคะแนนส่งให้ ครูเพื่อบันทึกลงในแบบบันทึกการประเมิน
4.3 ครูให้ ตวั อย่างเพื่อเสริมความรู้แก่นกั เรียนอีกประมาณ 1-3 ข้ อ เพื่อให้ เข้ าใจยิ่งขึ ้น ดังนี ้

ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ // จงหาว่า  ABC กับ  EDC คล้ ายกันหรือไม่

A B

C
D E
จะได้ เนื่องจาก
1) ABC = CDE ( เป็ นมุมแย้ ง )
2) BAC = CED ( เป็ นมุมแย้ ง )
3) AcB = DCE ( เป็ นมุมตรงข้ าม )
ดังนัน้ ABC  EDC

ตัวอย่างที่ 2 กำหนดให้ จงหาว่า  ABC และ  ADE คล้ ายกันหรือไม่

D
B

E C A
จะได้ เนื่องจาก
1) BAC = DAE ( เป็ นมุมร่วม )
2) ABC =  ADE (เป็ นมุมภายในและมุมภายนอกข้ างเดียวกันของเส้ นตัด )
3) BCA =  DEA (เป็ นมุมภายในและมุมภายนอกข้ างเดียวกันของเส้ นตัด )
ดังนัน้ ABC  ADE

ตัวอย่างที่ 3 กำหนดให้  PQR = PST PQR


จงหาว่า  PST
และ  คล้ ายกันหรือไม่

Q R

S T
จะได้ เนื่องจาก
1) PQR =  PST (กำหนดให้ )
2) QPR =  SPT (เป็ นมุมร่วม)
3)  PRQ =  PTS (ขนาดของมุมภายในของสามเหลี่ยมเป็ น 180
องศา)

ดังนัน้  PQR  PST

4.4 นักเรียนช่วยกันทำปั ญหาชวนคิดและแบบฝึ กหัดในหนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชัน้ ม .3 ส่งตรวจในชัว่ โมงต่อไป

5 สื่อและแหล่งเรียนรู้
5.1 ใบความรู้ที่ 2.5 และใบกิจกรรมที่ 2.4
5.2 แหล่งเรียนรู้ในชุมชนหรือท้ องถิ่น
5.3 ห้ องสมุด
5.4 หนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชัน้ ม .3
5.5 ปั ญหาชวนคิด

6 การวัดและประเมินผล
6.1 สังเกตการทำงานร่วมกันเป็ นกลุม่
6.2 ตรวจผลงานตามสภาพจริง
6.3 สัมภาษณ์และบันทึกในแบบบันทึกการประเมิน
6.4 แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน

7 กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………………..
(…………………………………….)
ตำแหน่ง…………………………………………..
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ปั ญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

(ลงชื่อ)…………………………………….ผู้สอน
( นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า )
ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้ านลาดใหญ่

ปั ญหาชวนคิด

ให้ นกั เรียนไขปั ญหาต่อไปนี ้

1. แดงจุดเทียนไข 10 แท่งไว้ ในห้ อง แต่ตอ่ มาลมพัดเทียนดับไป 1 แท่ง อีกครู่ตอ่ มาลมกรรโชกอีกวูบหนึง่ เทียนไขที่จดุ ไว้ ดบั ไปอีก

2 แท่ง แดงจึงปิ ดหน้ าต่างห้ อง ลมก็ไม่สามารถพัดให้ เทียนดับได้ อีก เมื่อเป็ นเช่นนี ้จนถึงที่สดุ จะเหลือเทียนไขอยู่กี่แท่ง

2. จุกกับขวดมีราคารวมกัน 11 บาท ขวดอย่างเดียวราคาแพงกว่าจุก 10 บาท จุกอยางเดียว จะมีราคาเท่าไร

3. บากต้ นไม้ ต้นหนึง่ ไว้ สงู จากโคนต้ นขึ ้นมา 1 ฟุตและต้ นไม้ ต้นนี ้จะสูงขึ ้นทุกๆปี ปี ละหนึง่ ฟุตเช่นกัน ในเวลา 10 ปี รอยที่
นักเรียนบากไว้ จะสูงจากพื ้นดินเท่าไร
ใบความรู้ที่ 2.5
ความคล้ าย

รูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน

มุมที่สมนัยทังสามคู
้ ข่ องสามเหลี่ยม 2 รูปใดเท่ากัน แล้ วสามเหลี่ยมทังสองนั
้ นเท่
้ ากัน

B X Y

C Z

จากรูป  ABC  XYZ เพราะว่า  A = X


B =  Z
C =  Y
2 คู่ ก็สามารถบอกได้ วา่ มุมที่สามต้ องเท่ากันด้ วย เพราะผลบวกของมุมภายใน
ความจริงแล้ ว ถ้ าทราบว่า มุมที่สมนัยกันเท่ากันเพียง

ของ  ใดๆ มีคา่ 180 เสมอ ดังนัน้ ถ้ ารู้เพียงว่า A = X

และ  B = Z เท่านันก็ ้ สามารถสรุปได้ วา่ สามเหลี่ยม ABC  สามเหลี่ยม XZY เพราะมุมที่เหลือคือ  C =

Y แน่นอน
2

" อัตราส่วนของด้ านที่สมนัยกันเท่ากันทังสามอั


้ ตราส่วนแล้ ว สามเหลี่ยม 2 รูปนันคล้
้ ายกัน "
P
D

Q R E F

จากรูป  PQR จะคล้ ายกับ  DEF ถ้ า

" ถ้ าอัตราส่วนของด้ านที่สมนัยกันเท่ากันเพียง 2 คู่ และมุมที่อยู่ระหว่างด้ านนัน้


เท่ากันด้ วย แล้ วสามเหลี่ยม 2 รูป จะคล้ ายกัน "

N
S

T R M O

จากรูป  MNO จะคล้ ายกับ  RST ถ้ า  N = S


และ

ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ // จงหาว่า  ABC EDC


กับ  คล้ ายกันหรือไม่

A B

C
D E
จะได้ เนื่องจาก
1) ABC = CDE ( เป็ นมุมแย้ ง )
2) BAC = CED ( เป็ นมุมแย้ ง )
3) AcB = DCE ( เป็ นมุมตรงข้ าม )
ดังนัน้ ABC  EDC

ตัวอย่างที่ 2 กำหนดให้ // จงหาว่า  ABC และ  ADE คล้ ายกัน


หรือไม่

D
B

E C A
จะได้ เนื่องจาก
1) BAC = DAE ( เป็ นมุมร่วม )
2) ABC =  ADE (เป็ นมุมภายในและมุมภายนอกข้ างเดียวกัน
ของเส้ นตัด )

3) BCA =  DEA (เป็ นมุมภายในและมุมภายนอกข้ างเดียวกัน


ของเส้ นตัด )

ดังนัน้ ABC  ADE

ตัวอย่างที่ 3 กำหนดให้  PQR = PST PQR


จงหาว่า  และ  PST คล้ ายกันหรือไม่

Q R

S T
จะได้ เนื่องจาก
1) PQR =  PST (กำหนดให้ )
2) QPR =  SPT (เป็ นมุมร่วม)
3)  PRQ =  PTS (ขนาดของมุมภายในของสามเหลี่ยมเป็ น 180
องศา)

ดังนัน้ PQR  PST


ใบกิจกรรมที่ 2.4
คำสัง่ ให้ นกั เรียนแสดงวิธีทำหาคำตอบที่ถกู ต้ อง
1. จากรูป กำหนดให้  ABC  DEF ดังรูป จงแสดงว่า

D
A

B C F E
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
2. PQR  XYZ ดังรูป ถ้ า PQ  QR = 2  3 และ ยาว 12 เซนติเมตร
จงหาความยาวของ X
P

Q R Y Z
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
3. กำหนดให้ ABC มีจดุ P และ Q เป็ นจุดบน และ ตามลำดับ ถ้ า

ขนานกับ จงพิสจู น์วา่ APQ  ABC


………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
4. กำหนดรูปสามเหลี่ยมให้ ดงั รูป จงหาว่า ABC  AED หรือไม่
D
B

E A
C
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
( 33101)
กลุม่ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน ค ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 ครูผ้ บู นั ทึก นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า วัน
่ ……..เดือน………………………..พ.ศ……….
ที…
ครัง้ ที่…………ปี การศึกษา………………………… .
รายการประเมิน สรุปผลการประเมิน

เลข
ประจำ
ที่ ตัว

ความซื่อสัตย์และทำงานเสร็จทันเวลา
ผ่าน ไม่ผา่ น

ความมีเหตุผลและเชื่อมัน่ ในตนเอง
ชื่อ - นามสกุล
รวม

เข้ าร่วมกิจกรรมด้ วยความสนใจ


ความมีระเบียบรอบคอบ
ความเพียรพยายาม
ความสนใจใฝ่ รู้

5 5 5 5 5 5 30

แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้น
( 33101) ช่วงชันที้ ่ 3 ชันมั้ ธยมศึกษาปี ที่ 3
ฐาน ค
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความคล้ าย จำนวน 15 ชัว่ โมง
แผนการเรียนรู้ที่ 21 เรื่อง สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน จำนวน 1 ชัว่ โมง
………………………………………………………………………………………………………
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้ การนึกภาพ ใช้ เหตุผลเกี่ยวกับปริภมู ิและใช้ แบบจำลองทางเรขาคณิตใน
การแก้ ปัญหาได้
1. สาระสำคัญ
รูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกัน อัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรงข้ ามกับมุมที่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 จุดประสงค์ปลายทาง
2.1.1 สามารถบอกได้ วา่ สมบัติของการคล้ ายกันของรูปสามเหลี่ยมและบอกเงื่อนไขที่ท ำให้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ ายกันได้
2.2 จุดประสงค์นำทาง
2.2.1 สามารถบอกสมบัติของการคล้ ายกันของรูปสามเหลี่ยมได้
2.2.2 สามารถบอกเงื่อนไขที่ทำให้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ ายกันได้

3. สาระการเรียนรู้
ความคล้ าย
- สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน

4. กิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนนิยามและสมบัตขิ องรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน ว่า " ถ้ ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกันอัตราส่วนของความ
ยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรงข้ ามกับมุมที่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน "
4.2 นักเรียนแบ่งกลุม่ ออกเป็ นกลุม่ ละ 4-5 2.6 และใบกิจกรรมที่
คน ศึกษาใบความรู้ที่
2.5 เมื่อนักเรียนศึกษาเป็ นที่เข้าใจดีแล้ วให้ ทำตามใบกิจกรรมที่ 2.5 แล้ วเตรียมนำ
้ ยน โดยส่งตัวแทนของกลุม่ ออกมารายงานกลุม่ ละ 2 คน ใช้ เวลาไม่เกินกลุม่ ละ 10
เสนอหน้ าชันเรี นาที ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป
ดังนี ้

ถ้ ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกัน อัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรงข้ ามกับมุมที่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน

กำหนดให้  ABC  DEF และ  BAC = EDF , ABC =  DEF

A
D

B C E F
จะได้

และ

ABC 
และ พื ้นที่  DEF = ( AB )2  ( DE )2
พื ้นที่ 

ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้  ABC = CED และ AB = 16 เซนติเมตร AC =


18 เซนติเมตร และ CD = 36 เซนติเมตร จงหาว่า ED ยาวเท่าไร

18
A C 36 D
16 B

จะได้ เนื่องจาก  ABC  DEC (มีมมุ เท่ากัน 3 คู)่


ดังนัน้

แทนค่า AB = 16 , AC = 18 , และ CD = 36
จะได้

คูณไขว้ 18 ED = 16 X 36
ED =
 ED = 32 เซนติเมตร ตอบ

4.3 นักเรียนนำใบกิจกรรมที่ 2.6 ไปทำโดยทุกคนเมื่อทำเสร็จแล้ วให้ เปลี่ยนกันตรวจตาม


ใบเฉลยทีค่ รูแจกให้ แล้ วส่งผลคะแนนให้ ครูเพื่อบันทึกลงในแบบบันทึกการประเมิน
4.5 นักเรียนช่วยกันทำปั ญหาชวนคิดและทำแบบฝึ กหัดในหนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์
ชัน้ ม.3 แล้ วส่งในชัว่ โมงต่อไป

5. สื่อและแหล่งเรียนรู้
5.1 ใบความรู้ที่ 2.6 ใบกิจกรรมที่ 2.5 และ ใบกิจกรรมที่ 2.6
5.2 แหล่งเรียนรู้ในชุมชนหรือท้ องถิ่น
5.3 ห้ องสมุด
5.4 หนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชัน้ ม .3
5.5 ปั ญหาชวนคิด

6. การวัดและประเมินผล
6.1 สังเกตการทำงานร่วมกันเป็ นกลุม่
6.2 ตรวจผลงานและรายงานตามสภาพจริง
6.3 สัมภาษณ์และบันในแบบบันทึกการประเมิน
6.4 แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน

7. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………………..
(…………………………………….)
ตำแหน่ง…………………………………………..
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ปั ญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

(ลงชื่อ)…………………………………….ผู้สอน
( นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า )
ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้ านลาดใหญ่

ปั ญหาชวนคิด

ให้ นกั เรียนใช้ เส้ นตรงเพียง 6 เส้ น แบ่งวงกลมออกเป็ น

22 ส่วน
ใบความรู้ที่ 2.6
ความคล้ าย

สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน
ถ้ ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกัน อัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรงข้ ามกับมุมที่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน

กำหนดให้  ABC  DEF และ  BAC = EDF , ABC =  DEF

A
D

B C E F

จะได้

และ

และ พื ้นที่ ABC  DEF = ( AB )2  ( DE )2


พื ้นที่ 

ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้  ABC = CED และ AB = 16 เซนติเมตร AC =


18 เซนติเมตร และ CD = 36 เซนติเมตร จงหาว่า ED ยาวเท่าไร

18
A C 36 D
16 B
จะได้ เนื่องจาก  ABC  DEC (มีมมุ เท่ากัน 3 คู)่
ดังนัน้

แทนค่า AB = 16 , AC = 18 , และ CD = 36
จะได้

คูณไขว้ 18 ED = 16 X 36
ED =
 ED = 32 เซนติเมตร ตอบ

ใบกิจกรรมที่ 2.5
คำสัง่ ให้ แสดงวิธีทำหาคำตอบที่ถกู ต้ อง
1. จากรูป EF // BC และ AF : EF = 3 : 4 ถ้ า BC = 24 เซนติเมตร
AC ยาวกี่เซนติเมตร
A

E F

B C
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………..
2. จงหาค่าของตัวแปรจากรูปที่กำหนดให้ ตอ่ ไปนี ้
2.1 6
X X =…………………………………….
10 8 y …………………………………………
5 …………………………………………
………………………………………….
Y =………………………………….
………………………………………….
………………………………………….
………………………………………….

2.2
8 10 9 a =………………………………………
a …………………………………………..
12 b …………………………………………..
…………………………………………..
b =……………………………………..
…………………………………………..
…………………………………………..
…………………………………………..
……………………………………………

2.3 x
2a x =………………………………………
……………………………………………
3b ……………………………………………
7.5b a =………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
b =………………………………………
……………………………………………
…………………………………………..
ใบกิจกรรมที่ 2.6
คำสัง่ ให้ ตอบคำถามจากโจทย์ตอ่ ไปนี ้

1. จากข้ อความที่วา่ " รูปสามเหลี่ยมหน้ าจัว่ ที่มีมมุ ยอดเป็ นมุมฉาก จะเป็ นสามเหลี่ยม
" นักเรียนคิดว่าข้ อความนี ้เป็ นจริงหรือไม่ จงให้ เหตุผล
คล้ ายกัน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
2. รูปสามเหลี่ยมมุมฉากทุกรูปเป็ นสามเหลี่ยมคล้ ายจริงหรือไม่ จงให้ เหตุผล
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
3. รูปสามเหลี่ยมด้านเท่าทุกรูปคล้ายกันหรือไม่ เพราะเหตุใด
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
( 33101)
กลุม่ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน ค ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 ครูผ้ บู นั ทึก นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า วัน
่ ……..เดือน………………………..พ.ศ……….
ที…
ครัง้ ที่…………ปี การศึกษา………………………… .
รายการประเมิน สรุปผลการประเมิน
เลข
ประจำ

ความซื่อสัตย์และทำงานเสร็จทันเวลา
ที่ ตัว ผ่าน ไม่ผา่ น

ความมีเหตุผลและเชื่อมัน่ ในตนเอง

เข้ าร่วมกิจกรรมด้ วยความสนใจ


ชื่อ - นามสกุล
รวม

ความมีระเบียบรอบคอบ
ความเพียรพยายาม
ความสนใจใฝ่ รู้
5 5 5 5 5 5 30

แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน


(ค 33101) ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3
2 เรื่อง ความคล้าย
หน่วยการเรียนรู้ที่ จำนวน 15 ชัว่ โมง
แผนการเรียนรู้ที่ 22 เรื่อง สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน จำนวน 1 ชัว่ โมง
………………………………………………………………………………………………………
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้ การนึกภาพ ใช้ เหตุผลเกี่ยวกับปริภมู ิ และใช้ แบบจำลองทางเรขาคณิตใน
การแก้ ปัญหาได้
1. สาระสำคัญ
รูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกัน อัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรงข้ ามกับมุมที่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 จุดประสงค์ปลายทาง
2.1.1 สามารถบอกได้ วา่ สมบัติของการคล้ ายกันของรูปสามเหลี่ยมและบอกเงื่อนไขที่ท ำให้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ ายกันได้
2.2 จุดประสงค์นำทาง
2.2.1 สามารถบอกสมบัติของการคล้ ายกันของรูปสามเหลี่ยมได้
2.2.2 สามารถบอกเงื่อนไขที่ทำให้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ ายกันได้

3. สาระการเรียนรู้
ความคล้ าย
- ( )
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน ต่อ

4. กิจกรรมการเรียนรู้
4.1 แบ่งกลุม่ นักเรียนศึกษาแผนภูมิตวั อย่างที่ครูนำมาให้ กลุม่ ละ 4-5 คน ดังนี ้

ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้  ABC และ  ADE เป็ นสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยที่ C


และ E BC = 1 หน่วย และ AC = 2 หน่วย
จงหาอัตราส่วนของ

B
D

Y
C E X A

จะได้ เนื่องจาก  ABC  ADE ( มีมมุ เท่ากัน 3 คู่ )


ดังนัน้

จาก BC = 1 หน่วย และ AC = 2 หน่วย

ดังนัน้

ABC และ DBE


ตัวอยา่ งน่าคิด กำหนดให้  เป็ นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยที่  C และ  E เป็ นมุมฉาก AC =
1 หน่วย และ CE = 1 - X หน่วย
จงหาอัตราส่วน Y  X

4.2 เมื่อนักเรียนแต่ละกลุม่ เข้ าใจดีแล้ ว นักเรียนช่วยกันทำโจทย์ตอ่ ไปนี ้


ABC และ DBE เป็ นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
กำหนดให้  โดยที่  C และ  E เป็ นมุมฉาก AC = 1
หน่วย และ CE = 1 - X หน่วย จงหาอัตราส่วน Y  X

เมื่อนักเรียนทำเสร็จแล้ วเปลี่ยนกันตรวจระหว่างกลุม่ ตามใบเฉลยทีค่ รูแจกให้

นั กเรี ยนลองท ำดูนะครั บ


งา่ ยมาก ๆ

เฉลย
A
D
Y

C E X B

จะได้ เนื่องจาก  ABC   DBE


ดังนัน้

จาก BC = CE + EB
= ( 1 - X) + X
= 1
AB = AC2 + CB2
2

= 1 2 + 12
= 2
AB =
 ตอบ

เมื่อนักเรียนตรวจเสร็จแล้ วส่งผลคะแนนให้ ครูเพื่อบันทึกลงในแบบบันทึกการประเมิน


4.3 นักเรียนช่วยกันทำปั ญหาชวนคิดและทำแบบฝึ กหัดในหนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชัน้ ม .3 ส่งในชัว่ โมงต่อไป

5. สื่อและแหล่งเรียนรู้
5.1 แผนภูมิโจทย์ตวั อย่าง พร้ อมใบเฉลย
5.2 หนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชัน้ ม .3
5.3 ปั ญหาชวนคิด

6. การวัดและประเมินผล
6.1 สังเกตการทำงานร่วมกันเป็ นกลุม่
6.2 ตรวจผลงานตามสภาพจริง
6.3 สัมภาษณ์และบันทึกในแบบบันทึกการประเมิน
6.4 แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน

7. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………………..
(…………………………………….)
ตำแหน่ง…………………………………………..
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ปั ญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

(ลงชื่อ)…………………………………….ผู้สอน
( นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า )
ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้ านลาดใหญ่

ปั ญหาชวนคิด

A
B C
G

H
D E
F

รูปที่กำหนดข้ างต้ นนี ้มี ขนานกับ ขนานกับ และ ขนานกับ


จงหาว่ามีรูปสามเหล่ยมที่คล้ ายกันกี่คู่ คูใ่ ดบ้ าง

แผนภูมิโจทย์ตวั อย่าง

กำหนดให้  ABC ADE เป็ นสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยที่ C


และ 
และ  E BC = 1 หน่วย และ AC = 2 หน่วย
จงหาอัตราส่วนของ

B
D

Y
C E X A

จะได้ เนื่องจาก  ABC  ADE ( มีมมุ เท่ากัน 3 คู่ )


ดังนัน้

จาก BC = 1 หน่วย และ AC = 2 หน่วย

ดังนัน้

กำหนดให้  ABC และ DBE เป็ นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยที่  C E


และ 

เป็ นมุมฉาก AC = 1 หน่วย และ CE = 1 - X หน่วย จงหาอัตราส่วน Y  X

A
D
Y

C E X B

จะได้ เนื่องจาก  ABC   DBE


ดังนัน้

จาก BC = CE + EB
= ( 1 - X) + X
= 1
AB = AC2 + CB2
2

= 1 2 + 12
= 2
AB =
 ตอบ
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
( 33101)
กลุม่ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน ค ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 ครูผ้ บู นั ทึก นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า วัน
่ ……..เดือน………………………..พ.ศ……….
ที…
ครัง้ ที่…………ปี การศึกษา………………………… .
รายการประเมิน สรุปผลการประเมิน

เลข
ประจำ
ที่ ตัว
ความซื่อสัตย์และทำงานเสร็ จทันเวลา
ผ่าน ไม่ผา่ น
ความมีเหตุผลและเชื่อมัน่ ในตนเอง

ชื่อ - นามสกุล
รวม

เข้ าร่ วมกิจกรรมด้ วยความสนใจ


ความมีระเบียบรอบคอบ
ความเพียรพยายาม
ความสนใจใฝ่ รู้

5 5 5 5 5 5 30
แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน
(ค 33101) ช่วงชันที้ ่ 3 ชันมั้ ธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความคล้ าย จำนวน 15 ชัว่ โมง
แผนการเรียนรู้ที่ 23 เรื่อง สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน จำนวน 1 ชัว่ โมง
………………………………………………………………………………………………………
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้ การนึกภาพ ใช้ เหตุผลเกี่ยวกับปริภมู ิและใช้ แบบจำลองทางเรขาคณิตในการแก้ ปัญหาได้
1. สาระสำคัญ
รูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกัน อัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรงข้ ามกับมุมที่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 จุดประสงค์ปลายทาง
2.1.1 สามารถบอกได้ วา่ สมบัติของการคล้ ายกันของรูปสามเหลี่ยมและบอกเงื่อนไขที่ท ำให้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ ายกันได้
2.2 จุดประสงค์นำทาง
2.2.1 สามารถบอกสมบัติของการคล้ ายกันของรูปสามเหลี่ยมได้
2.2.2 สามารถบอกเงื่อนไขที่ทำให้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ ายกันได้

3. สาระการเรียนรู้
ความคล้ าย
- สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน ต่อ( )

4. กิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนนิยามและสมบัตขิ องรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน ว่า

ถ้ ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรง


ข้ ามกับมุมที่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน

4.2 นักเรียนแบ่งกลุม่ ออกเป็ นกลุม่ ละ 4-5 คน ศึกษาใบความรู้ที่ 2.7 เมื่อนักเรียน


2.7 แล้ วเตรียมนำเสนอหน้ าชันเรี้ ยน
ศึกษาเป็ นที่เข้ าใจดีแล้ วให้ ทำตามใบกิจกรรมที่
โดยส่งตัวแทนของกลุม่ ออกมารายงานกลุม่ ละ 2 คน ใช้ เวลาไม่ เกินกลุม่ ละ 5 นาที
4.3 นักเรียนนำใบกิจกรรมที่ 2.7 ไปทำโดยทุกคนเมื่อทำเสร็จแล้วให้ เปลี่ยนกันตรวจตาม
ใบเฉลยทีค่ รูแจกให้ แล้ วส่งผลคะแนนให้ ครูเพื่อบันทึกลงในแบบบันทึกการประเมิน
ครูยกตัวอย่างให้ นกั เรียนได้ ศกึ ษาเพิ่มเติม ดังนี ้

ตัวอย่าง กำหนดให้ ABCD เป็ นรูปสี่เหลี่ยมคางหมูรูปหนึง่  E และ F


AD และ BC ตามลำดับ
เป็ นจุดอยู่บนด้ าน  และ

ถ้ าให้ AB = 7 หน่วย และ DC = 10 หน่วย จงหา EF

D C

E F

A B

จะได้ ลาก BN ให้ ขนานกับ AD และตัด EF ที่ M ทำให้ EM = DN = AB = 7 หน่วย


และ NC = 10 - 7 = 3 หน่วย

D 7 N 3 C

E 7 M F

A 7 B

เนื่องจาก  BMF  BNC และ

ดังนัน้ และ

= 2
จาก EF = EM + MF
= 7 + 2
= 9
ดังนัน้ EF = 9 หน่วย ตอบ

4.4 นักเรียนช่วยกันทำปั ญหาชวนคิดและทำแบบฝึ กหัดในหนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์


ชัน้ ม.3 แล้ วส่งในชัว่ โมงต่อไป

5 สื่อและแหล่งเรียนรู้
5.1 ใบกิจกรรมที่ 2.7 และใบกิจกรรมที่ 2.7
5.2 แหล่งเรียนรู้ในชุมชนหรือท้ องถิ่น
5.3 ห้ องสมุด
5.4 หนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชัน้ ม .3
5.5 ปั ญหาชวนคิด

6 การวัดและประเมินผล
6.1 สังเกตการทำงานร่วมกันเป็ นกลุม่
6.2 ตรวจผลงานและรายงานตามสภาพจริง
6.3 สัมภาษณ์และบันในแบบบันทึกการประเมิน
6.4 แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน

7. กิจกรรมเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………………..
(…………………………………….)
ตำแหน่ง…………………………………………..
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ปั ญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

(ลงชื่อ)…………………………………….ผู้สอน
( )
นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า
ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้ านลาดใหญ่

ปั ญหาชวนคิด

E F

B C

ABC กับ AEF เป็ นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

AE  AB = 1  2
EF  BC = 1  2
AEF
พื ้นที่ของ  คิดเป็ นร้ อยละเท่าไรของพื ้นที่ของ

ABC

ใบความรู้ที่ 2.7
ความคล้ าย

สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน

ถ้ ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรง


ข้ ามกับมุมที่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน

ตัวอย่าง กำหนดให้ ABCD เป็ นรูปสี่เหลี่ยมคางหมูรูปหนึง่  E และ F


AD และ BC ตามลำดับ
เป็ นจุดอยู่บนด้ าน  และ

ถ้ าให้ AB = 7 หน่วย และ DC = 10 หน่วย จงหา EF

D C

E F

A B

จะได้ ลาก BN ให้ ขนานกับ AD และตัด EF ที่ M ทำให้ EM = DN = AB = 7 หน่วย


และ NC = 10 - 7 = 3 หน่วย

D 7 N 3 C

E 7 M F

A 7 B

เนื่องจาก  BMF  BNC และ

ดังนัน้ และ

= 2
จาก EF = EM + MF
= 7 + 2
= 9
ดังนัน้ EF = 9 หน่วย ตอบ

ใบกิจกรรมที่ 2.7
คำสัง่ ให้ แสดงวิธีทำเพื่อหาคำตอบ

1. จากรูป ถ้ าไม่ใช้ วิธีวดั จะหาความยาวของ ได้ หรือไม่ เมื่อกำหนดให้ AB = 16 หน่วย AB = 16 หน่วย AC = 20


หน่วย และ CD = 10 หน่วย

B
16
A 20 C 10 D

E
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2. จากรูป จงหาว่า ยาวเท่าไร เมื่อกำหนดให้  ABC = DEC AB = 12 หน่วย AC = 18 หน่วย


CD = 9 หน่วย
B

12
A 9
18 C D
E

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………..

3. จากรูป กำหนดให้ ขนานกับ จงหาว่า ยาวเท่าไร เมื่อกำหนดให้


AB = 10 หน่วย AC = 15 หน่วย และ DE = 8 หน่วย
B

10
A
15 C D
E 8

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
( 33101)
กลุม่ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน ค ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 ครูผ้ บู นั ทึก นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า วัน
่ ……..เดือน………………………..พ.ศ……….
ที…
ครัง้ ที่…………ปี การศึกษา………………………… .
รายการประเมิน สรุปผลการประเมิน

เลข
ประจำ
ที่ ตัว

ความซื่อสัตย์และทำงานเสร็จทันเวลา
ผ่าน ไม่ผา่ น

ความมีเหตุผลและเชื่อมัน่ ในตนเอง
ชื่อ - นามสกุล
รวม

เข้ าร่ วมกิจกรรมด้ วยความสนใจ


ความมีระเบียบรอบคอบ
ความเพียรพยายาม
ความสนใจใฝ่ รู้

5 5 5 5 5 5 30

แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน


(ค 33101) ช่วงชันที้ ่ 3 ชันมั้ ธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความคล้ าย จำนวน 15 ชัว่ โมง
แผนการเรียนรู้ที่ 24 เรื่อง สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน จำนวน 1 ชัว่ โมง
………………………………………………………………………………………………………
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้ การนึกภาพ ใช้ เหตุผลเกี่ยวกับปริภมู ิ และใช้ แบบจำลองทางเรขาคณิตใน
การแก้ ปัญหาได้
1. สาระสำคัญ
รูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกัน อัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรงข้ ามกับมุมที่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 จุดประสงค์ปลายทาง
2.1.1 สามารถบอกได้ วา่ สมบัติของการคล้ ายกันของรูปสามเหลี่ยมและบอกเงื่อนไขที่ท ำให้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ ายกันได้
2.2 จุดประสงค์นำทาง
2.2.1 สามารถบอกสมบัติของการคล้ ายกันของรูปสามเหลี่ยมได้
2.2.2 สามารถบอกเงื่อนไขที่ทำให้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ ายกันได้

3. สาระการเรียนรู้
ความคล้ าย
- ( )
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน ต่อ

4 กิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนนิยามและสมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน ว่า

ถ้ ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรง


ข้ ามกับมุมที่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน

4.2 นักเรียนแบ่งกลุม่ ออกเป็ นกลุม่ ละ 4-5 คน ศึกษาใบความรู้ที่2.8 และใบกิจกรรมที่


2.8 เมื่อนักเรียนศึกษาเป็ นที่เข้ าใจดีแล้ วให้ ทำตามใบกิจกรรมที่ 2.8 แล้ วเตรียมนำ
้ ยน โดยส่งตัวแทนของกลุม่ ออกมารายงานกลุม่ ละ 2 คน ใช้ เวลาไม่
เสนอหน้ าชันเรี
เกินกลุม่ ละ 15 นาที และทำแบบฝึ กในใบกิจกรรม เสร็จแล้ วเปลี่ยนกันตรวจภายกลุม่
ส่งผลคะแนนให้ ครูเพื่อลงบันทึกผลการประเมินในแบบบันทึกการประเมิน แล้ วยกตัว
อย่างให้ นกั เรียนเพิ่มเติมความรู้ ดังนี ้

ตัวอย่าง จากรูป  ABE คล้ ายกับ  CDE จงคำนวณหาความยาวของ CD

A 32cm B
12cm
E
9 cm
C D
จะได้ เนื่องจาก  ABE  CDE
ดังนัน้

แทนค่าด้ านที่ทราบค่า

CD =
ดังนัน้ CD ยาว 24 เซนติเมตร ตอบ

4.3 นักเรียนช่วยกันทำปั ญหาชวนคิดและทำแบบฝึ กหัดในหนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์


ชัน้ ม.3 แล้ วส่งตรวจในชัว่ โมงต่อไป

5. สื่อและแหล่งเรียนรู้
5.1 ใบความรู้ที่ 2.8 และใบกิจกรรมที่ 2.8
5.2 แหล่งเรียนรู้ในชุมชนหรือท้ องถิ่น
5.3 ห้ องสมุด
5.4 หนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชัน้ ม .3
5.5 ปั ญหาชวนคิด

6. การวัดและประเมินผล
6.1 สังเกตการทำงานร่วมกันเป็ นกลุม่
6.2 ตรวจผลงานตามสภาพจริง
6.3 สัมภาษณ์และบันทึกในแบบบันทึก
6.4 แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน

7 กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………………..
(…………………………………….)
ตำแหน่ง…………………………………………..
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ปั ญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………..
ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

(ลงชื่อ)…………………………………….ผู้สอน
( )
นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า
ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้ านลาดใหญ่

ปั ญหาชวนคิด

ในภาพจะเห็นมีที่ดินส่วนหนึง่ เพิ่งได้ รับการบุกเบิกใหม่ทงั ้ 3 ด้ านติดกับคลองที่กว้ างขวางคดไปมา อีกด้ านหนึง่ ติดทะเล จนเดี๋ยวนี ้ ยังไม่มีการ
สร้ างสะพานเชื่อมระหว่างที่ดินตรงนี ้กับฝั่ งเลย

ทะเล

ที่ดิน ที่ดิน ทีด่ ิน


คลอง

มาวันหนึง่ มีวศิ วกร A มาสำรวจเพื่อสร้ างสะพาน เขาใช้ ไม้ ซุง 2 ต้ น ซึง่ มีขนาดความยาวพอดีกบั ความห่างระหว่างคลองกับที่ดินแห่งนี ้
พอดี เพื่อทำสะพานข้ าม แต่ในเมื่อไม้ ซุงทัง้ 2 ต้ นมีความยาวพอดีกบั ระยะของคลองกับที่ดิน ถ้ าพาดไม้ ซุงทัง้ 2 ต้ นลงไปคงจะต้ องล่วงลงคลอง
เป็ นแน่ ถามว่า วิศวกร A จะทำอย่างไรถึงจะสร้ างสะพานได้

ใบความรู้ที่ 2.8
ความคล้ าย

สมบัติรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน
ถ้ ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรง
ข้ ามกับมุมที่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน

ตัวอย่าง จากรูป  ABE คล้ ายกับ  CDE จงคำนวณหาความยาวของ CD

A 32cm B
12cm
E
9 cm
C D

จะได้ เนื่องจาก  ABE  CDE


ดังนัน้

แทนค่าด้ านที่ทราบค่า

CD =
ดังนัน้ CD ยาว 24 เซนติเมตร ตอบ

ใบกิจกรรมที่ 2.8

คำสัง่ ให้ นกั เรียนแสดงวิธีทำหาคำตอบที่ถกู ต้ อง

จากรูป จงหาค่า X และ y


1. A y B
4 3
E
9 12

D 15 C
AEB  CED
เมื่อ 
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

2. จงนาหาค่า X A
12 9 7 E
F X 18

B 24 C

ABC  AEF , มุม AFE = มุม BCE


เมื่อ 
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
( 33101)
กลุม่ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน ค ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 ครูผ้ บู นั ทึก นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า วัน
่ ……..เดือน………………………..พ.ศ……….
ที…
ครัง้ ที่…………ปี การศึกษา………………………… .
รายการประเมิน สรุปผลการประเมิน

เลข
ประจำ
ที่ ตัว
ความซื่อสัตย์และทำงานเสร็จทันเวลา

ผ่าน ไม่ผา่ น
ความมีเหตุผลและเชื่อมัน่ ในตนเอง

ชื่อ - นามสกุล
รวม
เข้ าร่ วมกิจกรรมด้ วยความสนใจ
ความมีระเบียบรอบคอบ
ความเพียรพยายาม
ความสนใจใฝ่ รู้

5 5 5 5 5 5 30
แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้น
( 33101) ช่วงชันที้ ่ 3 ชันมั้ ธยมศึกษาปี ที่ 3
ฐาน ค
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความคล้ าย จำนวน 15 ชัว่ โมง
แผนการเรียนรู้ที่ 25 เรื่อง สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน จำนวน 1 ชัว่ โมง
………………………………………………………………………………………………………
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้ การนึกภาพ ใช้ เหตุผลเกี่ยวกับปริภมู ิและใช้ แบบจำลองทางเรขาคณิตใน
การแก้ ปัญหาได้
1. สาระสำคัญ
รูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกัน อัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรงข้ ามกับมุมที่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 จุดประสงค์ปลายทาง
2.1.1 สามารถบอกได้วา่ สมบัติของการคล้ายกันของรูปสามเหลี่ยมและบอกเงื่อนไขที่ทำให้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกันได้
2.2 จุดประสงค์นำทาง
2.2.1 สามารถบอกสมบัติของการคล้ายกันของรูปสามเหลี่ยมได้
2.2.2 สามารถบอกเงื่อนไขที่ทำให้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ ายกันได้

3. สาระการเรียนรู้
ความคล้ าย
- ( )
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน ต่อ

4. กิจกรรมการเรียนรู้
7.1 ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนนิยามและสมบัตขิ องรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน ว่า " ถ้ า
รูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรงข้ ามกับ มุมที่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน " นักเรียนสรุป
เงื่อนไขที่ทำให้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ ายกัน โดยแต่ละกลุม่ เขียนลงในกระดาษชาร์ ท ทีค่ รูแจกให้ แล้ วนำติดป้ายหน้ าห้ องของตนเอง
เพื่อเสนอผลงานให้ เพื่อนได้ ทราบ พร้ อมทังยกตั
้ วอย่างดังนี ้

ตัวอย่าง กำหนดให้ ABC และ DBE มี C และ E เป็ นมุมฉาก


CB = 3 , BE = 1 ED = 2 จงความยาวของ AC และ AB

A
1 E
C 3 B 2

ดังนัน้  BDE  BD2 = BE2 + DE2


BD2 = 12 + 22
BD =

เนื่องจาก  ABC  BED และ

 AC = 6

และ

AB = 3 X
 AB = 3 X 2.236 = 6.708 ตอบ

4.2 นักเรียนแบ่งกลุม่ ออกเป็ นกลุม่ ละ 4-5 คน ศึกษาใบความรู้ที่2.9 และใบกิจกรรมที่


2.9 เมื่อนักเรียนศึกษาเป็ นที่เข้ าใจดีแล้ วให้ ทำตามใบกิจกรรมที่ 2.9 แล้ วเตรียมนำ
้ ยน โดยส่งตัวแทนของกลุม่ ออกมารายงานกลุม่ ละ 2 คน ใช้ เวลาไม่
เสนอหน้ าชันเรี
เกินกลุม่ ละ 15 นาที และทำแบบฝึ กในใบกิจกรรม เสร็จแล้ วเปลี่ยนกันตรวจภายกลุม่
ส่งผลคะแนนให้ ครูเพื่อลงบันทึกผลการประเมินในแบบบันทึก
์ 4.3 ให้ นกั เรียนช่วยกันทำปั ญหาชวนคิดและทำแบบฝึ กหัดคณิตสาสตร์ ในหนังสือแบบเรียน
คณิตศาสตร์ ชัน้ ม .3 แล้ วส่งตรวจในชัว่ โมงต่อไป

5. สื่อและแหล่งเรียนรู้
5.1 ใบความรู้ที่ 2.9 และใบกิจกรรมที่ 2.9
5.2 แหล่งเรียนรู้ในชุมชนหรือท้ องถิ่น
5.3 ห้ องสมุด
5.4 หนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชัน้ ม.3
5.5 กระดาษชาร์ท
5.6 ปั ญหาชวนคิด
6. . การวัดและประเมินผล
6.1 สังเกตการทำงานร่วมกันเป็ นกลุม่
6.2 ตรวจผลงานตามสภาพจริง
6.3 สัมภาษณ์และบันทึกในแบบบันทึก
6.4 แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน

5 กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………………..
(…………………………………….)
ตำแหน่ง…………………………………………..
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ปั ญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

(ลงชื่อ)…………………………………….ผู้สอน
( นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า )
ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้ านลาดใหญ่

ปั ญหาชวนคิด

ให้ นกั เรียนหาวิธีคิดอย่างสมเหตุสมผลในการคิดเลขคณิตต่อไปนี ้ในใจและห้ ามใช้ ปากกาเขียนคำนวณเป็ นอันขาด


ใบความรู้ที่ 2.9

ความคล้ าย

สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน

ถ้ ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรง


ข้ ามกับมุมที่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน

ตัวอย่าง กำหนดให้  ABC และ DBE มี C และ E เป็ นมุมฉาก


CB = 3 , BE = 1 ED = 2 จงความยาวของ AC และ AB

1 E
C 3 B 2

ดังนัน้  BDE  BD2 = BE2 + DE2


BD2 = 12 + 22
BD =

เนื่องจาก  ABC  BED และ

 AC = 6
และ

AB = 3 X
 AB = 3 X 2.236 = 6.708 ตอบ

ใบกิจกรรมที่ 2.9
คำสัง่ ให้ นกั เรียนแสดงวิธีทำเพื่อหาคำตอบที่ถกู ต้ อง

จงหาค่าของตัวแปรจากรูป
1. B

D
25
X กำหนดให้ ABC  CDE

A E 8 C
20
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2. B

7 16

y 24
A E C
8 6
F

ABC =  AFE , BAC = AEF และ ABC   EFA


กำหนดให้ 
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

3. A

15 20
D
6 y

B E x F C
10

กำหนดให้  ABC   DEF

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………..
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
( 33101)
กลุม่ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน ค ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 ครูผ้ บู นั ทึก นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า วัน
่ ……..เดือน………………………..พ.ศ……….
ที…
ครัง้ ที่…………ปี การศึกษา………………………… .
รายการประเมิน สรุปผลการประเมิน

เลข
ประจำ
ที่ ตัว

ความซื่อสัตย์และทำงานเสร็ จทันเวลา
ผ่าน ไม่ผา่ น

ความมีเหตุผลและเชื่อมัน่ ในตนเอง
ชื่อ - นามสกุล
รวม

เข้ าร่วมกิจกรรมด้ วยความสนใจ


ความมีระเบียบรอบคอบ
ความเพียรพยายาม
ความสนใจใฝ่ รู้

5 5 5 5 5 5 30

แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน


(ค 33101) ช่วงชันที้ ่ 3 ชันมั้ ธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่วยการเรียนที่ 2 เรื่อง ความคล้ าย จำนวน 15 ชัว่ โมง
26 เรื่อง สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน จำนวน 1 ชัว่ โมง
แผนการเรียนรู้ที่
………………………………………………………………………………………………………
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้ การนึกภาพ ใช้ เหตุผลเกี่ยวกับปริภมู ิและใช้ แบบจำลองทางเรขาคณิตใน
การแก้ ปัญหาได้
1. สาระสำคัญ
รูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกัน อัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรงข้ ามกับมุมที่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 จุดประสงค์ปลายทาง
2.1.1 สามารถบอกได้ วา่ สมบัติของการคล้ ายกันของรูปสามเหลี่ยมและบอกเงื่อนไขที่ท ำให้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ ายกันได้
2.2 จุดประสงค์นำทาง
2.2.1 สามารถบอกสมบัติของการคล้ ายกันของรูปสามเหลี่ยมได้
2.2.2 สามารถบอกเงื่อนไขที่ทำให้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ ายกันได้

3. สาระการเรียนรู้
ความคล้ าย
- สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน ต่อ ( )

4. กิจกรรมการเรียนรู้
7.1 ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนนิยามและสมบัตขิ องรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน ว่า " ถ้ า
รูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรงข้ ามกับมุมที่ มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน " นักเรียนสรุปเงื่อนไขที่
ทำให้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปคล้ ายกัน
4.2 นักเรียนแบ่งกลุม่ ออกเป็ นกลุม่ ละ 4-5 2.10 และใบกิจกรรมที่
คน ศึกษาใบความรู้ที่
2.10 เมื่อนักเรียนศึกษาเป็ นที่เข้ าใจดีแล้ วให้ ทำตามใบกิจกรรมที่ 2.10 แล้ วเตรียมนำ
้ ยน โดยส่งตัวแทนของกลุม่ ออกมารายงานกลุม่ ละ 2 คน ใช้ เวลาไม่เกิน
เสนอหน้ าชันเรี
กลุม่ ละ 15 นาที และทำแบบฝึ กในใบกิจกรรม เสร็จแล้ วเปลี่ยนกันตรวจภายกลุม่ ส่ง
ผลคะแนนให้ ครูเพื่อลงบันทึกผลการประเมินในแบบบันทึก ครูนำเสนอตัวอย่างเพิ่มเติมให้
แก่นกั เรียน ดังนี ้

ตัวอย่าง จากรูป ถ้ ากำหนดให้ AD = AB และ AB = 41 และ EC = 4.5


หน่วย จงหาระยะ AC

B
D

C E A

หาความยาวของ AD เมื่อ AD = AB
แทนค่า AB = 41 ดังนัน้ AD = X 41
 AD = 27.33 หน่วย
4.3 ให้ นกั เรียนช่วยกันทำปั ญหาชวนคิดและทำแบบฝึ กหัดคณิตสาสตร์ ในหนังสือแบบเรียน
คณิตศาสตร์ ชัน้ ม .3 แล้ วส่งตรวจในชัว่ โมงต่อไป

5. . สื่อและแหล่งเรียนรู้
5.1 ใบความรู้ที่ 2.10 และใบกิจกรรมที่ 2.10
5.2 แหล่งเรียนรู้ในชุมชนหรือท้ องถิ่น
5.3 ห้ องสมุด
5.4 หนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชัน้ ม.3
5.5 ปั ญหาชวนคิด

6. การวัดและประเมินผล
6.1 สังเกตการทำงานร่วมกันเป็ นกลุม่
6.2 ตรวจผลงานตามสภาพจริง
6.3 สัมภาษณ์และบันทึกในแบบบันทึก
6.4 แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน

7. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………………..
(…………………………………….)
ตำแหน่ง…………………………………………..
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ปั ญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)…………………………………….ผู้สอน
( นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า )
ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้ านลาดใหญ่

ปั ญหาชวนคิด

ให้ นกั เรียนเติมตัวเลข 1-7 ลงในวงกลม ให้ ผลรวมในแนวตัง้ แนวนอน และแนวทแยงเท่ากับ 12

ใบความรู้ที่ 2.10
ความคล้ าย

สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน

ถ้ ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกันอัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรง


ข้ ามกับมุมที่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน

ตัวอย่าง จากรูป ถ้ ากำหนดให้ AD = AB และ AB = 41 และ EC = 4.5


หน่วย จงหาระยะ AC

B
D

C E A

หาความยาวของ AD เมื่อ AD = AB
แทนค่า AB = 41 ดังนัน้ AD = X 41
 AD = 27.33 หน่วย

ใบกิจกรรมที่ 2.10
คำสัง่ ให้ นกั เรียนแสดงวิธีทำหาคำตอบที่ถกู ต้ อง

จงหาค่าของตัวแปร จากรูปต่อไปนี ้
1.
B 10 C

24 5 y
x E
A 30 D

กำหนดให้  ABD =  BXC , BAD =  BCE ,  ABD   CEB

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

2. A
a b
B c C
6 9

D 12 E
E d
F 18 G

AF = 15 และ AG = 21 จงหาความยาวของ a , b , c ,d และ e

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
( 33101)
กลุม่ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน ค ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 ครูผ้ บู นั ทึก นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า วัน
่ ……..เดือน………………………..พ.ศ……….
ที…
ครัง้ ที่…………ปี การศึกษา………………………… .
รายการประเมิน สรุปผลการประเมิน

เลข
ประจำ
ที่ ตัว
ความซื่อสัตย์และทำงานเสร็ จทันเวลา

ผ่าน ไม่ผา่ น
ความมีเหตุผลและเชื่อมัน่ ในตนเอง

ชื่อ - นามสกุล
รวม
เข้ าร่ วมกิจกรรมด้ วยความสนใจ
ความมีระเบียบรอบคอบ
ความเพียรพยายาม
ความสนใจใฝ่ รู้

5 5 5 5 5 5 30
แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน
(ค 33101) ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั้ ธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่2 เรื่อง ความคล้าย จำนวน 15 ชัว่ โมง
แผนการเรียนรู้ที่ 27 เรื่อง การนำไปใช้ จำนวน 1 ชัว่ โมง
………………………………………………………………………………………………………
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้ การนึกภาพ ใช้ เหตุผลเกี่ยวกับปริภมู ิ และใช้ แบบจำลองทางเรขาคณิตใน
การแก้ ปัญหาได้
1. สาระสำคัญ
ถ้ ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกัน อัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรงข้ ามกับมุมคูท่ ี่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน
การนำไปใช้ ใช้ หาความสูงและความกว้ างของสิ่งต่างๆ โดยใช้ อตั ราส่วนระหว่างความยาวของด้ านเป็ นหลักในการคำนวณ

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 จุดประสงค์ปลายทาง
2.1.1 ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันในการให้ เหตุผลและแก้ ปัญหาได้
2.2 จุดประสงค์นำทาง
2.2.1 สามารถใช้ สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้ ายกันในการให้ เหตุผลและแก้ ปัญหาได้

3. สาระการเรียนรู้
ความคล้ าย
- การนำไปใช้

4. กิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ครูและนักเรียนทบทวนสมบัตขิ องรูปสามเหลี่ยมคล้าย และนักเรียนสร้ างรูปสามเหลี่ยมมุมฉากด้ วยกระดาษแข็งแล้ วนำไปหาความสูงของสิ่ง
ต่างๆ
4.2 นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 2.11 และใบกิจกรรมที่ 2.11 ในใบกิจกรรมแจ้ งไว้ ดงั นี ้
กลุม่ ที่ 1 วัดความสูงของต้ นมะพร้ าวในสวนเกษตรของโรงเรียน
กลุม่ ที่ 2 วัดความสูงของต้ นสักหน้ าโรงเรียน
กลุม่ ที่ 3 วัดความสูงของอาคารเรียนมัธยม
กลุม่ ที่ 4 วัดความสูงของเสาธงของโรงเรียน
กลุม่ ที่ 5 วัความสูงของหอ กระจายเสียงของโรงเรียน
แต่ละกลุม่ ดำเนินการตามคำส่งในใบกิจกรรม เมื่อดำเนินการเสร็จแล้ วให้ แต่ละกลุม่ ส่งตัวแทนรายงานหน้ าชันเรี
้ ยนให้ กลุม่ อื่นได้ รับทราบด้ วย
และส่งแบบรายงานให้ ครูเพื่อนำไปประเมินผลแล้ วบันทึกลงในแบบบันทึกการประเมิน
4.3 ครูยกตัวอย่างการหาความสูงให้ นกั เรียนได้ ร่วมกันพิจารณา อีกครัง้ หนึง่ ดังนี ้
การหาความสูงและความกว้ างของสิ่งต่างๆ จะใช้ อตั ราส่วนระหว่างความยาวของด้ าน เป็ นหลักในการคำนวณ เช่น ต้ องการ
หาความสูงของต้ นไม้ ความสูงของตึก ความกว้ างของแม่น้ำ ความสูงของเสาไฟฟ้า ความสูงของเสาโทรทัศน์ เป็ นต้ น
ตัวอย่าง จากรูป จงหาความสูงของต้ นไม้ ( DE เป็ นความสูงของต้ นไม้ )

15 ซม.

E C 30 ซม. A

20 เมตร

ต้ องการหาวามสูงของต้ นไม้
จากรูป สามเหลี่ยม ABC คล้ ายกับสามเหลี่ยม ADE เมื่อทราบความยาวของด้ านของสามเหลี่ยม ABC และ ทราบ
ความยาวของ AE ซึง่ เราสามารถวัดได้ ก็คำนวณหาความสูงของต้ นไม้ นี ้ได้
จากรูป = 30 . , ซม = 15 ซม . , = 20 เมตร
จากสมบัตขิ องรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน จะได้

ดังนัน้ ต้ นไม้ สงู 10 เมตร ตอบ

4.4 นักเรียนช่วยกันทำปั ญหาชวนคิดและทำแบบฝึ กหัดในหนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชัน้ ม .3 แล้ วนำส่งในชัว่ โมงต่อไป

5. สื่อและแหล่งเรียนรู้
5.1 กระดาษแข็ง / กรรไกร
5.2 ใบความรู้ที่ 2.11 และใบกิจกรรมที่ 2.11
5.3 แหล่งเรียนรู้ในชุมชนหรือท้ องถิ่น
5.4 ห้ องสมุดและหนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชัน้ ม.3
5.5 ปั ญหาชวนคิด

6. การวัดและประเมินผล
6.1 สังเกตการทำงานร่วมกันเป็ นกลุม่
6.2 ตรวจผลงานตามสภาพจริง
6.3 สัมภาษณ์และบันทึกในแบบบันทึกการประเมิน
6.4 แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน

7. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………………..
(…………………………………….)
ตำแหน่ง…………………………………………..
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ปั ญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

(ลงชื่อ)…………………………………….ผู้สอน
( นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า )
ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้ านลาดใหญ่

ปั ญหาชวนคิด

ในงานกินเลี ้ยงวันเกิดเศรษฐี ผ้ หู นึง่ เขาได้ เชิญคุณธงชัยซึง่ เป็ นเพื่อนสนิทมาร่วมงาน เมื่อวันวานผู้ที่มาตอนกลางวัน คือ พี่ชาย น้ องชาย พี่สาว
น้ องสาว ลูกของน้ องสาวและพี่สาวรวมทัง้ ลูกชายของลูกพี่ลกู น้ อง ส่วนผู้ที่มาเมื่อคืนคือลูกสะใภ้ และหลานๆ อาผู้ชายและภรรยาของทังสอง ้ คน
อยากทราบว่าใครเป็ นผู้มาในตอนเช้ าของวันนี ้

ใบความรู้ที่ 2.11
ความคล้ าย
การนำไปใช้

การหาความสูงและความกว้ างของสิ่งต่างๆ จะใช้ อตั ราส่วนระหว่างความยาวของด้ าน เป็ นหลักในการคำนวณ เช่น ต้ องการหาความสูงของต้ นไม้
ความสูงของตึก ความกว้ างของแม่น้ำ ความสูงของเสาไฟฟ้า ความสูงของเสาโทรทัศน์ เป็ นต้ น

ตัวอย่าง จากรูป จงหาความสูงของต้ นไม้ ( DE เป็ นความสูงของต้ นไม้ )

15 ซม.

E C 30 ซม. A

20 เมตร

ต้ องการหาวามสูงของต้ นไม้
จากรูป สามเหลี่ยม ABC คล้ ายกับสามเหลี่ยม ADE เมื่อทราบความยาวของด้ านของสามเหลี่ยม ABC และ ทราบ
ความยาวของ AE ซึง่ เราสามารถวัดได้ ก็คำนวณหาความสูงของต้ นไม้ นี ้ได้
จากรูป = 30 . , ซม = 15 ซม . , = 20 เมตร
จากสมบัตขิ องรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน จะได้

ดังนัน้ ต้ นไม้ สงู 10 เมตร ตอบ


ใบกิจกรรมที่ 2.11
คำสัง่ ให้ นกั เรียนแสดงวิธีทำเพื่อหาคำตอบที่ถกู ต้ อง

1. ชายคนหนึง่ ยืนอยู่ใกล้ เสาธงต้ นหนึง่ เห็นเงาของตัวเองและเงาของเสาธง จึงให้ เพื่อนช่วยวัดความยาวของเงา ปรากฏว่าเงาของตัวเองยาว 2


เมตร เงาของเสาธงยาว 15 เมตร ชายคนนี ้สูง 164 เซนติเมตร เสาธงสูงเท่าไร

x
164cm

15m 2m

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………….

2. ไม้ เมตรอันหนึง่ ปั กภายใต้ เงาของเสาต้ นหนึง่ ซึง่ จุดปลายของเงาทังเสาและไม้


้ เมตรอยู่ตรงกัน ถ้ าเงาของไม้ เมตรแบะเสาเท่ากับ 160
เซนติเมตร และ 280 เซนติเมตรตามลำดับ จงหาความสูงของเสา

ไม้ เมตร เสา


160
280

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
( 33101)
กลุม่ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน ค ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 ครูผ้ บู นั ทึก นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า วัน
่ ……..เดือน………………………..พ.ศ……….
ที…
ครัง้ ที่…………ปี การศึกษา………………………… .
รายการประเมิน สรุปผลการประเมิน

เลข
ประจำ
ที่ ตัว

ความซื่อสัตย์และทำงานเสร็จทันเวลา
ผ่าน ไม่ผา่ น

ความมีเหตุผลและเชื่อมัน่ ในตนเอง
ชื่อ - นามสกุล
รวม

เข้ าร่วมกิจกรรมด้ วยความสนใจ


ความมีระเบียบรอบคอบ
ความเพียรพยายาม
ความสนใจใฝ่ รู้

5 5 5 5 5 5 30

แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน


(ค 33101) ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่2 เรื่อง ความคล้าย จำนวน 15 ชัว่ โมง
แผนการเรียนรู้ที่ 28 เรื่อง การนำไปใช้ จำนวน 1 ชัว่ โมง
………………………………………………………………………………………………………
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้ การนึกภาพ ใช้ เหตุผลเกี่ยวกับปริภมู ิ และใช้ แบบจำลองทางเรขาคณิตใน
การแก้ ปัญหาได้
1. สาระสำคัญ
ถ้ ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกัน อัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรงข้ ามกับมุมคูท่ ี่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน
การนำไปใช้ ใช้ หาความสูงและความกว้ างของสิ่งต่างๆ โดยใช้ อตั ราส่วนระหว่างความยาวของด้ านเป็ นหลักในการคำนวณ

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 จุดประสงค์ปลายทาง
2.1.1 นักเรียนสามารถใช้ สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกันในการให้ เหตุผลและแก้ ปัญหาได้
2.2 จุดประสงค์นำทาง
2.2.1 นักเรียนสามารถใช้ สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกันในการให้ เหตุผลและแก้ ปัญหาได้

3. สาระการเรียนรู้
ความคล้ าย
- ( )
การนำไปใช้ ต่อ

4. กิจกรรมการเรียนรู้
5.1 ครูนำแผนภูมิโจทย์ตวั อย่างให้ นกั เรียนช่วยกันพิจารณาในการหาความยาวของสิ่งที่
โจทย์ถาม ดังนี ้
การหาความสูงและความกว้ างของสิ่งต่างๆ จะใช้ อตั ราส่วนระหว่างความยาวของด้ าน เป็ นหลักในการคำนวณ เช่น ต้ องการหาความสูงของ
ต้ นไม้ ความสูงของตึก ความกว้ างของแม่น้ำ ความสูงของเสาไฟฟ้า ความสูงของเสาโทรทัศน์ เป็ นต้ น

ตัวอย่าง ชายผู้หนึง่ ต้ องการหาระยะทางระหว่างจุด P Q ซึง่ อยู่คนละข้ างของแอ่งน้ำแห่งหนึง่ เขาจึงสร้ าง


และจุด ขนานกับ
และ ให้ ตดั กันที่จดุ R ดังรูป จากนันวั
้ ดระยะ ST ,RS และ QR ได้ ยาว 22 , 20.3 และ 60.9
เมตร ตามลำดับ ชายผู้นี ้หาระยะ PQ ได้ ยาวเท่าใด

แอ่งน้ำ
P Q

R 60.9
20.3
S 22 T

วิธีทำ จากโจทย์ จะได้ วา่  PQR  TSR


เพราะ RPQ  RTS ( มุมแย้ งที่เกิดจากเส้ นตัดเส้ นขนานมีขนาด
เท่ากัน )
RQP  RST ( มุมแย้ งที่เกิดจากเส้ นตัดเส้ นขนานมีขนาด
เท่ากัน )
PRQ  TRS ( เส้ นตรงสองเส้ นตัดกันมุมตรงข้ ามมีขนาด
เท่ากัน )
ดังนัน้

แทนค่า TS = 22 , QR = 60.9 , SR = 20.3


ดังนัน้

 PQ = 66
นัน่ คือ ชายผู้นี ้หาระยะ PQ ได้ ยาว 66 เมตร ตอบ

5.2 นักเรียนเมื่อช่วยกันพิจารณาก็ร้ ูวา่ แนวทางในการหาความยาวของสิ่งที่โจทย์ถามว่าเป็ นแนวทางแบบ ใด และเราจะเลือกใช้ แบบใดดี


5.3 นักเรียนนำใบความรู้ที่ 2.12 และใบกิจกรรมที่ 2.12 ศึกษาเพิ่มเติม เมื่อศึกษาจนเป็ นที่เข้ าใจดีแล้วจึงร่วมกันทำใบกิจกรรม
และนำเสนอผลการหาความยาวของสิ่งที่โจทย์ถามหน้ าชันเรี
้ ยน
5.4 นักเรียนช่วยกันทำปั ญหาชวนคิดและทำแบบฝึ กหัดในหนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.3 แล้ วนำส่งในชัว่ โมงต่อไป

5. สื่อและแหล่งเรียนรู้
5.1 แผนภูมิแสดงโจทย์ตวั อย่าง
5.2 ใบความรู้ที่ 2.12 และใบกิจกรรมที่ 2.12
5.3 แหล่งเรียนรู้ในชุมชนหรือท้ องถิ่น
5.4 ห้ องสมุด
5.5 หนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ชนั ้ ม. 3
5.6 ปั ญหาชวนคิด

6. การวัดและประเมินผล
6.1 สังเกตการทำงานร่วมกันเป็ นกลุม่
6.2 ตรวจผลงานตามสภาพจริง
6.3 สัมภาษณ์และบันทึกในแบบบันทึกการประเมิน
6.4 แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน

7. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………………..
(…………………………………….)
ตำแหน่ง…………………………………………..
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ปั ญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

(ลงชื่อ)…………………………………….ผู้สอน
( นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า )
ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้ านลาดใหญ่

ปั ญหาชวนคิด

ให้ นกั เรียนนำเลข 8 ทังหมด


้ 8 จำนวนมารวมกันให้ ผลรวมเท่ากับ 1,000 ไม่ทราบว่าจะเรียงกันอย่างไร จึงจะมี
ผลรวมตามต้ องการ
ใบความรู้ที่ 2.12

ความคล้ าย

การนำไปใช้

การหาความสูงและความกว้ างของสิ่งต่างๆ จะใช้ อตั ราส่วนระหว่างความยาวของด้ าน เป็ นหลักในการคำนวณ เช่น ต้ องการหาความสูงของต้ นไม้
ความสูงของตึก ความกว้ างของแม่น้ำ ความสูงของเสาไฟฟ้า ความสูงของเสาโทรทัศน์ เป็ นต้ น
ตัวอย่าง ชายผู้หนึง่ ต้ องการหาระยะทางระหว่างจุด P Q ซึง่ อยู่คนละข้ างของแอ่งน้ำแห่งหนึง่ เขาจึงสร้ าง
และจุด ขนานกับ
และ ให้ ตดั กันที่จดุ R ดังรูป จากนันวั
้ ดระยะ ST ,RS และ QR ได้ ยาว 22 , 20.3 และ 60.9
เมตร ตามลำดับ ชายผู้นี ้หาระยะ PQ ได้ ยาวเท่าใด

แอ่งน้ำ
P Q

R 60.9
20.3
S 22 T

วิธีทำ จากโจทย์ จะได้ วา่  PQR  TSR


เพราะ RPQ  RTS ( มุมแย้ งที่เกิดจากเส้ นตัดเส้ นขนานมีขนาด
เท่ากัน )
RQP  RST ( มุมแย้ งที่เกิดจากเส้ นตัดเส้ นขนานมีขนาด
เท่ากัน )
PRQ  TRS ( เส้ นตรงสองเส้ นตัดกันมุมตรงข้ ามมีขนาด
เท่ากัน )
ดังนัน้

แทนค่า TS = 22 , QR = 60.9 , SR = 20.3


ดังนัน้

 PQ = 66
นัน่ คือ ชายผู้นี ้หาระยะ PQ ได้ ยาว 66 เมตร ตอบ
ใบกิจกรรมที่ 2.12
คำสัง่ ให้ นกั เรียนแสดงวิธีทำเพื่อหาคำตอบที่ถกู ต้ อง

1. สุวรรณีไปเที่ยวริมแม่น้ำสายหนึง่ และอยากทราบว่าแม่น้ำสายนี ้กว้ างกี่เมตร จึงใช้ หลักแลต้ นไม้ ที่อยู่อีกฝั่ งหนึง่ สร้ างสามเหลี่ยมNOP และ
สร้ างสามเหลี่ยมLMN ให้ คล้ ายสามเหลี่ยม NOP สุวรรณีข้ามแม่น้ำไปวัดความยาวของ ไม่ได้ จึงวัด ได้ ยาว 50 เมตร
วัดด้ านของสามเหลี่ยม LMN ได้ เท่ากับ 13 เมตร และวัด เท่ากับ 7 เมตร

O P
แม่น้ำ
N Q
7m 50 m
L 13 m M

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………..

2. จากรูป ลำคลองนี ้กว้ างเท่าไร

P E
ลำคลอง
C F
4m 20m
A 5m B

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
( 33101)
กลุม่ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน ค ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 ครูผ้ บู นั ทึก นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า วัน
่ ……..เดือน………………………..พ.ศ……….
ที…
ครัง้ ที่…………ปี การศึกษา………………………… .
รายการประเมิน สรุปผลการประเมิน
เลข
ประจำ

ความซื่อสัตย์และทำงานเสร็จทันเวลา
ที่ ตัว ผ่าน ไม่ผา่ น

ความมีเหตุผลและเชื่อมัน่ ในตนเอง

เข้ าร่วมกิจกรรมด้ วยความสนใจ


ชื่อ - นามสกุล
รวม

ความมีระเบียบรอบคอบ
ความเพียรพยายาม
ความสนใจใฝ่ รู้
5 5 5 5 5 5 30

แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน


(ค 33101) ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั้ ธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่2 เรื่อง ความคล้ าย จำนวน 15 ชัว่ โมง
แผนการเรียนรู้ที่ 29
เรื่อง การนำไปใช้ ชัว่ โมง จำนวน 1
………………………………………………………………………………………………………
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้ การนึกภาพ ใช้ เหตุผลเกี่ยวกับปริภมู ิและใช้ แบบจำลองทางเรขาคณิตใน
การแก้ ปัญหาได้
1. สาระสำคัญ
ถ้ ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกัน อัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรงข้ ามกับมุมคูท่ ี่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน
การนำไปใช้ ใช้ หาความสูงและความกว้ างของสิ่งต่างๆ โดยใช้ อตั ราส่วนระหว่างความยาวของด้ านเป็ นหลักในการคำนวณ
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 จุดประสงค์ปลายทาง
2.1.1 นักเรียนสามารถใช้สมบัตขิ องรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกันในการให้ เหตุผลและแก้ ปัญหา
ได้
2.2 จุดประสงค์นำทาง
2.2.1 นักเรียนสามารถใช้ สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกันในการให้ เหตุผลและแก้ ปัญหาได้

3. สาระการเรียนรู้
ความคล้ าย
- การนำไปใช้ ต่อ( )

4. กิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ครูนำแผนภูมิโจทย์ตวั อย่างให้ นกั เรียนช่วยกันพิจารณาในการหาความยาวของสิ่งที่โจทย์ถาม
การหาความสูงและความกว้ างของสิ่งต่างๆ จะใช้ อตั ราส่วนระหว่างความยาวของด้ าน เป็ นหลักในการคำนวณ เช่น ต้ องการหาความสูงของ
ต้ นไม้ ความสูงของตึก ความกว้ างของแม่น้ำ ความสูงของเสาไฟฟ้า ความสูงของเสาโทรทัศน์ เป็ นต้ น

ตัวอย่าง บันไดยาว 4 เมตร พาดอยู่กบั ผนังตึก เมื่อช่างทาสีขึ ้นบันไดไปได้ ของ


บันไดเขาทำแปรงทาสีตก ถ้ าจุดที่แปรงทาสีตกลงมาถูกพื ้นดินห่างจากผนังตึก
1.2 เมตร จงหาว่าเชิงบันไดอยู่ห่างจากผนังตึกประมาณเท่าไร
วิธีทำ สมมติวา่ ให้ เชิงบันไดห่างจากผนังตึก X เมตร
ดังนัน้ จุดที่แปรงทาสีตกห่างจากเชิงบันได X - 1.2 เมตร
เนื่องจากบันไดยาว 4 เมตร

ดังนัน้ ของบันได = เมตร

จากคุณสมบัตขิ องสามเหลี่ยมคล้ าย

1.6X = 4(X-1.2)

1.6X = 4X - 4.8
X 2.4X = 4.8
X = 2
ดังนัน้ เชิงบันไดอยู่ห่างจากผนังตึก 2 เมตร ตอบ

4.2 นักเรียนเมื่อช่วยกันพิจารณาก็ร้ ูวา่ แนวทางในการหาความยาวของสิ่งที่โจทย์ถามว่าเป็ นแนวทางแบบใด และเราจะเลือกใช้ แบบใดดี


4.3 นักเรียนนำใบความรู้ที่ 2.13
และใบกิจกรรมที่ 2.13 ศึกษาเพิ่มเติม เมื่อศึกษาจนเป็ นที่เข้ าใจดีแล้ วจึงร่วมกันทำใบกิจกรรม
และนำเสนอผลการหาความยาวของสิ่งที่โจทย์ถามหน้ าชันเรี
้ ยน
4.4 นักเรียนช่วยกันทำปั ญหาชวนคิดและทำแบบฝึ กหัดในหนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.3 แล้ วนำส่งในชัว่ โมงต่อไป
5. สื่อและแหล่งเรียนรู้
5.1 แผนภูมิแสดงโจทย์ตวั อย่าง
5.2 ใบความรู้ที่ 2.13 และใบกิจกรรมที่ 2.13
5.3 แหล่งเรียนรู้ในชุมชนหรือท้ องถิ่น
5.4 ห้ องสมุด
5.5 หนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ชนั ้ ม. 3
5.6 ปั ญหาชวนคิด
6. การวัดและประเมินผล
6.1 สังเกตการทำงานร่วมกันเป็ นกลุม่
6.2 ตรวจผลงานตามสภาพจริง
6.3 สัมภาษณ์และบันทึกในแบบบันทึกการประเมิน
6.4 แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน

7. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………………..
(…………………………………….)
ตำแหน่ง…………………………………………..
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ปั ญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

(ลงชื่อ)…………………………………….ผู้สอน
( นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า )
ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้ านลาดใหญ่

ปั ญหาชวนคิด

ปลาทองซึง่ ทำจากก้ านไม้ ขีดตัวหนึง่ หันหัวลงข้ างล่าง ให้ นกั เรียนย้ ายก้ านไม้ ขดี 2 ก้ าน โดยให้ หนั หัวไปทางขวา จะย้ ายอย่างไรและอย่าลืมย้ าย
ตาปลาไปด้ วย
ใบความรู้ที่ 2.13
ความคล้ าย

การนำไปใช้

การหาความสูงและความกว้ างของสิ่งต่างๆ จะใช้ อตั ราส่วนระหว่างความยาวของด้ าน เป็ นหลักในการคำนวณ เช่น ต้ องการหาความสูงของต้ นไม้
ความสูงของตึก ความกว้ างของแม่น้ำ ความสูงของเสาไฟฟ้า ความสูงของเสาโทรทัศน์ เป็ นต้ น

ตัวอย่าง บันไดยาว 4 เมตร พาดอยู่กบั ผนังตึก เมื่อช่างทาสีขึ ้นบันไดไปได้ ของ


บันไดเขาทำแปรงทาสีตก ถ้ าจุดที่แปรงทาสีตกลงมาถูกพื ้นดินห่างจากผนังตึก
1.2 เมตร จงหาว่าเชิงบันไดอยู่ห่างจากผนังตึกประมาณเท่าไร
วิธีทำ สมมติวา่ ให้ เชิงบันไดห่างจากผนังตึก X เมตร
ดังนัน้ จุดที่แปรงทาสีตกห่างจากเชิงบันได X - 1.2 เมตร
เนื่องจากบันไดยาว 4 เมตร

ดังนัน้ ของบันได = เมตร

จากคุณสมบัตขิ องสามเหลี่ยมคล้ าย

1.6X = 4(X-1.2)

1.6X = 4X - 4.8
X 2.4X = 4.8
X = 2
ดังนัน้ เชิงบันไดอยู่ห่างจากผนังตึก 2 เมตร ตอบ

ใบกิจกรรมที่ 2.13
คำสัง่ ให้ แสดงวิธีทำเพื่อหาคำตอบที่ถกู ต้ อง

1. ชายคนหนึง่ ยืนอยู่ห่างจากเสาไฟฟ้าทีส่ งู 9 เมตร เป็ นระยะทาง 10.4 เมตร เขาสังเกตเห็นเงาของตัวเองซึง่ เกิดจากดวงไฟฟ้าปลายเสา


ทอดไปยาว 2.6 เมตร จงหาความสูงของชายคนนี ้

9 X

10.4 2.6

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

2. สมบัติเงยหน้ าขึ ้นไปมองเห็นบอลลูนอยู่ตรงแนวเดียวกับยอดไม้ พอดี ถ้ าสมบัติสงู 1.6 เมตร อยู่ห่างจากต้ นไม้ 2 เมตร และต้ นไม้ สงู 4.6
เมตร ถ้ าระยะระหว่างสมบัติกบั แนวดิ่งของบอลลูนห่างกัน 100 เมตร บอลลูนจะอยู่ห่างจากพื ้นดินกี่เมตร

1.6

2
100

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
( 33101)
กลุม่ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน ค ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 ครูผ้ บู นั ทึก นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า วัน
่ ……..เดือน………………………..พ.ศ……….
ที…
ครัง้ ที่…………ปี การศึกษา………………………… .
รายการประเมิน สรุปผลการประเมิน

เลข
ประจำ
ที่ ตัว

ความซื่อสัตย์และทำงานเสร็ จทันเวลา
ผ่าน ไม่ผา่ น

ความมีเหตุผลและเชื่อมัน่ ในตนเอง
ชื่อ - นามสกุล
รวม

เข้ าร่ วมกิจกรรมด้ วยความสนใจ


ความมีระเบียบรอบคอบ
ความเพียรพยายาม
ความสนใจใฝ่ รู้

5 5 5 5 5 5 30

แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน


(ค 33101) ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความคล้ าย จำนวน 15 ชัว่ โมง
แผนการเรียนรู้ที่ 30
เรื่อง การนำไปใช้ จำนวน ชัว่ โมง 1
………………………………………………………………………………………………………
สาระที่ 3 เรขาคณิต
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้ การนึกภาพ ใช้ เหตุผลเกี่ยวกับปริภมู ิและใช้ แบบจำลงทางเรขาคณิตใน
การแก้ ปัญหาได้
1. สาระสำคัญ
ถ้ ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกัน อัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรงข้ ามกับมุมคูท่ ี่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน
การนำไปใช้ ใช้ หาความสูงและความกว้ างของสิ่งต่างๆ โดยใช้ อตั ราส่วนระหว่างความยาวของด้ านเป็ นหลักในการคำนวณ

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 จุดประสงค์ปลายทาง
2.1.1 นักเรียนสามารถใช้ สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกันในการให้ เหตุผลและแก้
ปั ญหาได้
2.2 จุดประสงค์นำทาง
2.2.1 สามารถใช้ สมบัตขิ องรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกันในการให้ เหตุผลและแก้ ปัญหาได้

3. สาระการเรียนรู้
ความคล้ าย
- ( )
การนำไปใช้ ต่อ

4. กิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ครูนำแผนภูมิโจทย์ตวั อย่างให้ นกั เรียนช่วยกันพิจารณาในการหาความยาวของสิ่งที่โจทย์ถาม ดังนี ้
การหาความสูงและความกว้ างของสิ่งต่างๆ จะใช้ อตั ราส่วนระหว่างความยาวของด้ าน เป็ นหลักในการคำนวณ เช่น ต้ องการหาความสูง
ของต้ นไม้ ความสูงของตึก ความกว้ างของแม่น้ำ ความสูงของเสาไฟฟ้า ความสูงของเสาโทรทัศน์ เป็ นต้ น

ตัวอย่าง จากรูป ลำคลองนี ้มีความกว้ างเท่าไร

D E
เหว
20 ม
C. F
4ม
A 5 ม. B
จากสมบัติรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน

จะได้

ดังนัน้ ลำคลองกว้ าง 16 เมตร ตอบ


4.2 นักเรียนเมื่อช่วยกันพิจารณาก็ร้ ูวา่ แนวทางในการหาความยาวของสิ่งที่โจทย์ถามว่าเป็ นแนวทางแบบ ใด และเราจะเลือกใช้ แบบใดดี
4.3 นักเรียนนำใบความรู้ที่ 2.14
และใบกิจกรรมที่ 2.14 ศึกษาเพิ่มเติม เมื่อศึกษาจนเป็ นที่เข้ าใจดีแล้ วจึงร่วมกันทำใบกิจกรรม
และนำเสนอผลการหาความยาวของสิ่งที่โจทย์ถามหน้ าชันเรี
้ ยน
4.4 นักเรียนช่วยกันทำปั ญหาชวนคิดและทำแบบฝึ กหัดในหนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ม .3 แล้ วนำส่งในชัว่ โมงต่อไป

5. สื่อและแหล่งเรียนรู้
5.1 แผนภูมิแสดงโจทย์ตวั อย่าง
5.2 ใบความรู้ที่ 2.14 และใบกิจกรรมที่ 2.14
5.3 แหล่งเรียนรู้ในชุมชนหรือท้ องถิ่น
5.4 ห้ องสมุด
5.5 หนังสือแบบเรียนคณิตศาสตร์ ชนั ้ ม .3
5.6 ปั ญหาชวนคิด

6. การวัดและประเมินผล
6.1 สังเกตการทำงานร่วมกันเป็ นกลุม่
6.2 ตรวจผลงานตามสภาพจริง
6.3 สัมภาษณ์และบันทึกในแบบบันทึกการประเมิน
6.4 แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน

7. กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………………..
(…………………………………….)
ตำแหน่ง…………………………………………..
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ปั ญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

(ลงชื่อ)…………………………………….ผู้สอน
( นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า )
ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้ านลาดใหญ่

ปั ญหาชวนคิด
จากกรุงเทพฯถึงลพบุรี มีถนนทีส่ ามารถใช้ ความเร็วสูงสายหนึง่ รถแข่งคันหนึง่ ใช้ ความเร็ว 200 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง จากกรุงเทพฯ ถึง

ลพบุรี ขณะเดียวกันรถอีกคันหนึง่ เดินทางจากลพบุรีถึงกรุงเทพฯใช้ อตั ราเร็ว 150 กิโลเมตรชัว่ โมง นอกจากอัตราเร็วแล้ วเงื่อนไขอย่างอื่น

เหมือนกัน เมื่อรถ 2 คันนี ้มาพบกัน อยากทราบว่า รถคันไหนอยู่ห่างจากกรุงเทพมากกว่ากัน

ลพบุรี จุดนัดพบ กรุงเทพฯ

ใบความรู้ที่ 2.14
ความคล้ าย

การนำไปใช้

การหาความสูงและความกว้ างของสิ่งต่างๆ จะใช้ อตั ราส่วนระหว่างความยาวของด้ าน เป็ นหลักในการคำนวณ เช่น ต้ องการหาความสูงของต้ นไม้
ความสูงของตึก ความกว้ างของแม่น้ำ ความสูงของเสาไฟฟ้า ความสูงของเสาโทรทัศน์ เป็ นต้ น

ตัวอย่าง จากรูป ลำคลองนี ้มีความกว้ างเท่าไร


D E
เหว

C. 20 ม F
4ม
A 5 ม. B
จากสมบัติรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกัน

จะได้

ดังนัน้ ลำคลองกว้ าง 16 เมตร ตอบ

ใบกิจกรรมที่ 2.14
คำสัง่ ให้ แสดงวิธีทำเพื่อหาคำตอบที่ถกู ต้ อง

1. วิทย์ต้องการวัดระยะทางระหว่างจุด A และจุด B C ซึง่ ยู่ห่างจาก A ไป 100 เมตร


ซึง่ อยู่คนละข้ างของแม่น้ำ เขาเดินไปที่จดุ
แล้ ววัดขนาดของมุม A และมุม C และสร้ างสามเหลี่ยม DEF ให้ คล้ ายกับสามเหลี่ยม ABC วัด และ ได้ ยาว
19.2 และ 10 เซนติเมตร ตามลำดับดังรูป วิทย์หาระยะทาง AB ได้ ยาวเท่าไร

B
A
100 เมตร
D 19.2 ซม. E
C 10 ซม.
F

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

2. จากรูป จงหาความกว้ างของแม่น้ำ ถ้ า AC = 60 เมตร AF = 5 เมตร และ


EF = 15 เมตร

B D

A C

E F

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
( 33101)
กลุม่ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน ค ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 ครูผ้ บู นั ทึก นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า วัน
่ ……..เดือน………………………..พ.ศ……….
ที…
ครัง้ ที่…………ปี การศึกษา………………………… .
รายการประเมิน สรุปผลการประเมิน

เลข
ประจำ
ที่ ตัว

ความซื่อสัตย์และทำงานเสร็จทันเวลา
ผ่าน ไม่ผา่ น

ความมีเหตุผลและเชื่อมัน่ ในตนเอง
ชื่อ - นามสกุล
รวม

เข้ าร่วมกิจกรรมด้ วยความสนใจ


ความมีระเบียบรอบคอบ
ความเพียรพยายาม
ความสนใจใฝ่ รู้

5 5 5 5 5 5 30

แผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ พื ้นฐาน


(ค 33101) ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่2 เรื่อง ความคล้ าย จำนวน 15 ชัว่ โมง
แผนการเรียนรู้ที่ 31
เรื่อง การนำไปใช้ ชัว่ โมง จำนวน 1
………………………………………………………………………………………………………
สาระ
มาตรฐาน
1. สาระสำคัญ
ถ้ ารูปสามเหลี่ยมสองรูปใดคล้ ายกัน อัตราส่วนของความยาวของด้ านคูท่ ี่อยู่ตรงข้ ามกับมุมคูท่ ี่มีขนาดเท่ากันจะเท่ากัน
การนำไปใช้ ใช้ หาความสูงและความกว้ างของสิ่งต่างๆ โดยใช้ อตั ราส่วนระหว่างความยาวของด้ านเป็ นหลักในการคำนวณ

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 จุดประสงค์ปลายทาง
2.1.1 นักเรียนสามารถใช้ สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกันในการให้ เหตุผลและแก้
ปั ญหาได้
2.2 จุดประสงค์นำทาง
2.2.2 นักเรียนสามารถใช้ สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ ายกันในการให้ เหตุผลและแก้ ปัญหาได้

3. สาระการเรียนรู้
ความคล้ าย
- ทดสอบหลังเรียน

4. กิจกรรมการเรียนรู้
4.1 ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเรื่อง ความคล้ าย ที่ได้ เรียนผ่านมา และได้ ทบทวนในเรื่องที่นกั เรียนไม่เข้ าใจ จนนักเรียนเข้ าใจเป็ นอย่างดี
4.2 ครูได้ ให้ นกั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน ในหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความคล้ าย โดยเวลาประมาณ 30 นาที จำนวนข้ อสอบ
20 ข้ อ
4.3 เมื่อนักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนเสร็จเรียบแล้ ว ครูนำผลการประเมินบันทึกลงในแบบบันทึกผลการเรียนรู้ตอ่ ไป
4.4 นักเรียนทีป่ ระเมินผลหลังเรียนไม่ผ่าน ครูได้ จดั ให้ มีการสอนและสอบซ่อมในชัว่ โมงต่อไป

5. สื่อและแหล่งเรียนรู้
5.1 แบบทดสอบหลังเรียน
5.2 แบบประเมินผลการเรียนรู้หลังเรียน

6. การวัดและประเมินผล
6.1 สังเกตการทำงานร่วมกันเป็ นกลุม่
6.2 ตรวจผลงานตามสภาพจริง
6.3 สัมภาษณ์และบันทึกในแบบบันทึกการประเมิน
6.4 แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน

7 กิจกรรมเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
(ลงชื่อ)……………………………………..
(…………………………………….)
ตำแหน่ง…………………………………………..
บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ปั ญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………
ข้ อเสนอแนะ / แนวทางแก้ ไข
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

(ลงชื่อ)…………………………………….ผู้สอน
( )
นายสุรศักดิ์ พันธุ์สง่า
ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้ านลาดใหญ่

แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความคล้ าย สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ พื ้นฐาน ค ( 33101)
ช่วงชันที
้ ่ 3 ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 3 จำนวน 20 ข้ อ เวลา 30 นาที

คำสัง่ ให้ นกั เรียนเลือกคำตอบข้ อที่ถกู ทีส่ ดุ เพียงข้ อเดียวเท่านัน้


2. รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คล้ ายกันมีลกั ษณะอย่างไร 4. จากรูป ที่กำหนดให้ ข้ อใดผิด
1. มีมมุ เท่ากันสามคู่ A
2. มีพื ้นที่เท่ากัน D
3. มีความยาวของเส้ นรอบรูปเท่ากัน
4. มีความยาวของฐานและความสูงเท่ากัน

2. ABC  XYZ ข้ อใดกล่าวถูกต้ อง


ถ้ า 

ก. A = X ข. B = Y B E C
ค. C = Z ง. ถูกทุกข้ อ

3. จากรูป QR  ST ข้ อใดถูกต้ อง ก .  BAC   EDC


P 2. ABC   DEC
3. ABC  DEC
4.
Q R ใช้ รูปต่อไปนี ้ตอบคำถามข้ อ 5 - 9
S T
A
1. PQR , PST เป็ นสามเหลี่ยมคล้าย
2. PQR , PST ไม่เป็ นสามเหลี่ยมคล้ าย C D
3.
4. 

5. ข้ อใดกล่าวถูกต้ อง ก. 3x หน่วย . 5x หน่วย


ก. ABCACD ข.ADCCDB ค. 3 หน่วย ง. 5y หน่วย

ค. BCDBAC ง. ถูกทุกข้ อ 11. พื ้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC เท่ากับ 104 ตารางหน่วย DE //


6. AB  BC เท่ากับอัตราส่วนในข้ อใด BC ถ้ า DE = 12 หน่วย AB = 16 หน่วย พื ้นที่รูป ADE
เท่ากับตารางหน่วย
ก. ACDC ข. BDBC
ค . ACAD ง. ACBC A
7. ถ้ า BD = 12 , BC = 13 แล้ ว AC เท่ากับ
เท่าไร
ก . 2.6 ข. 5.4
D 12 E
ค. 6.8 ง. 7.2
8. ถ้ า BD = 8, DC = 6 จงหาความยาวของด้ าน DA B 16 C
ก. 3 ข. 3.5
ค. 4 ง. 4.5
ก. 42.5 ตารางหน่วย
9. ถ้ า CDDB = 52 แล้ วอัตราส่วนในข้ อใดเท่ากับ 125 ข. 48 ตารงหน่วย
2. CBCA ข. ADAC ค. 50 ตารางหน่วย
3. DABD ง. DC  CA ง. 58.5 ตารงหน่วย
10 กำหนดให้ DE = 2x หน่วย , BE = 3y หน่วย , AB 12. นายทองดีสงู 160 เซนติเมตร ตอนบ่ายวันหนึง่ เขาวัดเงานของตัวเอง
= 7.5y หน่วย และ EDC =EBA ได้ 192 เซนติเมตร และวัดเงาของเสาธงได้ 21.6 เมตร จงหาความสูง
ของเสาธง
ก. 18 เมตร. 19 เมตร

C
ค. 20 เมตร ง. 21 เมตร
D
13. จุดๆหนึง่ อยู่ห่างจากเสาไฟฟ้า 30 เมตร หาไม้ ยาว 3 เมตร มาปั กห่าง
2x E
จากจุดนัน้ 5 เมตร ทำให้ จดุ นันกั
้ บปลายไม้ และปลายเสาไฟฟ้าอยู่ห่างจาก
เสาต้ นสูงเท่าไร จึงจะเห็นยอดเสาทังสองต้
้ นได้ พอดี
3y ก.8 เมตร ข. 16 เมตร
B ค. 18 เมตร ง. 20 เมตร
7.5y
A

14. เสาไม้ สองต้ นสูง 5 เมตร และ 8


เมตร อยู่ห่างกัน 4 เมตร เด็ก ก . 13 เมตร ข . 14 เมตร
คนหนึง่ ใช้ ไม้ เล็งยอดเสาทังสองต้
้ น อยากทราบว่า เขาจะต้ องอยู่ห่างจากเสาต้ นสูง
เท่าไร จึงจะเห็นยอดเสาทังสองต้
้ นได้ พอดี ค . 15 เมตร ง . 16 เมตร

3. 10 เมตร ข . เมตร 18. กำหนดให้ABCD เป็ นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู มีด้าน CD ยาวเป็ น


ครึ่งหนึง่ ของด้ าน AB และขนานกัน ลาก AC และ BD ตัดกันที่ O
แล้ วข้ อสรุปใดไม่เป็ นจริง
4. เมตร ง . 11 เมตร
1. AO = 2 OC
15. บนเรือลำหนึง่ มองเห็นยอดเสากระโดงเรือใหญ่ และยอดหน้ าผาริมทะเลอยู่
ในแนวเดียวกันพอดี ถ้ ายอดเสากระโดงเรือใหญ่สงู กว่าระดับน้ำทะเล 15 เมตร
2. ข. OCD  OAB
้ ่ห่างจากเรือใหญ่ 35 เมตร หน้ าผาสูง 450 เมตรเรือใหญ่อยู่
และเรือลำนันอยู .
ค พื ้นที่  ACD = พื ้นที่ BDC
ห่างจากฝั่ งกี่เมตร
ง . AOB = 2 เท่าของพื ้นที่ OCD
พื ้นที่ 
16. จากรูป จงหาความสูงของต้ นมะพร้ าว เมื่อ BD = 8 เมตร CD
= 2 เมตร และ DE = 2.5 เมตร 19. ลูกเสือคนหนึง่ นอนเล็งแนวยอดไม้ ด้วยไม้ พลอง ซึง่ ยาว 1.5 เมตร ถ้ าแนว
ที่เล็งทำให้ ปลายไม้ พลองอยู่สงู จากพื ้นดิน 1.2 เมตร แล้ วยอดไม้ สงู เท่าไร ถ้ า
A ต้ นไม้ อยู่ห่างจากจุดที่เขานอน 8.1 เมตร

E ก . 10 เมตร ข . 10.8 เมตร

ค . 14 เมตร ง . 15 เมตร

B D C 20. ชายคนหนึง่ สูง 1.8เมตร ยืนอยู่ห่างจากเสาธง 9


เมตร ในแนวเดียว
กับเงาเสาธง ปรากฏว่าเงาของเขาทอดยาวเท่ากับยอดเสาธงพอดี ถ้ าเงาเขายาว
ก . 10 เมตร ข . 10.5 เมตร
3 เมตร เสาธงสูงเท่าไร
ค . 12 เมตร ง . 12.5 เมตร
ก . 7.2 เมตร ข. 1.8 เมตร
17. หอระฆังวัดสูง 6 เมตร มีเงาทอดยาวไปทางทิศตะวันตก 12 เมตร
ค . 2 เมตร ง . 2.2 เมตร
และเจดีย์ใหญ่มีเงาทอดไปทางเดียวกันยาว 30 เมตร จงหาความสูงของ
เจดีย์ใหญ่

โปรดติดตาม ……

หน่วยที่ 3 เรื่อง กราฟ

ต่อไป … .. นะครับ

You might also like