saujournalst,+ ($userGroup) ,+6 5+คุณบุริม+นิลแป้น++น 56+-+น 68

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 13

บทความวิจยั SAU JOURNAL OF SCIENCE & TECHNOLOGY, Vol. 7, No.

2, July –December 2021

การออกแบบอุปกรณ์ ขนย้ ายเครื่ องจักร เพื่อลดเวลาในการขนย้ าย


กรณีศึกษา บริษทั AAA จากัด
Case study for company AAA ltd: Arranging equipment
to minimize machinery transportation time
บุริม นิลแป้น*
*
สาขาวิชาเทคโนโลยีโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
กรุ งเทพฯ
Corresponding author e-mail : burimnilpan@hotmail.com

วันที่รับบทความ: 18 กันยายน 2564 / วันที่แก้ ไขบทความ: 2 พฤศจิกายน 2564 / วันที่ตอบรั บการตีพิมพ์ :9 พฤศจิกายน 2564

บทคัดย่ อ : บริ ษัท AAA จากัด เป็ นศู นย์จาหน่ ายและแสดงเครื่ องจักรด้านโลหะแผ่น ทาหน้าที่ จัดหาและจัดส่ ง
เครื่ องจักรขนาดระหว่าง 1 – 20 ตัน บริ ษทั มีบริ เวณพื้นที่โกดังในการเก็บ 2 โกดัง จึงทาให้มีการเคลื่อนย้ายเครื่ องจักร
ระหว่าง 2 พื้นที่ รู ปแบบการเคลื่อนย้ายเป็ นแบ่งเป็ น 2 แบบ ได้แก่ การใช้เครน และใช้เพลาลาเลียงสาหรับบริ เวณที่
ไม่สามารถติดตั้งเครนได้ โดยเวลาที่ในการเคลื่อนย้ายเครื่ องจักรขนาด 10 ตันด้วยเพลาจะเฉลี่ยอยูท่ ี่ 19.64 นาที ผูว้ จิ ยั
พิจารณาแล้วพบว่าการใช้เพลาในการเคลื่อนย้ายเครื่ องจักรนั้นมีความเสี่ ยงต่อพนักงาน และใช้เวลาการเคลื่อนย้าย
นาน งานวิจัยนี้ จึ งมีวตั ถุ ป ระสงค์เพื่อช่ วยลดระยะเวลาในกระบวนการขนย้ายเครื่ องจักร โดยการออกแบบและ
จัดสร้างอุปกรณ์เคลื่อนย้ายเครื่ องจักร แนวคิดหลัก คือ เป็ นการขนย้ายด้วยโรลเลอร์ มีความสามารถรับน้ าหนักได้
ปริ มาณมาก ลดแรงเสี ยดทาน กระบวนการออกแบบเริ่ มจากการพิจารณาหาแรงกระทาที่อุปกรณ์ขนย้ายแต่ละตัวจะ
ได้รับ โดยคานวนจากในกรณี ที่ใช้ในการขนย้ายเครื่ องจักรขนาด 20 ตัน ซึ่ งเป็ นน้ าหนักมากที่สุดที่บริ ษทั ได้ทาการ
จัดส่ ง ใช้เหล็กกล้าคาร์ บอนต่าเกรด SS 400ทาโครงสร้ างหลัก และเลือกใช้ลอ้ ซุ ปเปอร์ ลีนที่ มีคุณสมบัติดา้ นความ
แข็งแรงในการรับแรงเสี ยดทานเป็ นล้อ เมื่อนาอุปกรณ์ที่จดั สร้างไปใช้ในการขนย้ายเครื่ องจักรขนาด 10 ตัน พบว่า
ระยะเวลาเฉลี่ยอยู่ที่ 93.9 นาที สามารถลดระยะเวลาโดยเฉลี่ยลงจากเดิม 71.9 นาที คิดเป็ น 49.44% และสามารถลด
เวลาเฉลี่ยในการเคลื่อนย้ายเครื่ องจักรชนิ ดต่าง ๆ อีก 4 ชนิ ด (น้ าหนักไม่เกิน 12 ตัน) อยู่ที่ 55.95% อุปกรณ์เคลื่อย้าย
เครื่ องจักรที่ได้ทาการออกแบบและจัดสร้างนี้ มีค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ 17,000 บาท โดยคิดเป็ นค่าใช้จ่ายในแต่ละ
วันที่ดาเนินการใช้อยูท่ ี่ 65.13 บาท/วัน
คำสำคัญ : การเคลื่อนย้ายเครื่ องจักร, การควบคุมคุณภาพ, การออกแบบชิ้นส่ วนเครื่ องกล

Abstract : Company AAA ltd. is a representative and a distributor for machinery that works
with metal sheets. The company mainly deals with sourcing and distributing machinery
weighing between 1 – 20 tons and as they have 2 main warehouses in which they use for
storing the machinery, they have 2 methods of transporting the machinery. First method is
using a crane and the other method is by using a conveyor shaft for the areas that the crane
56
บทความวิจยั SAU JOURNAL OF SCIENCE & TECHNOLOGY, Vol. 7, No. 2, July –December 2021

can not access, which takes an average of 19.64 minutes to move 10 tons. According to the
researchers, this method is very dangerous towards the employees and time consuming,
and that is why they are looking for a solution to reduce risk and time in transporting the
machinery. During the design phase, they used calculations for moving machinery at 20
tons (which is the heaviest machinery that they supply), which concluded that they use low
carbon steel SS400 for the structure and Superlene wheels (as they are the strongest type of
wheels for this use). Once completing the equipment, tests show that moving 10 tons of
machinery averaged at 9.93 minutes at first, then dropping down to an average of 9.71
minutes (which is 49.44% of the original time) and they were also able to bring the down the
average of 4 other types of machinery (weighing no more than 12 tons) to 55.95% of the
original average time. The design and construction fee is at 17,000baht or can be calculated
to be a daily cost of 65.13baht per day.
Keywords : Machinery Movement, Quality Controls, Machinery Design

1. บทนา ด้วยบริ ษ ัท AAA จากัด ได้มีการจัดท าโกดัง


บริ ษัท AAA จ ากั ด เป็ นศู น ย์จ าหน่ า ยและ เพื่ อ เก็ บ เครื่ องจัก รที่ ไ ด้ด าเนิ น การจัด ซื้ อ ส าหรั บ รอ
แสดงเครื่ องจักรด้านโลหะแผ่น ซึ่ งเครื่ องจักรส่ วนใหญ่ ดาเนินการจัดส่ ง ออกเป็ น 2 โกดัง โดยในโครงสร้างของ
มีน้ าหนัก ตัน 20 ตัน ไปจนถึ ง 1 เมื่อ เครื่ อ งจักรทาการ โกดัง มี ก ารออกแบบระบบเครน ที่ ใ ช้ใ นการขนย้าย
ขนส่ งมาถึงโรงงาน พนักงานของบริ ษทั จะดาเนิ น การ เครื่ อ งจัก รเป็ นอย่า งดี แต่ อ ย่า งไรก็ ต าม ในบางกรณี
ขนย้ายเครื่ องลงจากรถบรรทุก เพื่อจัดเก็บเครื่ องจักรให้ บริ ษัท มี ก ารต้อ งขนย้า ย เครื่ องจัก รที่ ไ ด้ซ้ื อมาข้ า ม
เป็ นระเบียบภายในโกดัง ดังแสดงในรู ปที่ 1 ระหว่างโกดังด้วยกันเอง หรื อ ขนย้ายเข้ามุมอับที่เครน
ไม่สามารถดาเนินการได้ รู ปแบบของการแก้ไขปั ญหาที่
ทางบริ ษัท ได้ด าเนิ น การมี 2 แนวทางในการปฏิ บ ัติ
ได้แ ก่ 1.ท าการจัด จ้า ง บริ ษัท ขนย้า ยเครื่ องจัก รจาก
ภายนอกเข้ามาดาเนิ นการ 2.การขนย้ายด้วยการค่อย ๆ
ลาเลียงผ่านแท่งเหล็กที่วางไว้ในแนวราบจนถึงตาแหน่ ง
ที่ตอ้ งการ
ส าหรั บ การลาเลี ยงเครื่ องจักรขนาดเล็ก ด้วย
วิธีการค่อย ๆ ลาเลียงด้วยแท่งเหล็กนั้น กระบวนการจะ
เริ่ มจากทางพนั ก งานจะใช้ แ ม่ แ รงไฮดรอลิ ก ส์ ย ก
เครื่ อ งจักร แล้วจึ งใช้เพลาเหล็กสอดใต้เครื่ อ งจักร ดัง
แสดงในรู ปที่ 2 จากนั้นจึงค่อยทาการเข็นเครื่ องจักร โดย
ระหว่างทาง มีการสอดและสลับแท่งเหล็กไปมา จนถึง
บริ เวณตาแหน่งที่ตอ้ งการ
รู ปที่ 1 เครื่ องจักรที่ตอ้ งทาการขนย้าย
57
บทความวิจยั SAU JOURNAL OF SCIENCE & TECHNOLOGY, Vol. 7, No. 2, July –December 2021

เคลื่ อ นย้า ยค่ อ นข้า งมาก ดั้ง นั้ นผู ้วิ จัย จึ ง มุ่ ง เน้ น ที่ จ ะ
แก้ปั ญ หาให้ส ามารถลดเวลาในกระบวนการขนย้า ย
เครื่ องจั ก ร และสร้ างความปลอดภั ย ในระหว่ า ง
ปฏิบตั ิงานเคลื่อนย้ายได้

2.ทฤษฎีและงานวิจยั ที่เกีย่ วข้ อง


2.1 ทฤษฏีที่เกีย่ วข้ อง
2.1.1 การขนถ่ ายวัสดุ (Material Handling)
รู ปที่ 2 การขนย้ายเครื่ องจักรโดยใช้เพลาเป็ นตัวรับแรง การจัดเตรี ยมสถานที่แ ละตาแหน่ งของวัสดุ
โดยเป็ นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ การบรรจุหีบ
จากการพิ จ ารณากรณี ศึ ก ษา พบว่า ส าหรั บ ห่ อ การเก็ บ รั ก ษา ซึ่ งต้อ งอาศัย วิ ธี ก ารในการเลื อ ก
การเคลื่อนย้ายเครื่ องจักรน้ าหนัก 10 ตัน หากมีการจ้าง เครื่ องมือและอุปกรณ์ เพื่ออานวยความสะดวกในการ
บริ ษทั ภายนอกมาทาการย้ายจะใช้ระยะเวลาโดยเฉลี่ยอยู่ ขนย้ายวัตถุ ดิบ เข้ามาในสายการผลิต ให้เหมาะสมกับ
ที่ 12.72 นาที และต้นทุนที่ใช้ในการขนย้ายเครื่ อ งจักร ลักษณะงานจนเป็ นสิ นค้า หรื อผลิตภัณฑ์สาเร็ จรู ป [1]
จานวน 10 ครั้ ง เสี ยค่าใช้จ่ายโดยประมาณ 70,000 บาท
2.1.2 แผนผังแสดงเหตุและผล (Cause Effect Diagram)
ในขณะที่การใช้เพลาเหล็กทาให้การขนระยะเวลาเฉลี่ย
เป็ นแผนผังที่ใช้แสดงความสัมพันธ์อย่างเป็ น
อยู่ที่ 19.64 นาที โดยเมื่อสรุ ปเปรี ยบเทียบเวลาระหว่าง
ระบบระหว่างสาเหตุหลายๆ สาเหตุที่เป็ นไปได้ที่ส่งผล
การขนส่ งทั้ง 2 รู ปแบบ แสดงดังตารางที่ 1
กระทบให้เกิดปัญหาหนึ่ งปัญหา [2]
2.1.3 การออกแบบเครื่ องกล (Machinery Design)
ตารางที่ 1 ค่ า เฉลี่ ย ของเวลาในการขนย้ายเครื่ อ งจักร การออกแบบรู ปร่ าง พื้ น ฐานทางด้า นการ
ขนาด 10 ตัน ของ 2 รู ปแบบ คานวณและหลักการเลือกใช้วสั ดุสาหรับทาชิ้นส่ วนตาม
รู ปแบบการขนย้ าย ค่ าเฉลีย่ (นาที) ความเหมาะสมกับการใช้เครื่ องจักรกล และกับชิ้นงาน
การจ้างบริ ษทั ขนย้าย 12.72 ในลักษณะต่างๆกัน [3]
การใช้เพลาเหล็ก 19.64 2.2 งานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
อุ ม าภรณ์ วุ ฒิ ว รานนท์ , ศัก ดิ์ กองสุ ว รรณ์
นอกจากนี้ ด้ว ยเคลื่ อ นย้า ยเครื่ องจัก รด้ว ย และเชษฐ์ภนัฏ ลีลาศรี สิริ ได้ทาการแก้ไขปั ญหาการลด
วิธีการลาเลียงผ่านเพลาเหล็กนั้น ต้องอาศัยการการก้ม ความสู ญเสี ยจากกระบวนการเคลื่อนย้ายสิ นค้าจาพวก
ไปดังและสลับ เพลา เมื่อ สลับ เพลาแล้วต้อ งอาศัยการ เสื้ อยื ด ส่ งออก ของบริ ษั ท ไอวิ ด จี น จ ากั ด โดย
ผลักดัน ของพนักงานตลอดกระบวนการจนกว่าจะถึง กระบวนการแก้ไข ผูว้ ิจยั ได้ทาแบบสอบถาม โดยการ
ตาแหน่ งที่ทาการจัดเก็บเครื่ องจักร เมื่อพิจารณาแล้วจะ ออกแบบตัวแปรบรรจุภณ ั ฑ์ที่มีน้ าหนัก 30 กิโลกรัม 45
พบว่ากระบวนการทั้ง 2 นั้น (การก้ม และการผลักดัน)มี กิโลกรัม 60 กิโลกรัม และ 80 กิโลกรัม โดยจากการทา
ความเสี่ ยงต่ อ การเกิ ด อุ บ ั ติ เ หตุ ร ะหว่ า งด าเนิ น การ แบบสอบถาม ผูว้ ิจยั พบว่า ปั ญหาที่พบได้แก่ พบความ
58
บทความวิจยั SAU JOURNAL OF SCIENCE & TECHNOLOGY, Vol. 7, No. 2, July –December 2021

เสี ยหายมาจากการเคลื่อนย้ายบรรจุภณ ั ฑ์ขนาดใหญ่ และ 3.2 กาหนดขอบเขตงานวิจัย


มีน้ าหนักมากกว่า 71 กิโลกรัม ผูว้ จิ ยั ได้เสนอแนวทางใน 1.ดาเนิ นการจัดสร้ างอุปกรณ์ช่ วยในการขน
การแก้ไขปั ญหา ดังนี้ 1)ควรลดน้ าหนัก และขนาดของ ย้ายเครื่ องจักร
สิ นค้าลง 2)ควรเพิ่มอุปกรณ์ผ่านแรง เช่น รถลาก (hand 2.อุ ป กรณ์ ข นย้า ยเครื่ องจัก รที่ ด าเนิ น การ
lift) กับชั้นวางสิ นค้า เพื่อให้ง่ายต่อการลาเลียงมากขึ้ น จัดสร้างสามารถรองรับน้ าหนักของเครื่ องจักรได้ไม่เกิน
[4] 20 ตัน
มงคล ตุ่ น เฮ้า และคณะ ได้มีการพัฒนาและ 3.3 พิจารณาหาสาเหตุของปัญหา
สร้ างเครื่ องล าเลี ย งมั ด อ้ อ ยขึ้ นรถบรรทุ ก โดยมี ผูว้ ิจัยใช้หลักการวิเคราะห์หาสาเหตุ ด้ว ยผัง
โครงสร้างเป็ นโซ่ลาเลียง 2 เส้นติดตั้งด้านข้างรถบรรทุก แสดงเหตุ แ ละผล (Cause Effect Diagram) ซื่ งเป็ น
โดยเมื่อ เปรี ยบเที ยบกับ เครื่ อ งล าเลียงมัดอ้อ ยทัว่ ไป มี เครื่ อ งมือ ในการใช้วิเคราะห์หาสาเหตุ ของปั ญหาการ
โครงสร้ างเล็กกว่า 25% ต้น กาลังเครื่ อ งยนต์ที่ใช้น้อย เคลื่อนย้ายเครื่ องจักรในงานใช้เวลานาน ดังแสดงผลใน
กว่า 33.33% โดยมีอ ัตราการท างาน และอัตราการใช้ รู ปที่ 3
น้ ามันเชื้อเพลิงเท่ากัน สามารถลดต้นทุนในด้านการผลิต จากการวิเคราะห์ผงั ก้า งปลาวิเคราะห์ ไ ด้ว่า
ลงได้ 29.17% [5] สาเหตุหลักของการใช้เวลาในการเคลื่อนย้ายเครื่ องจักร
ที่นานนั้นเกิ ดมาจากการที่บริ ษทั ติดตั้งเครนไว้เฉพาะที่
3.วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีวจิ ยั ในโกดัง และการใช้วิธีการเคลื่อนย้ายด้วยวิธีการค่อย ๆ
3.1 กาหนดวัตถุประสงค์ ของงานวิจัย ลาเลียงผ่านเพลาเหล็ก
1.สามารถลดระยะเวลา (หน่ วย:นาที ) ของ
กระบวนการขนย้ายเครื่ องจักรขนาด 10 ตันของบริ ษทั
กรณี ศึกษาได้

รู ปที่ 3 ผังแสดงเหตุและผล (Cause Effect Diagram)

59
บทความวิจยั SAU JOURNAL OF SCIENCE & TECHNOLOGY, Vol. 7, No. 2, July –December 2021

3.4 วิเคราะห์ แนวทางในการการแก้ไขปัญหา


เนื่ องจากระหว่างการเคลื่อนย้ายจะมีการ
ใช้เพลาสอดสลับไปมาใต้เครื่ องจักรจนถึงตาแหน่ งที่
ต้องการ ซึ่ งวิธีการดังกล่าวอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อ
พนักงานและเกิ ดความเสี ยหายต่อเครื่ องจักรได้ อีก
ทั้ง การเปลี่ ย นทิ ศ ทางในการเคลื่ อ นย้า ยท าได้ย าก
เพราะต้องจัดเพลาเหล็กให้ได้ระยะในการที่จะหมุน
เครื่ องจัก ร ท าให้ เ สี ยเวลาในการขนย้า ยมากขึ้ น รู ปที่ 5 การใช้เต่าย้ายเครื่ องจักร
ผูว้ ิจยั จึงได้มีความคิดในการสร้างอุปกรณ์ (ที่มา:https://i.ytimg.com/vi/JWNtRh9d52A
ที่ใช้สาหรับขนย้ายเครื่ องจักรเพื่อให้สะดวก และง่าย /maxresdefault.jpg)
ต่ อ การใช้ง าน ผูว้ ิจัย ได้ด าเนิ น การศึ ก ษาหาข้อ มู ล
เ กี่ ย ว กั บ ก า ร เ ค ลื่ อ น ย้ า ย เ ค รื่ อ ง จั ก ร ใ น โดยจากการเข้า ไปตรวจสอบหาข้อ มู ล
ภาคอุตสาหกรรม พบว่าโดยส่ วนใหญ่แล้วมีการใช้ พบว่ า ราคาที่ ข ายขึ้ นอยู่ กั บ ความสามารถในการ
เต่าย้ายเครื่ องจักร (Machinery Mover) ดังแสดงในรู ป รองรั บน้ าหนักของเครื่ องจักร แต่อย่างไรก็ตามเมื่อ
ที่ 4 ผูว้ ิจยั ได้ทาการนาเสนอเต่าเคลื่อนย้ายเครื่ องจักรที่มี
ในท้องตลาดให้แก่ ทางสถานประกอบการ ปั ญหาที่
พบ คือ เต่าที่มีในท้องตลาด ไม่สอดคล้องกับน้ าหนัก
ของเครื่ อ งจัก รที่ ขนย้า ยเนื่ อ งด้ว ยช่ วงของน้ าหนัก
เครื่ องจักรที่ขนย้าย อยูร่ ะหว่าง 10 – 20 ตัน ในกรณี ที่
ซื้อเต่าที่รับน้ าหนักได้นอ้ ย (ตาแหน่งละไม่เกิน 3 ตัน)
ความสามารถสู งสุ ดก็ จ ะรั บได้ ไ ม่ เ กิ น 12 ตั น
(พิจารณากรณี กระจายน้ าหนักที่ ขอบทั้ง 4 ด้าน) แต่
ถ้าซื้อในกรณี ที่รับน้ าหนักได้ดา้ นละ 10 ตัน ขึ้นไป ก็
รู ปที่ 4 เต่าย้ายเครื่ องจักร (Machinery Mover) จะประสบปั ญหาราคาสู ง อีกทั้งในการขนย้ายไม่ได้
ที่มาhttps://handtrucks2go.com/images จากัดที่น้ าหนักเท่าใดที่แน่ นอนเป็ นประจา ผูว้ ิจยั จึง
/D/01_R3_Master-2a35a67dcf.jpg) พิ จ ารณาว่ า การออกแบบเต่ า ในการเคลื่ อ นย้า ย
เครื่ องจักรด้วยตัวเองจึงน่ าจะเป็ นวิธีการแก้ไขปั ญหา
ที่ เหมาะสมกับ ทางบริ ษ ัท กรณี ศึกษา ด้วยสามารถ
โดยมีวิธีใช้ในเต่าย้ายเครื่ องจักรดังแสดง คาดคะเนน้ าหนั ก ที่ ใ ช้ อี ก ทั้ งเนื่ องด้ ว ยบริ ษั ท
ในรู ปที่ 5 กรณี ศึ ก ษา เป็ นบริ ษัท ที่ จัด จ าหน่ า ยเครื่ องจัก รที่
เกี่ยวกับโลหะแผ่น ดังนั้น การจัดเตรี ยมวัสดุที่ใช้ใน
การผลิตจึงทาได้โดยสะดวก

60
บทความวิจยั SAU JOURNAL OF SCIENCE & TECHNOLOGY, Vol. 7, No. 2, July –December 2021

3.5 ออกแบบอุปกรณ์ ในการช่ วยขนย้ ายเครื่ องจักร ในการออกแบบจึ ง เน้ น ให้ อุ ป กรณ์ มี ก ารกระจาย
3.5.1 พิจารณาหาแรงที่กระทาบนตัวอุปกรณ์ ช่วยใน น้ าหนักที่ได้รับให้มากที่สุด ดังนั้นในการออกแบบ
การขนย้ าย จึ งได้มีการออกแบบให้ลู กล้อ ที่ ใช้ในการรั บ แรงมี
ผูว้ ิจยั ดาเนิ นการวิเคราะห์หาแรงที่กระทา ทั้งสิ้ น 9 ลูก* (ซึ่งจะแตกต่างจากที่มีขายในท้องตลาด
บนอุปกรณ์ในการขนย้ายแต่ละตาแหน่ ง โดยคิดใน ที่โดยส่ วนใหญ่น้ นั มีลอ้ จานวน 4 ล้อ) โดยรู ปร่ างของ
สถานการณ์ ที่ ข นส่ ง เครื่ อ งจัก รที่ มี น้ า หนัก 20 ตัน อุปกรณ์ที่ได้ทาการออกแบบ แสดงในรู ปที่ 7 [7]
(20,000 กิโลกรัม : 196,200 นิ วตัน) และมีขนาดของ
ตัวเครื่ องจักรขนาด 4 เมตร x 6 เมตร x 4 เมตร (กว้าง
x ยาว x สู ง) โดยแสดงรู ปการวิเคราะห์ค่าแรงที่รับ ดัง
แสดงในรู ปที่ 6 อุปกรณ์ช่วยในการขนย้ายเครื่ องจักร
ตัว นี้ จะใช้ ร องรั บ น้ าหนั ก ของตัว เครื่ องจัก รจาก
ด้ า นล่ า ง 4 จุ ด โดยอุ ป กรณ์ แ ต่ ล ะจุ ด จะรั บ แรง
ดังต่อไปนี้ แบ่งน้ าหนักออกเป็ น 4 จุด เท่ากับฝั่งละ 5
ตัน (5,000 กิ โ ลกรั ม : 49,050 นิ ว ตัน ) ซึ่ งในการ
ออกแบบครั้ งนี้ ผูว้ ิจยั ได้ใช้ค่าความปลอดภัยในการ รู ปที่ 7 อุปกรณ์ขนย้ายที่ทาการออกแบบ
ออกแบบ (Factor of Safety : F.S.) ที่ 1.25 ดังนั้นค่า
ความสามารถในการรั บ น้ าหนักของอุป กรณ์ แต่ละ *หมายเหตุ จากการพิจารณาภาระแรงที่
ตาแหน่ งจึงสามารถรับน้ าหนักได้ถึง 6.25 ตัน (6,250 อุปกรณ์ขนย้ายเครื่ องจักรที่จะดาเนิ นการสร้ าง ต้อง
กิโลกรัม : 61,312.5 นิวตัน) [6] ได้รับ ในขั้น ตอนก่ อ นหน้า ล้อ ที่ น ามาใช้ในการทา
ต้อ งรั บ แรงต าแหน่ ง ละ 694.4 กิ โ ลกรั บ (6,250
กิโลกรัม/9) ดังนั้น วัสดุที่นามาใช้เป็ นล้อเพื่อรับแรง
ต้อ งมีความสามารถรั บ แรงได้ไม่ต่ ากว่า ค่าดังกล่าว
โดยแสดงรู ปชิ้ น ส่ วนแยกประกอบดั ง
แสดงในรู ปที่ 8

รู ปที่ 6 การวิเคราะห์ค่าแรงที่รับ

2.5.2 ท าการออกแบบอุ ป กรณ์ ใ นการช่ วยขนย้ า ย


เครื่ องจักร
ผูว้ จิ ยั ต้องการให้อุปกรณ์ที่ออกแบบมานั้น
มีความสามารถรองรับน้ าหนักได้ค่อนข้างดี แนวคิด รู ปที่ 8 รู ปชิ้นส่ วนแยกประกอบ

61
บทความวิจยั SAU JOURNAL OF SCIENCE & TECHNOLOGY, Vol. 7, No. 2, July –December 2021

และแสดงลักษณะอุป กรณ์ ขนย้ายเมื่อได้ ซึ่ งมีความสามารถในการรั บ น้ าหนัก ต่ อ ลู กได้ 700


ดาเนินการจัดสร้างเสร็ จ ในรู ปที่ 9 kg.
6) สลัก เหล็ก ใช้ส าหรั บ ล็อ คเพลาไม่ ใ ห้
หลุดออกจากตัวอุปกรณ์
3.6 ขั้นตอนการประดิษฐ์ อุปกรณ์ ช่วยในการขนย้ าย
เครื่ องจักร
1) ทาการตัดแผ่นเหล็ก ขนาดกว้าง 29 ซม.
ยาว 32 ซม. จานวน 4 แผ่น, ขนาดกว้าง 6.5 ซม. ยาว
27 ซม. จานวน 8 แผ่น, ขนาดกว้าง 8 ซม. ยาว 32 ซม.
จ านวน 8 แผ่น , ขนาดกว้า ง 80 ซม. ยาว 29.7 ซม.
จานวน 8 แผ่น ดังแสดงในรู ปที่ 10

รู ปที่ 9 อุปกรณ์ขนย้ายที่ทาการออกแบบเมื่อเสร็ จ

3.5.3 จัดเตรียมวัสดุที่ใช้ ในการสร้ าง


1) แผ่นเหล็กสาหรับทาตัวของโครงสร้ าง
หลัก เหล็ ก ที่ ใ ช้เ ป็ นเหล็ ก รี ดร้ อ น (เหล็ ก เหนี ย ว)
SS400 หนา 10 มม. เหล็กแผ่นรี ดร้อนใช้สาหรับงาน
โครงสร้ า งทั่ ว ไป มี คุ ณ สมบั ติ ใ นการเชื่ อ มที่ ดี
สามารถเชื่อมต่อ ได้ง่าย เป็ นโครงสร้างต่าง ๆ ใช้ใน รู ปที่ 10 แผ่นเหล็กที่ใช้ทาโครงอุปกรณ์
การก่อสร้าง ตึก ก่อสร้างสะพาน สร้างเรื อ หรื อใช้ใน
อุตสาหกรรมยานยนต์ [8][9] 2) ท าการเจาะรู ตามตาแหน่ งในแบบเพื่อใช้ในการ
2) ท่อเหล็กใช้สาหรับทาหู สอด ใช้ในการ สวมเพลาล้อซุปเปอร์ลีน ดังแสดงในรู ปที่ 11
ลากตัวอุปกรณ์หรื อทาให้ตัวอุปกรณ์ขนานกันขณะ
เคลื่ อ นย้าย ซึ่ งใช้ขนาดเส้น ผ่านศูน ย์กลางวงใน 25
มม. เส้นผ่านศูนย์กลางวงนอก 34 มม.
3) เหล็กข้อ อ้อ ย SD 30 ความหนา 10 มม
ใช้สาหรับเป็ นด้ามจับของตัวอุปกรณ์
4) แกนเพลาสาหรั บประคองล้อซุ ป เปอร์
ลีน ใช้เพลาแข็งหัวแดง S45C ขนาด 20 มม.
5) ล้ อ ซุ ป เป อ ร์ ลี น พร้ อ มลู ก ปื น ซึ่ ง
Superlene Nylon ทางผู ้ วิ จั ย ได้ เ ลื อกใช้ ว ั ส ดุ ล้ อ
ซุ ป เปอร์ ลี น เป็ นล้อ ในการเคลื่ อนย้าย ขนาด 80x80 รู ปที่ 11 เจาะรู และบากมุมตามแบบ
62
บทความวิจยั SAU JOURNAL OF SCIENCE & TECHNOLOGY, Vol. 7, No. 2, July –December 2021

3) ทาการตัดเพลาเหล็กหัวแดงขนาดความ 5) จากนั้ นน าเพลาที่ ท าการตั ด แล้ว มา


ยาว 31.4 ซม. จานวน 12 เส้น แล้วเจาะรู หัวท้ายตาม ทดลองสวมเข้ากับโครงโรลเลอร์ และล้อซุปเปอร์ลีน
ตาแหน่ งเพื่อใส่ ปริ้ นล็อคในการล็อคเพลา ดังแสดง ดังแสดงในรู ปที่ 14 [10]
ในรู ปที่ 12

รู ปที่ 14 ลักษณะการลองสวมเพลา
เข้ากับล้อซุปเปอร์ ลีน
รู ปที่ 12 เพลาเหล็กที่ตดั และเจาะรู
6) พ่น สี ตัวโครงโรลเลอร์ ก่ อ นที่ จะสวม
4) หลังจากตัดแผ่นเหล็กตามแบบที่เขี ยน
เพลากลับที่เดิม ดังแสดงในรู ปที่ 15
ไว้ครบตามจานวนชิ้นแล้วจึ งนามาประกบกัน แล้ว
ทาการเหล็กให้เชื่อมชิ้นส่ วนให้ติดกัน และขัดแต่งผิว
ให้เรี ยบ ดังแสดงในรู ปที่ 13

รู ปที่ 15 ทาการพ่นสี รองพื้นโครงอุปกรณ์ให้สวยงาม

7) ล็อคเพลาด้วยสลัก ดังแสดงในรู ปที่ 16

รู ปที่ 13 ทาการประกบเพื่อเตรี ยมการเชื่อม

63
บทความวิจยั SAU JOURNAL OF SCIENCE & TECHNOLOGY, Vol. 7, No. 2, July –December 2021

รู ปที่ 16 ลักษณะการใช้สลักล็อคเพลาไม่ให้หลุดออก รู ปที่ 18 รู ปการขนย้ายเครื่ องจักรขนาดเล็ก 10 ตัน


จากอุปกรณ์
จากนั้นทาการบันทึกค่าระยะเวลาในการขนย้ายเพื่อ
8) เมื่ อ ด าเนิ น การประกอบเสร็ จ จะได้ ทาการวิเคราะห์ในลาดับต่อไป
อุปกรณ์ขนย้ายเครื่ องจักรที่สมบูรณ์ 1 ตัว (ดังแสดง 2.ทดสอบขนย้า ยเครื่ องจั ก ร ชนิ ด อื่ น
ในรู ปที่ 17) เพิ่มเติ ม (ขนาดน้ าหนักไม่เกิ น 12 ตัน ) แล้วท าการ
บันทึกค่าเวลาเปรี ยบเทียบก่ อนและหลังใช้อุปกรณ์
โดยรายชื่ อเครื่ องจักร และรายละเอียดน้ าหนักของ
ตัวเครื่ องแสดงใน ตารางที่ 2

ตารางที่ 2 เครื่ อ งจักรประเภทอื่น (ขนาดน้ าหนักไม่


เกิน 12 ตัน) ที่จะทาการทดสอบขนย้ายเพิ่มเติม
รู ปที่ 17 รู ปของอุปกรณ์ช่วยในการขนย้ายที่สมบูรณ์ น้าหนัก
ลาดับที่ ประเภทเครื่ องจักร
(kg.)
9) ทาขั้นตอนซ้ า จาก 1 – 7 เป็ นจานวน 3 รอบ เพื่อให้ 1 เครื่ อง GEKA 1,109
ได้อุปกรณ์ขนย้ายจานวน 4 ตัว ตามที่ตอ้ งการ 2 เครื่ องม้วนเหล็ก 2,010
3 เครื่ องตัดไฮโดรลิค 9,100
3.7 ทดสอบน าไปใช้ เคลื่ อ นย้ า ยเครื่ อ งจั ก ร 4 เครื่ องพับไฮโดรลิค 11,100
ขนาด 10 ตัน
1.ดาเนิ น การทดสอบโดยการน าอุปกรณ์ 4. ผลการทดลองและอภิปรายผล
ช่ วยในการขนย้ายเครื่ องจักรที่ได้จดั ทาขึ้นมาใช้ขน 1.ตารางการเปรี ยบเทียบค่าระยะเวลาของ
ย้ายเครื่ องจักรแทนการขนย้ายแบบเดิม (ดังแสดงใน การขนย้ายเครื่ องจักรขนาด 10 ตัน ระหว่างก่อนการ
รู ปที่18) แก้ไข และหลังการแก้ไข แสดงในดัง ตารางที่ 3

64
บทความวิจยั SAU JOURNAL OF SCIENCE & TECHNOLOGY, Vol. 7, No. 2, July –December 2021

ตารางที่ 3 ตารางการเปรี ยบเทียบค่าระยะเวลาของการขนย้ายเครื่ องจักรขนาด 10 ตัน


ระหว่างก่อนการแก้ไข และหลังการแก้ไข
ครั้งที่ ก่อนการแก้ ไข (นาที) หลังการแก้ไข (นาที) เวลาที่ลดลง (นาที)
1 20.56 10.09 10.47
2 20.47 9.56 10.91
3 19.23 9.38 9.85
4 20.05 10.25 9.8
5 21.44 11.12 10.32
6 19.28 10.54 8.74
7 19.41 11.20 8.21
8 19.32 9.43 9.89
9 18.14 9.17 8.97
10 18.51 8.55 9.96
ค่ าเฉลีย่ 19.64 9.93 71.9

2. ตารางการเปรี ยบเทียบค่าระยะเวลาของการขนย้ายเครื่ องจักรชนิ ดต่าง ๆ ระหว่างก่ อนการแก้ไข และ


หลังการแก้ไข ดังแสดงใน ตารางที่ 4

ตารางที่ 4 ตารางการเปรี ยบเทียบค่าระยะเวลาของการขนย้ายเครื่ องจักรชนิ ดอื่น ๆ (ขนาดน้ าหนักไม่เกิ น 12 ตัน)


ระหว่างก่อนการแก้ไข และหลังการแก้ไข
น้าหนัก ระยะเวลา ระยะเวลา เวลาที่ลดลง
ลาดับที่ ประเภทเครื่ องจักร
(kg.) ก่อนใช้ (นาที) หลังใช้ (นาที) (นาที)
1 เครื่ อง GEKA 1,109 10.05 4.35 5.70
2 เครื่ องม้วนเหล็ก 2,010 12.11 5.08 7.03
3 เครื่ องตัดไฮโดรลิค 9,100 20.17 9.55 10.62
4 เครื่ องพับไฮโดรลิค 11,000 19.33 8.43 10.09

5.สรุ ปผล
เปรี ย บเที ย บระยะเวลาในการขนย้า ย . 1 รู ป ที่ 19 ผลลัพธ์ที่ ได้จากการดาเนิ น การระยะเวลา
เครื่ องจักรขนาด10 ตัน ของบริ ษทั AAA ก่ อนและ ของการเคลื่อนย้ายเครื่ องจักรขนาด 10 ตัน ก่อนการ
หลังทาการจัดสร้ างอุปกรณ์ในการขนย้าย แสดงดัง แก้ไข เฉลี่ยอยูท่ ี่ 19.64 นาที ส่ วนหลังการแก้ไขเฉลี่ย

65
บทความวิจยั SAU JOURNAL OF SCIENCE & TECHNOLOGY, Vol. 7, No. 2, July –December 2021

อยู่ที่ 9.93 นาที ดังนั้นสามารถลดระยะเวลาโดยเฉลี่ย เปรี ย บเที ย บระยะเวลาในการขนย้า ยเครื่ อ งจักร . 2


9.71 นาที คิดเป็ น 49.44% [11] (น้ าหนักไม่เกิน 12 ตัน) ประเภทอื่น ของบริ ษทั AAA

เปรียบเทียบระยะเวลาทีใ่ ช้ ในการเครื่ องย้ ายเครื่ องจักรขนาด 10 ตัน ก่ อนและหลังใช้


อุปกรณ์ ขนย้ ายทีจ่ ดั สร้ าง
25
19.64
20
เวลา (นาที)

15
9.93
10
5
0
ก่ อนการปรับปรุง หลังการปรับปรุง
รู ปที่ 19 เปรี ยบเทียบค่าของเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายเครื่ องจักรขนาด 10 ตัน
ก่อนและหลังมีอุปกรณ์ช่วยในการเคลื่อนย้าย
ก่ อนและหลังทาการจัดสร้ างอุปกรณ์ในการขนย้าย เครื่ องจักรชนิ ดต่าง ๆ อีก 4 ชนิ ด (น้ าหนักไม่เกิน 12
แสดงดังภาพที่ 20 โดยเเวลาเฉลี่ยในการเคลื่อนย้าย ตัน) ลดลง 55.95%

เปรียบเทียบระยะเวลาที่ใช้ ในการเคลื่อนย้ายเครื่ องจักรชนิดอื่น (นา้ หนักไม่ เกิน 12 ตัน) ก่อนและ


หลังใช้ อุปกรณ์
30
20.17 19.33
20
เวลา (นาที)

10.05 12.11
9.55 8.43
10 4.35 5.08

0
เครื่ อง GEKA เครื่ องม้วนเหล็ก เครื่ องตัดไฮโดรลิค เครื่ องพับไฮโดรลิค
ชนิดเครื่ องจักร

ระยะเวลา ก่อนใช้ (นาที) ระยะเวลา หลังใช้ (นาที)

รู ปที่ 20 เปรี ยบเทียบค่าของเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายเครื่ องจักร (น้ าหนักไม่เกิน 10 ตัน) ชนิดอื่น


ก่อนและหลังใช้อุปกรณ์ในการเคลื่อนย้าย

66
บทความวิจยั SAU JOURNAL OF SCIENCE & TECHNOLOGY, Vol. 7, No. 2, July –December 2021

3. ส าหรั บ ค่ าใช้จ่ายในการจัดท าอุปกรณ์ 65.13 บาท/วัน * (คิ ดที่ จานวน 261 วัน ท างานต่ อ ปี
ช่ ว ยการขนย้า ยเครื่ อ งจัก รเพื่ อ ลดเวลาและต้น ทุ น โดยหักลบวันหยุดเสาร์ -อาทิตย์ และวันหยุดราชการ)
โครงการนี้ มีค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นการ 17,000 บาท 4. เปรี ยบเทียบข้อดีและข้อเสี ยของการใช้
โดยคิดเป็ นค่าใช้จ่ายในแต่ละวันที่ดาเนิ นการใช้อยูท่ ี่ อุปกรณ์ช่วยการขนย้ายเครื่ องจักร แสดงผลลัพธ์ดงั
ตารางที่ 5

ตารางที่ 5 เปรี ยบเทียบข้อดีขอ้ เสี ยของการใช้อุปกรณ์ช่วยในการขนย้ายเครื่ องจักร


ข้ อดี ข้ อเสี ย
- ช่วยลดระยะเวลาในการขนย้ายเครื่ องจักร - อุปกรณ์มีน้ าหนักมากเนื่องจากทาจากเหล็กที่หนา
ได้มากขึ้น - สามารถรับน้ าหนักได้สูงสุ ดเพียง 20 ตัน
- ลดค่าใช้จ่ายของทางโรงงานที่ไม่จาเป็ นต้อง - ถ้าเครื่ องจักรมีน้ าหนักมากไม่สามารถใช้แรงคนผลัก
จ้างบริ ษทั ขนย้ายเครื่ องจักร และดันได้ จาเป็ นต้องมีอุปกรณ์ช่วยลากจูง
- ลดค่าใช้จ่ายของทางโรงงานที่ไม่จาเป็ นต้อง
จ้างบริ ษทั ขนย้ายเครื่ องจักร
- สร้างความปลอดภัยแก่พนักงานที่ทาหน้าที่
ขนย้าย ไม่เกิดการเสี ยหายกับตัวเครื่ องจักร

เอกสำรอ้ ำงอิง
[1] S. Takulsubtawee, Handling and Logistics I Wish Jean Co., Ltd.”, NRRU Community
Equipment Design, TPA Publishing, 2005 (in Research Journal vol. 11 no. 1, pp. 85- 93
Thai) (January - April 2017) (in Thai).
[2] Douglas C. Montgomery, Introduction to [5] M. Tunhaw , “Reseacrh and Development of
Statistical Quality Control, John Wiley & Son,
Sugarcane Truck Loading Mechanics”,
2004.
Research Report, Department of Agriculture,
[3] Joseph E. Shigley, Charles R. Mischke,
Richard G. Budynas, Mechanical engineering 2013 (in Thai).
design, Mc Graw Hill, 2003. [6] Beer- Johnston- Eisenberg- Mazurek, Vector
[4] A. Wuttivaranon, S. Kongsuwan, and Mechanics for Engineers Statics 12Ed,
C. Leelasrisiri, “ Development Guideline for McGraw-Hill Book. Singapore, 2019.
Losses Reductionin Process Movement [7] P.Pattising, AutoCAD 2019 for Engineer and
Architecture Drawing, Provision, 2020.
67
บทความวิจยั SAU JOURNAL OF SCIENCE & TECHNOLOGY, Vol. 7, No. 2, July –December 2021

[8] William D. Callister, Jr., David G. Rethwisch, ประวัติผู้ประพันธ์ :


Materials science and engineering: an
introduction 10th ed. Includes index. บุริม นิลแป้น
[9] P.Vengkaew and C.Laprunksee. Steel Quick
Reference Se-ed Education. 2011 (in Thai).
[10] Indyplastic, “Super Lean”, Available form:
ประวัติการศึกษา :
http://www.thaiplastic2012.com/index.php?m
o=3&art=42166649, 2012. - ส าเร็ จการศึ กษาระดับ ปริ ญ าตรี สาขาวิศวกรรม
[11] John Wiley & Sone, Engineering Statistics. เกษตร จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
111 River Street, Hoboken, 2012. - สาเร็ จการศึกษาระดับปริ ญาโท สาขาวิศวกรรมอุต
สาหการ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ประวัติการทางาน :

- ปัจจุบนั เป็ นอาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีโล


จิสติกส์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

งานวิจัยที่สนใจ :

- การควบคุมคุณรู ปในการผลิต, การแก้ไขปรับปรุ ง


ปัญหาในกระบวนการผลิต

68

You might also like