รายงานเล่มจริง

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 38

บทที่ 1

บทนำ
1.1 ความเป็ นมาและความสำคัญของปัญหา
โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลเป็ นโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุ ขหรื อองค์กร
ปกครองส่ วนท้องถิ่นที่มีความสามารถระดับปฐมภูมิ ได้รับการยกระดับเป็ นสถานีอนามัยหรื อศูนย์
สุ ขภาพชุมชนตามนโยบายของรัฐบาลนายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ซึ่ งได้รับจัดสรรงบประมาณ
ตามแผนปฏิบตั ิการไทยเข้มแข็ง พ.ศ. 2555 หมายถึงเป็ นสถานพยาบาลที่ดูแลตั้งแต่เกิด แก่ เจ็บ ตาย ทั้ง
การตรวจสุ ขภาพเบื้องต้น ฝากครรภ์ และสร้างภูมิคุม้ กันโรค นอกจากนี้ ยงั เป็ นแหล่งฝึ กงานที่สำคัญ
สำหรับสถาบันการศึกษาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ( นพ.ชูชยั ศุภวงศ์ , นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ , พญ.ลัดดา ดำริ
การเลิศ , พญ.สุ พตั รา ศรี วณิ ชากร , นพ. เกษม เวชสุ ทรานนท์ และ นพ. ศุภกิจ ศิริลกั ษณ์ ,2552 )
โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลเป็ นสถานพยาบาลขนาดเล็กกว่าที่อื่นและสามารถรองรับผูป้ ่ วย
ได้ครั้งละจำนวนจำกัด บางคนจึงต้องทำงานโรงพยาบาลระดับอำเภอซึ่ งครอบคลุมทุกอำเภอในพื้นที่
อย่างไรก็ตามประชาชนในชนบทและรอบกรุ งเทพมหานครยังคงใช้บริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพ
ตำบลจนกลายเป็ นส่ วนหนึ่งของชุมชน และบ่อยครั้งที่ผคู ้ นเรี ยกพนักงานที่ท ำงานในโรงพยาบาลเหล่านี้
ว่า "หมออนามัย" แม้วา่ จะไม่มีกฎหมายวิชาชีพรองรับการทำงานก็ตาม (ยกเว้นพยาบาลและแพทย์ที่มา
ตรวจคนไข้เป็ นครั้งคราว) อุปสรรคสำคัญของการพัฒนาโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบล คือ การขาด
ความชัดเจนในระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบุคลากร คุณสมบัติ และขอบเขตของงาน อีกทั้งการ
สร้างเครื อข่ายกับองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น (อปท.) และโรงพยาบาลที่พร้อมจะส่ งต่อผูป้ ่ วยไปยังโรง
พยาบาลอำเภอและโรงพยาบาลศูนย์ได้อย่างรวดเร็ วยังทำได้ยาก หากมีอาการหนักจะรับการรักษาใน
โรงพยาบาลที่มีความพร้อม (สรวัชร์ สุ ดแก้ว ,2563 )
จากพัฒนาการของโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลที่กล่าวมา แต่เดิมเคยเป็ นส่ วนหนึ่งของ
ระบบสุ ขภาพไทยในลักษณะทางเลือกที่ช่วยสนับสนุนการให้บริ การของโรงพยาบาลอำเภอ ต่อมามีการ
ปรับปรุ งการให้บริ การ ทำให้ประชาชนในชุมชนเริ่ มมาใช้บริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลมาก
ขึ้น เพราะมีความคุน้ เคยและใกล้ชิดมากกว่าโรงพยาบาลอำเภอ ดังนั้นการแก้ไขปั ญหาและการพัฒนา
รพ.สต.ให้มีคุณภาพและมีความพร้อมด้านบุคลากร จะทำให้โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลเป็ นหลัก
ของการให้บริ การด้านสุ ขภาพอนามัยของชุมชน ซึ่ งช่วยลดภาระโรงพยาบาลอำเภอและโรงพยาบาล
ศูนย์ได้อย่างมากที่สำคัญคือการบำบัดรักษาและการดูแลสุ ขภาพมิให้เกิดการเจ็บป่ วย หรื อรักษาพยาบาล
เสี ยแต่แรก ย่อมเป็ นประโยชน์ต่อระบบสุ ขภาพไทยทั้งในปั จจุบนั และอนาคต เนื่องจากโรงพยาบาลส่ ง
เสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อเป็ นที่พ่ งึ หลักของคนในชุมชน เพื่อทราบถึงคุณภาพการให้บริ การโดยหวัง
ว่าจะได้น ำข้อมูลจากผลงานการ ศึกษาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพเพื่อประโยชน์ของประชาชนและ
พัฒนาหน่วยงานบริ การต่อไป( นพ.ชูชยั ศุภวงศ์ , นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ , พญ.ลัดดา ดำริ การเลิศ ,
พญ.สุ พตั รา ศรี วณิ ชากร , นพ. เกษม เวชสุ ทรานนท์ และ นพ. ศุภกิจ ศิริลกั ษณ์ ,2552 )
1.2 วัตถุประสงค์ ของการศึกษา
 เพื่อศึกษาความพึงพอใจการบริ การของโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพแม่นาเรื อที่
ให้บริ การแก่บุคคลทุพพลภาพ ผูส้ ูงอายุ บุคคลทัว่ ไป
 เพื่อศึกษาความต้องการของผูร้ ับบริ การหรื อข้อเสนอแนะ

1.3 กรอบแนวคิดที่ใช้ ศึกษา


กรอบแนวคิดในการวิจยั จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎี ข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิที่
ได้ศึกษาค้นคว้ามาเรื่ อง การบริ การของโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อ ดังนี้
ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

ความพึงพอใจการบริ การหลัก 5A
1.ความพอเพียงของสถานที่
สถานะ หมูท่ ี่อาศัย
2.สถานที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย
เพศ ช่วงอายุ
3.สะดวกเมื่อใช้บริ การ ขั้นตอนไม่ยงุ่ ยาก
อาชีพ
4.ผูร้ ับบริ การมีความสามารถในการจ่ายค่า
บริ การ
5.ยอมรับคุณภาพความสามารถของบุคลากร
ภาพประกอบที่ 1.1 กรอบแนวคิดที่ใช้ศึกษา
1.4 สมมติฐานการวิจัย
ผูร้ ับเข้าบริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อที่มีสถานะที่มีสถานะ หมู่ที่อาศัย
เพศ ช่วงอายุ และอาชีพที่แตกต่างมีความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน

1.5 ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ


- ทราบถึงความพึงพอใจการบริ การของโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพแม่นาเรื อที่ให้
บริ การแก่บุคคลทุพพลภาพ ผูส้ ูงอายุ บุคคลทัว่ ไป
- โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อทราบถึงความประสงค์ในการรับบริ การ

1.6 ขอบเขตการวิจัย
ขอบเขตด้ านเนือ้ หา
จากการศึกษาเรื่ อง การบริ การของโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อ ในครั้งนี้
ทำเป็ นเชิงสำรวจ สอบถามและทำแบบประเมินความพึงพอใจโดยใช้ทฤษฎีจากหลัก 5A
ตัวแปรต้น ได้แก่ สถานะ หมู่ที่อาศัย เพศ ช่วงอายุ และอาชีพ
ตัวแปรตาม ได้แก่ ความพึงพอใจต่อการรับบริ การ
ขอบเขตด้ านพืน้ ที่
จากการวิจยั ครั้งนี้จะครอบคลุมพื้นที่ที่โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อ หมู่ 9,
ตำบลแม่นาเรื อ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เป็ นฝ่ ายรับผิดชอบจาก 11 หมู่เราจะทำการสุ่ ม
มา 4 หมู่ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 242 คน คิดเป็ น 70% จากตารางสุ่ ม krejcie & morgan 1970
ขอบเขตด้ านระยะเวลา
21 ธันวาคม 2565 – 21 กุมภาพันธ์ 2566
ลงพื้นที่เก็บข้อมูลตัวอย่าง : 18 มกราคม 2566 – 9 กุมภาพันธ์ 2566
ตารางที่ 1 แผนการดำเนินงาน (Gantt Chart)
กิจกรรม วัน/เดือน/ปี
จัดทำโครงร่ างรายงาน 21 ธันวาคม 2565 - 13 มกราคม 2566
จัดทำแบบสอบถาม 14 มกราคม 2566 - 16 มกราคม 2566
ลงพื้นที่เก็บข้อมูล 18 มกราคม 2566 - 9 กุมภาพันธ์ 2566
รวบรวมข้อมูล 10 กุมภาพันธ์ 2566 - 12 กุมภาพันธ์ 2566
วิเคราะห์และสรุ ปข้อมูล 13 กุมภาพันธ์ 2566 - 17 กุมภาพันธ์ 2566
จัดทำรู ปเล่มรายงาน 18 กุมภาพันธ์ 2566 - 20 กุมภาพันธ์ 2566
1.7 คำนิยายศัพท์ เฉพาะ
การบริการ หมายถึง บริ การ หมายถึง การดำเนินการที่ช่วยตอบสนองความต้องการของบุคคลหรื อ
องค์กร เมื่อคนหรื อองค์กรมีความพึงพอใจในบริ การก็จะนำไปสู่ ความสำเร็ จได้ การบำเพ็ญประโยชน์
สามารถเกิดขึ้นได้ในครอบครัว เพื่อน และในสังคมที่กว้างขึ้น ทั้งหมดนี้ก่อให้เกิดความพึงพอใจและ
ออกแบบมาเพื่อให้เกิดความสุ ข
บริการทางสุ ขภาพ หมายถึง การให้บริ การทางการแพทย์และสาธารณสุ ขในรู ปแบบต่างๆเพื่อ
เป็ นการแก้ไขปัญหาและความต้องการของประชาชนในเรื่ องสุ ขภาพอนามัยและเป็ นการยกระดับ
สุ ขภาพอนามัยของประชาชนให้อยูบ่ นรากฐานของการมีสุขภาพอนามัยที่ดี
สิ ทธิในการรับบริการทางสุ ขภาพ และสิ ทธิในการได้ รับการบริการ หมายถึง ประชาชนควรได้รับ
การดูแลที่จ ำเป็ นในสภาพแวดล้อมที่สะอาดและดีปลอดภัยต่อสุ ขภาพ เพื่อให้แน่ใจว่าทุกคนสามารถเข้า
ถึงสุ ขภาพที่ดีได้ รัฐมีหน้าที่ตอ้ งจัดให้มี จัดทำแผนหรื อนโยบายที่เหมาะสมเพื่อให้แน่ใจว่าบริ การเหล่า
นี้จะพร้อมใช้งานโดยเร็ วที่สุดและสามารถประสบความสำเร็ จได้
คุณภาพการให้ บริการ หมายถึง มีคุณสมบัติสามารถจับต้องและไม่สามารถจับต้องได้ เป็ นการให้บริ การ
ที่มีคุณภาพตรงตามความคาดหวังของผูม้ าใช้และการให้บริ การที่มีคุณภาพตรงมาตรฐานตามหลักการ
บริ การ
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
การศึกษาความพึงพอใจและข้อเสนอแนะจากการบริ การของโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพ
ตำบลแม่นาเรื อ โดยรวมรวบแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการศึกษาข้อมูลได้
อย่างมีถูกต้องและประสิ ทธิภาพ มีขอ้ มูลดังนี้
2.1 ความหมายของบริ การ
2.2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับคุณภาพการบริ การ

2.1 ความหมายของบริการ
Kotler (1994) กล่าวไว้วา่ การบริ การ คือ การทำกิจกรรมหรื อการปฏิบตั ิร่วมกันเป็ น
กลุ่มๆ ขณะใดขณะหนึ่ง โดยการบริ การนั้นสามารถนำเสนอสิ่ งสำคัญที่มองไม่เห็นเป็ นตัวตน
และไม่มีผลในการเป็ นเจ้าของ ผลผลิตจากการบริ การสามารถเป็ นหรื อไม่เป็ นผลิตภัณฑ์กไ็ ด้
Max Waber (1996 ) ให้ความหมายเกี่ยวกับทักษะการบริ การ คือ การให้บริ การที่ก่อให้
เกิดประสิ ทธิภาพและเป็ นประโยชน์ต่อประชาชนสูงสุ ด โดยไม่ค ำนึงถึงตัวบุคคล การให้บริ การ
ควรปราศจากอารมณ์ไม่มี ความชอบพิเศษโดยส่ วนตัว ต้องมีการปฏิบตั ิให้เท่าเทียมกันตาม
เกณฑ์เมื่ออยูใ่ นสถานการณ์เดียวกัน
สมิต สัชกร (2543) บริ การ หมายถึง การให้การปฏิบตั ิ ให้ความสะดวกต่างๆ ปฏิบตั ิให้
กับผูร้ ับบริ การเพื่อสนองความต้องการและก่อให้เกิดความสะดวก
ดนัย เทียนพุฒ (2543) กล่าวไว้วา่ เป็ นการเข้าใจและสามารถตอบสนองความต้องการ
ของลูกค้าได้อย่างเหมาะสม มีเป้ าหมายไปสู่ การบริ การที่เป็ นเลิศ
จิตตินนั ท์เดชะคุปต์ (2540) ให้ความหมาย การบริ การ ในที่น้ี มี 2 ฝ่ ายคือ เป็ นการกระทำ
ที่ก่อให้เกิดกิจกรรม การปฏิบตั ิท้งั ฝ่ ายเสนอขายและผูร้ ับมอบบริ การเป็ นกิจกรรมเพื่อให้เกิดการ
ตอบสนองและสร้างความพึงพอใจ การบริ การมีลกั ษณะที่ไม่มีรูปร่ างหรื อตัวตน เป็ นสิ่ งที่เสื่ อม
สูญสลายได้ง่ายโดยเราไม่สามารถจับต้องหรื อสัมผัสได้โดยแต่ละองค์กรมีการแข่งขันการ
บริ การด้วยกลยุทธ์ต่างๆ จากนั้นจะการนำเสนอและบริ การทั้งก่อนและหลังขายให้มี
ประสิ ทธิภาพเพื่อให้เป็ นตัวเลือกที่ดีในการบริ การ
บุษยมาศ แสงเงิน (2552) การกระทำโดยผูใ้ ห้บริ การก่อให้เกิดความสุ ข ความสบายใจ
ความพึงพอใจที่เปี่ ยมไปด้วยความปรารถนาดี ไม่เลือกปฏิบตั ิ มีท้ งั ผูใ้ ห้บริ การและผูร้ ับบริ การ
ความหมายกว้างๆ ของคำว่า “การบริ การ” ก็คือ การกระทำหรื อการปฏิบตั ิโดยดำเนิน
การอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อตอบสนองความต้องการของบุคคลหรื อองค์กร ต้องการสร้างพึงพอใจ
ให้กบั ตัวบุคคลหรื อองค์กรที่มีความต้องการ เนื่องจากผลสำเร็ จของการบริ การขึ้นอยูก่ บั “ความ
พึงพอใจ”ของผูร้ ับบริ การ เป็ นเรื่ องของ ความรู ้สึก การบริ การเกิดขึ้นได้ทุกเมื่อตามสังคม โดย
สถาบันทางสังคมที่เล็กที่สุดในสังคมตั้งแต่ครอบครัว เพื่อนแล้วก็ขยายไปในสังคมที่กว้างขึ้น
การกระทำต่างๆสร้างขึ้นเพื่อก่อให้เกิดความสุ ขและความพึงใจ

2.2 แนวคิดทฤษฎีที่เกีย่ วข้ อง


Schulz & John (2003) เป็ นศึกษาเกี่ยวกับการเข้าถึงบริ การสุ ขภาพของประชาชนโดยใช้หลักการ
5 A (Five A'S) ประกอบในการศึกษา ดังนี้
1. ความพอเพียงของบริ การ หมายถึง ความพอเพียงของผูใ้ ห้บริ การและสถานที่ที่ ให้
บริ การกับประชาชน
2. ความสามารถในการเข้าถึงแหล่งที่ให้บริ การ หมายถึง สถานที่ที่ให้บริ การอยูใ่ นที่ต้ งั ที่
สามารถเดินทางไปใช้บริ การได้อย่างสะดวก
3. ความสะดวกเมื่อใช้บริ การ หมายถึง เมื่อใช้บริ การได้รับความสะดวก รวดเร็ วไม่มี ขั้น
ตอนยุง่ ยากในการให้บริ การ
4. ความสามารถในการจ่ายค่าบริ การเมื่อใช้บริ การ หมายถึง ความสามารถในการที่ ผูใ้ ช้
บริ การสามารถจ่ายได้
5. การยอมรับบริ การที่มีคุณภาพ หมายถึง การยอมรับว่าผูใ้ ห้บริ การสามารถทำงานได้ดี
องค์การอนามัยโลก (2004) เสนอว่าการเข้าถึงบริ การด้านสุ ขภาพจำเป็ นต้องได้รับบริ การปฐม
ภูมิที่ดีซ่ ึงมีให้บริ การแก่สาธารณะ ได้แก่
 ด้านภูมิศาสตร์ (Geographical) เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับการศึกษาโลกรอบตัวเราในแง่
ของระยะทาง เวลาเดินทาง และการเข้าถึงการดูแลสุ ขภาพ
 ด้านการเงิน (Financial) หมายถึง จำนวนเงินที่คุณต้องใช้จ่าย และบริ การด้าน
สุ ขภาพคือสิ่ งที่คุณได้รับเป็ นการตอบแทน
 ด้านวัฒนธรรม (Cultural) วิธีที่เราใช้เทคนิคและวิธีการในการจัดการสุ ขภาพของ
เรา ซึ่งรวมถึงสิ่ งต่างๆ เช่น วิธีที่เราปฏิบตั ิต่อผูป้ ่ วย วัฒนธรรมของชุมชน และ
บุคคลที่ให้การดูแลสุ ขภาพ
 ด้านหน้าที่ (Functional) ควรจัดบริ การด้านสุ ขภาพให้กบั ทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน
ไม่วา่ พวกเขาจะอายุ เพศ สถานภาพการสมรส หรื อสถานะทางสังคมใดก็ตาม
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้บริ การสุ ขภาพของประชาชนมี 7 ปัจจัย ได้แก่ ลักษณะ
ประชากร โครงสร้างทางสังคม ปัจจัยทางสังคมจิตวิทยา ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
แหล่งผลประโยชน์ในชุมชน ปัจจัยการจัดการบริ การสุ ขภาพ และปัจจัยในระบบ
สาธารณสุ ขของประเทศ กระบวนการให้บริ การด้านสุ ขภาพประกอบด้วยการ
กำหนดนโยบาย การจัดสรรทรัพยากร และการกำหนดมาตรฐานคุณภาพ
ผลลัพธ์สุดท้ายคือผลกระทบของการจัดการบริ การสุ ขภาพ
สรุ ปบริ การด้านสุ ขภาพในประเทศไทยส่ วนใหญ่พบว่าสอดคล้องกัน ประชาชนสามารถใช้
บริ การด้านสุ ขภาพและมีให้บริ การในสถานที่ต่างๆ การคมนาคมสะดวกและระยะทางจากที่พกั
ไม่ไกลจากสถานบริ การ การชำระเงินก็ง่ายเช่นกัน บริ การที่ได้รับจากการจัดบริ การสุ ขภาพใน
ประเทศไทยมีการให้บริ การในทั้ง 3 ระดับ บริ การระดับ ปฐมภูมิ (Primary care) บริ การระดับ
ทุติยภูมิ (Secondary care) และบริ การระดับตติยภูมิ (Tertiary care) ดังนั้นพนักงานจึงมีแนวโน้ม
ที่จะได้รับบริ การมากขึ้น และที่สำคัญบริ การที่มีคุณภาพ มีประสิ ทธิภาพ และเป็ นธรรมเป็ นที่น่า
พอใจ มีการให้บริ การที่ไม่ซบั ซ้อน ให้บริ การอย่างครบวงจร เหตุผลหลักที่คนไทยพึงพอใจใน
การดูแลสุ ขภาพของคนไทย

2.3 แนวคิดทฤษฎีเกีย่ วกับคุณภาพการบริการ


Webster's Dictionary (1988) กล่าวไว้วา่ หมายถึง ระดับความเป็ นเลิศหรื อสิ่ งที่ดีกว่า
Donabedian (1980) กล่าวไว้วา่ เป็ นการดูแลคุณภาพ หมายถึง การคำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุ ดของผู ้
ที่ได้รับ การดูแลจะได้รับการวางแผนอย่างรอบคอบเพื่อให้แน่ใจว่าปลอดภัยและได้ประโยชน์
สมาคมแพทย์อเมริ กนั (1986) กล่าวไว้วา่ เป็ นการดูแลที่มีคุณภาพหมายถึง การช่วยให้ผคู ้ นมี
สุ ขภาพที่ดีและสะดวกสบายโดยการทำสิ่ งต่างๆ เช่น การป้ องกันโรค ให้การดูแลที่ดีที่สุดเท่าที่จะเป็ นไปได้
และให้ผปู ้ ่ วยมีส่วนร่ วมในการดูแลของตนเอง การดูแลคุณภาพเกี่ยวข้องกับการใช้ความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ที่
ดีที่สุดเพื่อให้แน่ใจว่าทุกอย่างดำเนินไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ นอกจากนี้ ยงั ต้องมีทกั ษะและทรัพยากรที่
จำเป็ นในการทำงานให้ถูกต้อง
สมิต สัชฌุกร (2542) กล่าวว่า เป็ นบริ การเป็ นสิ่ งที่ช่วยให้ผคู ้ นทำสิ่ งต่างๆ อาจเป็ นสิ่ งที่ผคู ้ นใช้หรื อ
สิ่ งที่ผคู ้ นติดต่อหรื อจัดการด้วย ไม่วา่ จะให้บริ การด้วยวิธีใดก็ตาม สิ่ งสำคัญคือต้องช่วยเหลือและช่วยเหลือผู ้
ที่ใช้บริ การเหล่านั้น
ชัยสมพล ชาวประเสริ ฐ (2549) กล่าวว่า คุณภาพการบริ การคือเมื่อธุรกิจให้บริ การคุณภาพสู งที่ตอบ
สนองความต้องการของลูกค้า สามารถทำได้จนกว่าลูกค้าจะพึงพอใจกับบริ การและเกิดความจงรักภักดี
สรุ ปได้วา่ คุณภาพของการรักษาพยาบาลที่บุคคลได้รับส่ งผลต่อคุณภาพชีวิตสามารถช่วยป้ องกัน
โรคได้ การศึกษานี้ มุ่งพัฒนาคุณภาพการบริ การโดยส่ งเสริ มการป้ องกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้ นฟู
สมรรถภาพ คุณภาพของการบริ การสามารถตัดสิ นได้หลายวิธี วิธีหนึ่งคือการดูวา่ บริ การนั้นตอบสนองความ
คาดหวังของผูร้ ับบริ การได้ดีเพียงใด อีกวิธีหนึ่งคือการดูวา่ มีการสื่ อสารบริ การได้ดีเพียงใด สถานที่ อุปกรณ์
และสิ่ งอำนวยความสะดวกต่างๆ ใช้งานและส่ งมอบบริ การ วิธีตดั สิ นคุณภาพของบริ การเป็ นเครื่ องมือที่
สามารถดูวา่ ระบบที่ใช้ในการให้บริ การนั้นมีระสิ ทธิ ภาพระดับใด
บทที่ 3
วิธีดำเนินการวิจัย
การศึกษาการบริ การของโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อเป็ นวิจยั เชิงปริ มาณและวิจยั เชิง
คุณภาพ ซึ่ งใช้การวิจยั เชิงสำรวจ โดยมีแบบสอบถามเป็ นเครื่ องมือในการจัดเก็บข้อมูลเพื่อการศึกษา โดยมี
ขั้นตอนวิจยั ดังต่อไปนี้
3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
3.2 เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั
3.3 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
3.4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล

3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผูร้ ับบริ การของโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อ หมู่
9 ตำบลแม่นาเรื อ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เนื่องจากทราบขนาดประชากรจะใช้สูตร krejcie &
morgan 1970 (อ้างอิงใน ธีรวุฒิ เอกะกุล 2543)

n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
N = ขนาดของประชากร
e = ระดับความคลาดเคลื่อนของการสุ่ มตัวอย่างที่ยอมรับได้
x²= ค่าไคสแควร์ที่ df เท่ากับ 1 และมีระดับความเชื่อมัน่ 95% โดย ( x² = 3.841)
p = สัดส่ วนของลักษณะที่สนใจในประชากร (ถ้าไม่ทราบให้ก ำหนด p = 0.5)

จากตารางสำเร็ จรู ปของ krejcie & morgan 1970 หาขนาดของกลุ่มตัวอย่าง กำหนดสัดส่ วนโดยให้
ระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ 5%และระดับความเชื่อมัน่ 95% โดยตารางสำเร็ จหาได้ต้ งั แต่ประชากร
และกลุ่มตัวอย่างตั้งแต่ 10 ขึ้นไป ดังนี้
ตารางที่ 2 ขนาดของกลุ่มตัวอย่างของ krejcie & morgan 1970
(ที่มา : Robert V. Krejcie and Earyle W. Morgan, 1970 อ้างใน ธี รวุฒิ เอกะกุล, 2543)
การลงพื้นที่สำรวจความพึงพอใจการให้บริ การของโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่
นาเรื อ สำรวจความต้องการของผูร้ ับบริ การประสงค์ให้มีบริ การรู ปแบบใด จากประชากรจำนวน
3,500 คน จะได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 346 คนจากตารางสุ่ ม krejcie & morgan 1970

3.2 เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยและการเก็บรวบรวมข้ อมูล


แบบสอบถามการได้รับบริ การของโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อแบ่งออก
เป็ น 3 ตอนดังนี้
ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถามสถานะ หมู่ที่อาศัย เพศ ช่วงอายุ อาชีพ
ตอนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริ การ
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะหรื อข้อคิดเห็นเป็ นคำถามปลายเปิ ดและแบบสอบถามความพึงพอใจของ
ประชาชนในพื้นที่ การประเมินความพึงพอใจเป็ นแบบ Rating scale เป็ นการประเมินโดนใช้
หลักการ 5A โดยตัวเลือกในแบบสอบถามมีท้ งั หมด 5 ระดับ ดังนี้
พอใจน้อยที่สุด มีค่าเท่ากับ 1
พอใจน้อย มีค่าเท่ากับ 2
ปานกลาง มีค่าเท่ากับ 3
มาก มีค่าเท่ากับ 4
มากที่สุด มีค่าเท่ากับ 5
แบ่งระดับคะแนนจากแบบสอบวัดได้ 5 ระดับ
ความพึงพอใจด้วยน้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.80
ความพึงพอใจน้อย ค่าเฉลี่ย 1.81 - 2.60
ความพึงพอใจปานกลาง ค่าเฉลี่ย 2.61 - 3.40
ความพึงพอใจมาก ค่าเฉลี่ย 3.41 - 4.20
ความพึงพอใจมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.21- 5.00

3.3 วิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล


การเก็บข้อมูลในรู ปแบบเชิงคุณภาพมี 2 ลักษณะ ได้แก่
1. ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) รวบรวมจากการออกแบบสอบถามและสัมภาษณ์กลุ่ม
ตัวอย่างโดยสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทัว่ ไปของผูร้ ับบริ การ เพศ ช่วงอายุ
แบบสอบถามความคิดเห็นการรับบริ การแบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชน
ในพื้นที่และข้อเสนอแนะหรื อข้อคิดเห็น
2. ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) ได้จากการรวบรวมเอกสาร บทความ สิ่ งพิมพ์และ
เว็บไซต์ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น บทความเกี่ยวกับความหมายของการบริ การ
ข้อมูลจำนวนประชากรในตำบลแม่นาเรื อที่โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นา
เรื อเป็ นผูด้ ูแล

สถิติที่ใช้ การวิเคราะห์ ข้อมูล


การศึกษาในครั้งนี้ท ำการวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมสำเร็ จรู ป
1. สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) เป็ นการศึกษาและวิเคราะห์แบบสอบถามโดยมี
ข้อมูลทัว่ ไปและแบบประเมินความพึงพอใจ
 แบบสอบถามส่ วนที่ 1 เป็ นการศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ มูลส่ วนบุคคล โดยใช้สถิติ
เบื้องต้น ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) และหาค่าความถี่ (frequency)
 แบบสอบถามที่ 2 เป็ นการถามความคิดเห็น ใช้สถิติเบื้องต้น ได้แก่ ค่าเฉลี่ย
(Average) ค่าความถี่ (frequency) และค่าร้อยละ (Percentage)
 แบบสอบถามตอนที่ 3 เป็ นการศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ มูลแบบประเมินความพึง
พอใจโดยใช้สถิติเบื้องต้น ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(SD) ค่าเฉลี่ย (Average) และหาค่าความถี่ (frequency)
2. สถิติเชิงอนุมาน(Inferential Statistics) ใช้เป็ นสถิติในการหาความสัมพันธ์ของข้อมูลและ
ทดสอบสมมติฐาน ได้แก่

ตารางที่ 3 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ขอ้ มูล


สมมติฐาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
1.ผูร้ ับบริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อที่มี
เพศที่แตกต่างมีความพึงพอใจต่อการบริ การที่ต่างกัน T-test, ANOVA
2.ผูร้ ับบริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อที่มี
สถานะ หมู่ที่อาศัย ช่วงอายุและอาชีพที่แตกต่างมีความพึง ANOVA
พอใจต่อการบริ การที่ต่างกัน

3.4 การวิเคราะห์ ข้อมูล


ทำการวิเคราะห์ขอ้ มูลทั้งหมดที่ได้มาด้วยโปรแกรมสำเร็ จรู ปทางสังคมศาสตร์ดงั นี้
3.4.1 ทำการจัดหมวดหมู่ของข้อมูลเพื่อให้ทราบข้อมูลพื้นฐานทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่าง
วิเคราะห์โดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็ นสถิติเชิงพรรณนา
3.4.2 ทำการทดสอบสมมติฐานที่ต้ งั ไว้โดยวิเคราะห์สมมติฐานว่าต้องใช้การทดลอง
แบบ T- Test หรื อ ANOVA เนื่องจากแบบสอบถามมีท้ งั เป็ นมาตรานามบัญญัติและมาตราเรี ยง
อันดับและมาตราอันตราภาคจากการหาค่าเฉลี่ย โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ 0.05
3.4.3 ทำการวิเคราะห์ขอ้ เสนอแนะทั้งหมด
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
การจากศึกษาเรื่ อง การบริ การของโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อ ทางคณะผูจ้ ดั ทำได้
เก็บรวบรวมจากกลุ่มตัวอย่างจากตารางสำเร็ จรู ปของ krejcie & morgan 1970 คิดเป็ น 70% จำนวน 242 คนที่
ผ่านการตรวจสอบและวิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยโปรแกรมสถิติส ำเร็ จรู ปเพื่อการศึกษาทางสังคมศาสตร์ (Statistic
Package for Social Sciences หรื อ SPSS) โดยแบ่งวิเคราะห์เป็ นส่ วนๆ ดังนี้
ส่ วนที่ 1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลส่ วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ สถานะ หมู่ที่อาศัย เพศ
ช่วงอายุ อาชีพ โดยหาสถิติจากการใช้ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ค่าเฉลี่ย (Average)
และหาค่าความถี่ (frequency)
ส่ วนที่ 2 วิเคราะห์แบบสอบถามความคิดเห็นของการบริ การ วิเคราะห์โดยใช้สถิติหาค่าค่าร้อยละ
(Percentage) และความถี่ (frequency)
ส่ วนที่ 3 วิเคราะห์แบบสอบถามความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง หาค่าสถิติโดยใช้ค่าความถี่
(frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และค่าเฉลี่ย (Average)
ส่ วนที่ 4 การทดสอบสมมติฐาน
1. ผูร้ ับเข้าบริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อที่มีสถานะที่มีสถานะ หมู่ที่อาศัย
เพศ ช่วงอายุ และอาชีพที่แตกต่างมีความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
1.1 ผูร้ ับเข้าบริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อที่มีสถานะที่แตกต่างกันมีความ
พึงพอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
1.2 ผูร้ ับเข้าบริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อที่มีหมู่ที่อาศัยที่แตกต่างกันมี
ความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
1.3 ผูร้ ับเข้าบริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อที่มีเพศที่แตกต่างกันมีความพึง
พอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
1.4 ผูร้ ับเข้าบริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อที่มีช่วงอายุที่แตกต่างกันมีความ
พึงพอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
1.5 ผูร้ ับเข้าบริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อที่มีอาชีพที่แตกต่างกันมีความ
พึงพอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
ส่ วนที่ 1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลส่ วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เพศ สถานะ หมู่ที่อาศัย ช่วงอายุ
อาชีพ โดยหาสถิติจากการใช้ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าความถี่ (frequency)

ตารางที่ 3
ข้ อมูลทั่วไป จำนวน (คน) ค่ าร้ อยละ
ผู้ตอบแบบสอบถาม (สถานะ)
ประชาชนทัว่ ไป 111 45.7
ผูท้ ุลพลภาพ 12 4.9
ผูส้ ู งอายุ 120 49.4
รวม 243 100
ที่อยู่
หมู่ที่ 1 60 24.7
หมู่ที่ 8 61 25.1
หมู่ที่ 9 62 25.5
หมู่ที่ 16 60 24.7
รวม 243 100
เพศ
ผูห้ ญิง 143 58.8
ผูช้ าย 100 41.2
รวม 243 100
อายุ
ต่ำกว่า 20 ปี 2 0.8
20-29 ปี 4 1.6
30-39 ปี 4 1.6
40-49 ปี 23 9.5
50-59 ปี 85 35
60 ปี ขึ้นไป 125 51.4
รวม
อาชีพ
นักเรี ยน,นักศึกษา 5 2
พนักงานหรื อลูกจ้างบริ ษทั 6 2.6
ค้าขาย/ประกอบธุรกิจส่ วนตัว 27 11.1
ข้าราชการ,พนักงานรัฐวิสาหกิจ 4 1.6
เกษตรกร,รับจ้างทัว่ ไป 124 51
ว่างานและรับเบี้ยยังชีพผูส้ ูงอายุ 77 31.7
รวม 243 100

ผู้ตอบแบบสอบถาม (สถานะ)
จากตารางที่ 3 กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 243 คน ส่ วนใหญ่เป็ นผูส้ ู งอายุจ ำนวน 120 คน คิดเป็ นร้อยละ
49.4 ประชาชนทัว่ ไปจำนวน 111 คน คิดเป็ นร้อยละ 45.7 และผูท้ ุลพภาพจำนวน 12 คน คิดเป็ นร้อยละ 4.9
ที่อยู่
จากตารางที่ 3 กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 243 คน ส่ วนใหญ่เป็ นประชาชนหมู่ที่ 9 จำนวน 62 คน คิดเป็ น
ร้อยละ 25.5 หมู่ที่ 1 จำนวน 60 คน คิดเป็ นร้อยละ 24.7 หมู่ที่ 8 จำนวน 61 คน คิดเป็ นร้อยละ 25.1 และหมู่ที่
16 มีจ ำนวน 60 คน คิดเป็ นร้อยละ 24.7
เพศ
จากตารางที่ 3 กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 243 คน ส่ วนใหญ่เป็ นผูห้ ญิงจำนวน 143 คน คิดเป็ นร้อยละ
58.8 และผูช้ ายจำนวน 100 คน คิดเป็ นร้อยละ 41.2
อายุ
จากตารางที่ 3 กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 243 คน ส่ วนใหญ่60 ปี ขึ้นไปจำนวน 125 คน คิดเป็ นร้อยละ
51.4 รองลงมา 50-59 ปี จำนวน 85 คน คิดเป็ นร้อยละ 35 ช่วงอายุ 40-49 ปี จำนวน 23 คน คิดเป็ นร้อยละ 9.5
ช่วงอายุ 30-39 ปี จำนวน 4 คน คิดเป็ นร้อยละ 1.6 ช่วงอายุ 20-29 ปี จำนวน 4 คน คิดเป็ นร้อยละ 1.6 และ
ช่วงอายุต ่ำกว่า 20 ปี จำนวน 2 คน คิดเป็ นร้อยละ 0.8 ตามลำดับ

อาชีพ
จากตารางที่ 3 กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 243 คน ส่ วนใหญ่อาชีพเกษตรกร,รับจ้างทัว่ ไป
จำนวน 124 คน คิดเป็ นร้อยละ 51 รองลงมาคือการว่างานและรับเบี้ยยังชีพผูส้ ูงอายุจ ำนวน 77
คน คิดเป็ นร้อยละ 31.7 อาชีพค้าขาย/ประกอบธุรกิจส่ วนตัวจำนวน 27 คิดเป็ นร้อยละ 11.1
อาชีพข้าราชการ,พนักงานรัฐวิสาหกิจจำนวน 4 คน คิดเป็ นร้อยละ 1.6 อาชีพพนักงานหรื อ
ลูกจ้างบริ ษทั จำนวน 6 คน คิดเป็ นร้อยละ 2.6 อนักเรี ยน,นักศึกษาจำนวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 2

ตอนที่ 3 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกับความพึงพอใจกลุ่มตัวอย่างจากการรับบริ การโดยใช้


สถิติในการคำนวณและวิเคราะห์จะได้ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย
และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
เกณฑ์ในการจัดคะแนนเฉลี่ยและการแปลความหมายคะแนนเฉลี่ย ดังนี้
แบ่งระดับคะแนนจากแบบสอบวัดได้ 5 ระดับ
ความพึงพอใจด้วยน้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.80
ความพึงพอใจน้อย ค่าเฉลี่ย 1.81 - 2.60
ความพึงพอใจปานกลาง ค่าเฉลี่ย 2.61 - 3.40
ความพึงพอใจมาก ค่าเฉลี่ย 3.41 - 4.20
ความพึงพอใจมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.21- 5.00

ตารางที่ 4 ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตราฐานของระดับความพึงพอใจของ


การรับบริ การของกลุ่มตัวอย่าง
ระดับความพึงพอใจ
แบบสอบถาม ค่ า S.D. เกณฑ์
(5) (4) (3) (2) (1)
ความพึงพอใจ เฉลีย่ ประเมิน
มาก มาก ปาน น้ อย น้ อย
ที่สุด กลา ที่สุด

1.ด้ านกระบวนการให้ บริการ
1.1 การให้บริ การ 148 60 10 0 0 4.63 0.569 มาก
ตามลำดับก่อน - 67.8 27.6 4.6 0 0 ที่สุด
หลัง
1.2 ความเสมอ 131 77 10 0 0 4.55 0.581 มาก
ภาคในการรักษา 60.1 35.3 4.6 0 0 ที่สุด
พยาบาล
1.3 การได้รับการ 132 67 19 0 0 4.51 0.651 มาก
บริ การที่สะดวก 60.6 30.7 8.7 0 0 ที่สุด
รวดเร็ วและชัดเจน
1.4 การได้รับ 139 64 15 0 0 4.56 0.618 มาก
บริ การที่ตรงความ 63.8 29.4 6.8 0 0 ที่สุด
ต้องการ ถูกต้อง
ครบถ้วน
1.5 ท่านได้รับ 126 72 19 0 0 4.47 0.717 มาก
บริ การที่สุภาพนุ่ม 57.8 33 8.7 0 0
นวล
1.6 การมีส่วนใน 134 61 21 1 0 4.48 0.802 มาก
การตัดสิ นใจเลือก 61.8 28.1 9.7 0.4
รับบริ การ วิธี
รักษาพยาบาลและ
สามารถจ่ายค่า
บริ การเมื่อเข้ารับ
บริ การ
1.7 ท่านได้รับ 141 58 18 1 0 4.54 0.723 มาก
บริ การที่สะดวก 64.7 26.6 8.3 0.4 ที่สุด
รวดเร็ วปลอดภัย
รวม 951 459 112 2 0 4.53 0.67 มาก
ที่สุด
2.ด้ านการให้ บริการของเจ้ าหน้ าที่ / บุคลากรที่ให้ บริการ
2.1 เจ้าหน้าที่ของ 143 61 12 0 0 4.56 0.734 มาก
รพสต.แม่นาเรื อ 66.2 28.2 5.6 0 0 ที่สุด
สนใจรับฟังปัญหา
ตอบคำถาม และ
ให้ค ำปรึ กษาด้วย
ความเต็มใจบริ การ

2.2 การแต่งกาย 143 62 13 0 0 4.59 0.599 มาก


กริ ยามารยาท และ 65.6 28.4 6 0 0 ที่สุด
พฤติกรรมการ
บริ การของผูใ้ ห้
บริ การ
2.3 ท่านได้รับการ 129 71 15 0 0 4.46 0.813
เอาใจใส่ 60 28.4 6 0 0
กระตือรื อร้น
ในการให้บริ การ
ของเจ้าหน้าที่

รวม 415 194 40 0 0 4.53 0.72 มาก


ที่สุด
3.ด้ านสิ่ งอำนวยความสะดวก / สถานที่
3.1 รพสต.มีการ 117 78 21 1 1 4.42 0.691 มาก
จัดพื้นที่ให้นงั่ รอ 53.7 35.8 9.6 0.45 0.45
อย่างเพียงพอ
3.2 ความสะดวก 109 88 19 2 0 4.40 0.622 มาก
พร้อมใช้งาน ของ 50 40.4 8.7 0.9 0
เครื่ องมือและ
อุปกรณ์การแพทย์
3.3 สถานที่ตรวจ 129 70 18 1 0 4.50 0.633 มาก
ของ รพสต.แม่นา 59.1 32.1 8.25 0.4 0 ที่สุด
เรื อมิดชิด
มีหอ้ งเป็ นสัดส่ วน
มีความสะอาดเป็ น
ระเบียบ อากาศ
ถ่ายเทได้ดีและ
เป็ นระเบียบ
3.4 อุปกรณ์เครื่ อง 137 59 22 0 0 4.52 0.671 มาก
มือ ที่ใช้มีความ 62.8 27.1 10.1 0 0 ที่สุด
สะอาด
3.5 รพ.สต.แม่นา 131 66 20 1 0 4.50 0.647 มาก
เรื อมีการจัดสิ่ ง 60.1 30.3 9.2 0.4 0 ที่สุด
แวดล้อมสถานที่
ตั้งบริ เวณอาคาร
และที่พกั ที่ต้งั ที่
สะดวกต่อการใช้
บริ การ

รวม 623 361 100 5 1 4.5 0.65 มาก


ที่สุด
4.ความพึงพอใจต่ อคุณภาพการบริการในภาพรวม
4.1 ความพึงพอใจ 146 57 15 0 0 4.60 0.614 มาก
การให้บริ การของ 67 26.1 6.9 0 0 ที่สุด
เจ้าหน้าที่
4.2 ความพึงพอใจ 139 68 11 0 0 4.58 0.585 มาก
ต่อสถานที่ ที่ได้ 63.8 31.2 5 0 0 ที่สุด
รับบริ การ
4.3 ความพึงพอใจ 150 58 9 1 0 4.64 0.546 มาก
ต่อการได้รับ 68.8 26.6 4.1 0.5 0 ที่สุด
บริ การ
รวม 435 183 35 1 0 4.61 0.582 มาก
ที่สุด

ด้ านกระบวนการให้ บริการ
จากตารางที่ 4 กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการบริ การด้านกระบวนการให้
บริ การโดยรวยอยูร่ ะดับดีมาก โดยมีภาพรวมค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.53 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(SD) เท่ากับ 0.67 เมื่อพิจารณาเป็ นราย ข้อพบว่า การให้บริ การตามลำดับก่อน - หลังค่าเฉลี่ย (x̅)
เท่ากับ 4.63 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.569 ความเสมอภาคในการรักษาพยาบาลค่า
เฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.59 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.599 การได้รับการบริ การที่สะดวก
รวดเร็ วและชัดเจน ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.51 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.651 การได้
รับบริ การที่ตรงความต้องการ ถูกต้อง ครบถ้วน ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.56 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(SD) เท่ากับ 0.618 การได้รับบริ การที่สุภาพนุ่มนวล ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.47 ส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.717 การมีส่วนในการตัดสิ นใจเลือกรับบริ การ วิธีรักษาพยาบาลและ
สามารถจ่ายค่าบริ การเมื่อเข้ารับบริ การ ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.48 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)
เท่ากับ 0.802 ท่านได้รับบริ การที่สะดวกรวดเร็ วปลอดภัย บริ การ ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.54 ส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.723 ตามลำดับ

ด้ านการให้ บริการของเจ้ าหน้ าที่ / บุคลากรที่ให้ บริการ


จากตารางที่ 4 กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการบริ การด้านการให้บริ การของเจ้า
หน้าที่ / บุคลากรที่ให้บริ การโดยรวยอยูร่ ะดับดีมาก โดยมีภาพรวมค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.53 ส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.71 เมื่อพิจารณาเป็ นราย ข้อพบว่าด้านเจ้าหน้าที่ของโรง
พยาบาลส่ งเสริ มสุขภาพแม่นาเรื อสนใจรับฟังปัญหา ตอบคำถาม และให้ค ำปรึ กษาด้วยความ
เต็มใจบริ การ ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.56 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.73 การแต่งกาย
กริ ยามารยาท และพฤติกรรมการบริ การของผูใ้ ห้บริ การ บริ การ ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.59 ส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.59 ท่านได้รับการเอาใจใส่ กระตือรื อร้นในการให้บริ การของ
เจ้าหน้าที่ ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.46 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.81
ด้ านสิ่ งอำนวยความสะดวก / สถานที่
จากตารางที่ 4 กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการบริ การด้านสิ่ งอำนวยความสะดวก /
สถานที่โดยรวยอยูร่ ะดับดี โดยมีภาพรวมค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.47 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)
เท่ากับ 0.65 การจัดพื้นที่ให้นงั่ รออย่างเพียงพอมีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.42 ส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.69 ความสะดวก พร้อมใช้งาน ของเครื่ องมือและอุปกรณ์การแพทย์ มี
ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.4 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.62 สถานที่ตรวจของ รพสต.แม่
นาเรื อมิดชิด มีหอ้ งเป็ นสัดส่ วนมีความสะอาดเป็ นระเบียบ อากาศถ่ายเทได้ดีและเป็ นระเบียบมี
ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.5 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.63 อุปกรณ์เครื่ องมือ ที่ใช้มีความ
สะอาดมีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.52 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.67 การจัดสิ่ งแวดล้อม
สถานที่ต้ งั บริ เวณอาคารและที่พกั ที่ต้งั ที่สะดวกต่อการใช้บริ การมีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.5 ส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.65 ตามลำดับ
ความพึงพอใจต่ อคุณภาพการบริการในภาพรวม
จากตารางที่ 4 กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการบริ การด้านกระบวนการให้บริ การ
โดยรวยอยูร่ ะดับดีมาก โดยมีภาพรวมค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.61 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)
เท่ากับ 0.58 ความพึงพอใจการให้บริ การของเจ้าหน้าที่มีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.60 ส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.61 ความพึงพอใจต่อสถานที่ ที่ได้รับบริ การมีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ
4.58 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.59 ความพึงพอใจต่อการได้รับบริ การมีค่าเฉลี่ย (x̅)
เท่ากับ 4.64 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.546 ตามลำดับ

ส่ วนที่ 4 การทดสอบสมมติฐาน
ผูร้ ับเข้าบริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อที่มีสถานะที่มีสถานะ หมู่ที่
อาศัย เพศ ช่วงอายุ และอาชีพที่แตกต่างมีความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
1.ผูร้ ับเข้าบริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อที่มีสถานะที่แตกต่างกัน
มีความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
H0 : สถานะที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ไม่ต่างกัน
H1 : สถานะที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
สำหรับสถิติที่ใช้วิเคราะห์สมมติฐานจะใช้การทดสอบค่า โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทาง
เดียว (One Way Analysis of Variance : One – Way ANOVA) ใช้ระดับความเชื่อมัน่ ร้อยละ 95
ดังนั้น จะ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H) ก็ต่อเมื่อ Sig. (2 – tailed) มีค่าน้อยกว่า 0.05
ตารางที่ 5 วิเคราะห์สถานะของกลุ่มตัวอย่างต่อความพึงพอใจการรับบริ การ
ความพึงพอใจ แหล่งความ SS Df MS F Sig
โดยรวม แปรปรวน
ความพึงพอใจ ระหว่างกลุ่ม 1.53 2 0.76 2.637 0.74
การให้บริ การ
ของเจ้าหน้าที่
ภายในกลุ่ม 62.18 215 0.289
รวม 63.708 217
ความพึงพอใจ ระหว่างกลุ่ม 2.77 3 0.92 3.24 0.02
ต่อสถานที่
ที่ได้รับบริ การ ภายในกลุ่ม 60.93 214 0.29
รวม 63.70 217
ความพึงพอใจ ระหว่างกลุ่ม 9.88 8 1.23 4.765 น้อยกว่า
ต่อการได้รับ 0.01
บริ การ ภายในกลุ่ม 52.85 204 0.26
รวม 62.72 212
รวม ระหว่างกลุ่ม 5.325 5 1.07 1.13 0.35
ภายในกลุ่ม 199.5 212 0.94
รวม 204.8 217

จากตารางที่ 5 ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างสถานะของกลุ่มตัวอย่างต่อความพึงพอใจ
การรับบริ การจําแนกตามถานะ มีค่า Sig. เท่ากับ 0.35 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 คือ ปฏิเสธสมมติฐาน
หลัก (H) และยอมรับสมมติฐานรอง (H) หมายความว่า สถานะที่แตกที่ต่างกันมีความพึงพอใจ
ในการรับบริ การต่างกัน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ต้ งั
ไว้
2.ผูร้ ับเข้าบริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อที่มีหมู่ที่อาศัยที่แตกต่างกัน
มีความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
H0 : หมู่ที่อาศัยที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ไม่ต่างกัน
H1 : หมู่ที่อาศัยที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
สำหรับสถิติที่ใช้วิเคราะห์สมมติฐานจะใช้การทดสอบค่า โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทาง
เดียว ( (One Way Analysis of Variance : One – Way ANOVA) ใช้ระดับความเชื่อมัน่ ร้อยละ 95
ดังนั้น จะ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H) ก็ต่อเมื่อ Sig. (2 – tailed) มีค่าน้อยกว่า 0.05
ตารางที่ 6 วิเคราะห์หมู่ที่อาศัยของกลุ่มตัวอย่างต่อความพึงพอใจการรับบริ การ
ความพึงพอใจโดย แหล่งความ
รวม แปรปรวน SS Df MS F Sig
ความพึงพอใจการ ระหว่างกลุ่ม 0.99 2 0.496 1.31 0.271
ให้บริ การของเจ้า
หน้าที่ ภายในกลุ่ม 81.29 215 0.378
รวม 82.28 217
ความพึงพอใจต่อ ระหว่างกลุ่ม 1.12 2 0.56 1.64 0.20
สถานที่ ภายในกลุ่ม 73.71 215 0.34
ที่ได้รับบริ การ รวม 74.84 217
ความพึงพอใจต่อ ระหว่างกลุ่ม 2.79 2 1.396 4.19 0.016
การได้รับบริ การ
ภายในกลุ่ม 71.58 215 0.33
รวม 74.37 217
รวม ระหว่างกลุ่ม 8.68 5 1.74 1.44 0.21
ภายในกลุ่ม 255.81 212 1.20
รวม 264.50 217

จากตารางที่ 6 ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างของหมู่ที่อาศัยต่อความพึงพอใจการรับ
บริ การจําแนกตามหมู่ที่อาศัย มีค่า Sig. เท่ากับ 0.21 ซึ่งน้อยกว่ากว่า 0.05 คือปฏิเสธสมมติฐาน
หลัก (H) และยอมรับสมมติฐานรอง (H) หมายความว่า หมู่ที่อาศัยแตกต่างกันมีความพึงพอใจ
ในการรับบริ การต่างกัน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ต้ งั
ไว้
3.ผูร้ ับเข้าบริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อที่มีเพศที่แตกต่างกันมีความพึง
พอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
H0 : เพศที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ไม่ต่างกัน
H1 : เพศที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
สำหรับสถิติที่ใช้วิเคราะห์สมมติฐานจะใช้การทดสอบค่า โดยใช้สถิติ (Independent Samples T
– test) ใช้ระดับความเชื่อมัน่ ร้อยละ 95 ดังนั้น จะปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H) ก็ต่อเมื่อ Sig. (2 –
tailed) มีค่าน้อยกว่า 0.05
ตารางที่ 7 วิเคราะห์เพศของกลุ่มตัวอย่างต่อความพึงพอใจการรับบริ การ
ความพึงพอใจ เพศ N x̅ S.D T Df Sig
โดยรวม
ความพึงพอใจ หญิง 123 4.60 0.61 44.62 216 น้อยกว่า
การให้บริ การ ชาย 95 3.89 0.49 0.01
ของเจ้าหน้าที่
ความพึงพอใจ หญิง 123 4.59 0.58
ต่อสถานที่
ที่ได้รับ ชาย 95 3.68 0.49
บริ การ
ความพึงพอใจ หญิง 123 4.64 0.59
ต่อการได้รับ
บริ การ ชาย 95 3.71 0.49

จากตารางที่ 7 ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างเพศต่อความพึงพอใจการรับบริ การ จําแนก


ตามเพศ มีค่า Sig. น้อยกว่า 0.01 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 คือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H) และ ยอมรับ
สมมติฐานรอง (H) หมายความว่า เพศที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจในการรับบริ การต่างกัน
อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ต้ งั ไว้
4.ผูร้ ับเข้าบริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อที่มีช่วงอายุที่แตกต่างกันมีความพึง
พอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
H0 : ช่วงอายุที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ไม่ต่างกัน
H1 : ช่วงอายุที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
สำหรับสถิติที่ใช้วิเคราะห์สมมติฐานจะใช้การทดสอบค่า โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทาง
เดียว ( (One Way Analysis of Variance : One – Way ANOVA) ใช้ระดับความเชื่อมัน่ ร้อยละ 95
ดังนั้น จะ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H) ก็ต่อเมื่อ Sig. (2 – tailed) มีค่าน้อยกว่า 0.05
ตารางที่ 8 วิเคราะห์ช่วงอายุของกลุ่มตัวอย่างต่อความพึงพอใจการรับบริ การ
ความพึงพอใจโดยรวม แหล่งความ SS Df MS F Sig
แปรปรวน
ความพึงพอใจการให้ ระหว่างกลุ่ม 3.802 5 0.76 2.05 0.72
บริ การของเจ้ าหน้ าที่
ภายในกลุ่ม 78.47 212 0.37
รวม 82.28 217
ความพึงพอใจต่อ ระหว่างกลุ่ม 1.75 5 0.351 1.02 0.41
สถานที่
ที่ได้รับบริ การ ภายในกลุ่ม 73.09 212 0.35
รวม 74.84 217
ความพึงพอใจต่อ ระหว่างกลุ่ม 3.78 5 0.76 2.27 0.05
การได้รับบริ การ
ภายในกลุ่ม 70.59 212 0.33
รวม 74.37 217
รวม ระหว่างกลุ่ม 3.73 5 0.75 1.10 0.36
ภายในกลุ่ม 143.43 212 0.68
รวม 147.16 217
จากตารางที่ 8 ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างช่วงอายุต่อความพึงพอใจการบริ การ
จําแนกตามช่วงอายุ มีค่า Sig. เท่ากับ 0.36 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 คือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H) และ
ยอมรับสมมติฐานรอง (H) หมายความว่า ช่วงอายุแตกต่างมีความพึงพอใจในการรับบริ การต่าง
กัน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ต้ งั ไว้
5.ผูร้ ับเข้าบริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อที่มีอาชีพที่แตกต่างกันมีความพึง
พอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
H0 : อาชีพที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ไม่ต่างกัน
H1 : อาชีพที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
สำหรับสถิติที่ใช้วิเคราะห์สมมติฐานจะใช้การทดสอบค่า โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทาง
เดียว ( (One Way Analysis of Variance : One – Way ANOVA) ใช้ระดับความเชื่อมัน่ ร้อยละ 95
ดังนั้น จะ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H) ก็ต่อเมื่อ Sig. (2 – tailed) มีค่าน้อยกว่า 0.05
ตารางที่ 9 วิเคราะห์อาชีพของกลุ่มตัวอย่างต่อความพึงพอใจการรับบริ การ
ความพึงพอใจโดยรวม แหล่งความ SS Df MS F Sig
แปรปรวน
ความพึงพอใจการให้ ระหว่างกลุ่ม 13.65 8 1.71 5.15 น้อยกว่า
บริ การของเจ้าหน้าที่ 0.01
ภายในกลุ่ม 67.63 204 0.332
รวม 81.28 212
ความพึงพอใจต่อสถาน ระหว่างกลุ่ม 11.75 8 1.47 4.8 น้อยกว่า
ที่ 0.01
ที่ได้รับบริ การ ภายในกลุ่ม 62.06 204 0.30
รวม 73.81 212
ความพึงพอใจต่อการได้ ระหว่างกลุ่ม 8.07 8 1.009 3.1 0.002
รับบริ การ
ภายในกลุ่ม 65.36 204 0.32
รวม 73.44 212
รวม ระหว่างกลุ่ม 14.45 5 2.89 0.92 0.47
ภายในกลุ่ม 648.03 207 3.13
รวม 662.49 212

จากตารางที่ 9 ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างของอาชีพต่อความพึงพอใจการรับบริ การ


จําแนกตามอาชีพ มีค่า Sig. เท่ากับ 0.47 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 คือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H) และ
ยอมรับสมมติฐานรอง (H) หมายความว่า อาชีพที่แตกต่างมีความพึงพอใจในการรับบริ การต่าง
กัน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ต้ งั ไว้

ตารางที่ 10 แบบสอบถามคิดเห็นส่ วนที่ 2 ใช้สถิติเบื้องต้น ได้แก่ ค่าความถี่ (frequency) และค่า


ร้อยละ (Percentage)
แบบสอบถาม ค่าความถี่ ร้อยละ ร่ มเย็น สงบ บริ การดี ใส่ ใจ ความเหมาะสม
การบริ การ 180 82.5% 165 0 0 165
ของ
รพ.สต.แม่นา
เรื อมีลกั ษณะ
ความคิดเห็น 212 97.25% 0 194 212 200
กับการให้
บริ การของ
เจ้าที่
คิดเห็น 214 98.17% 0 210 212 211
อย่างไรกับ
การให้บริ การ

ตารางที่ 11 ค่าความถี่จากข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะ ค่าความถี่
เสนอให้มีวคั ซีนป้ องกันโรคพิษสุ นขั บ้าใน 6
โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อ
สิ ทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลของราชการ อยาก 12
ให้มีการเบิกได้ ณ ที่ที่ไปรักษา เนื่องจากบาง
คนไม่สะดวกสำรองจ่ายล่วงหน้า

บทที่ 5
บทสรุป
5.1 อภิปรายผล
จากการวิจยั เรื่ อง การบริ การของโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อ มี
วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อศึกษาความพึงพอใจการบริ การของโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพ
แม่นาเรื อที่ให้บริ การแก่บุคคลทุพพลภาพ ผูส้ ูงอายุ บุคคลทัว่ ไปและเพื่อศึกษาความต้องการของ
ผูร้ ับบริ การหรื อข้อเสนอแนะในจังหวัดพะเยา
การวิจยั การบริ การของโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อเป็ นวิจยั เชิงปริ มาณ
และวิจยั เชิงคุณภาพ โดยมีจ ำนวนกลุ่มตัวอย่าง 346 คน จากการสำรวจเก็บข้อมูล 243 คน คิดเป็ น
70% จากกลุ่มตัวอย่าง โดยคณะผูว้ ิจยั ได้ต้ งั สมมติฐานดังนี้
1. ผูร้ ับเข้าบริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อที่มีสถานะที่มีสถานะ หมู่ที่
อาศัย เพศ ช่วงอายุ และอาชีพที่แตกต่างมีความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
เครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อศึกษาวิจยั เชิงสำรวจจะใช้แบบสอบถาม โดยมีรูป
แบบคำถามออกเป็ น 3 ส่ วนดังนี้
ส่ วนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม เพศ ช่วงอายุ อาชีพ ที่อยู่
ส่ วนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็น
ส่ วนที่ 3 แบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่และข้อเสนอแนะหรื อ
ข้อคิดเห็น
สถิติที่ใช้ศึกษา
 สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) เป็ นการศึกษาและวิเคราะห์แบบสอบถาม
ใช้สถิติเบื้องต้น ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ค่าเฉลี่ย
(Average) และหาค่าความถี่ (frequency)
 สถิติเชิงอนุมาน(Inferential Statistics) ใช้เป็ นสถิติในการหาความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลและ ทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ T-test, ANOVA
5.2 สรุปผลการวิจัย
ด้ านกระบวนการให้ บริการ
จากตารางที่ 4 กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการบริ การด้านกระบวนการให้บริ การ
โดยรวยอยูร่ ะดับดีมาก โดยมีภาพรวมค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.53 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)
เท่ากับ 0.67 เมื่อพิจารณาเป็ นราย ข้อพบว่า การให้บริ การตามลำดับก่อน - หลังค่าเฉลี่ย (x̅)
เท่ากับ 4.63 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.569 ความเสมอภาคในการรักษาพยาบาลค่า
เฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.59 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.599 การได้รับการบริ การที่สะดวก
รวดเร็ วและชัดเจน ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.51 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.651 การได้
รับบริ การที่ตรงความต้องการ ถูกต้อง ครบถ้วน ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.56 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(SD) เท่ากับ 0.618 การได้รับบริ การที่สุภาพนุ่มนวล ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.47 ส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.717 การมีส่วนในการตัดสิ นใจเลือกรับบริ การ วิธีรักษาพยาบาลและ
สามารถจ่ายค่าบริ การเมื่อเข้ารับบริ การ ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.48 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)
เท่ากับ 0.802 ท่านได้รับบริ การที่สะดวกรวดเร็ วปลอดภัย บริ การ ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.54 ส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.723 ตามลำดับ

ด้ านการให้ บริการของเจ้ าหน้ าที่ / บุคลากรที่ให้ บริการ


จากตารางที่ 4 กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการบริ การด้านการให้บริ การของเจ้า
หน้าที่ / บุคลากรที่ให้บริ การโดยรวยอยูร่ ะดับดีมาก โดยมีภาพรวมค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.53 ส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.71 เมื่อพิจารณาเป็ นราย ข้อพบว่าด้านเจ้าหน้าที่ของโรง
พยาบาลส่ งเสริ มสุขภาพแม่นาเรื อสนใจรับฟังปัญหา ตอบคำถาม และให้ค ำปรึ กษาด้วยความ
เต็มใจบริ การ ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.56 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.73 การแต่งกาย
กริ ยามารยาท และพฤติกรรมการบริ การของผูใ้ ห้บริ การ บริ การ ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.59 ส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.59 ท่านได้รับการเอาใจใส่ กระตือรื อร้นในการให้บริ การของ
เจ้าหน้าที่ ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.46 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.81

ด้ านสิ่ งอำนวยความสะดวก / สถานที่


จากตารางที่ 4 กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการบริ การด้านสิ่ งอำนวยความสะดวก /
สถานที่โดยรวยอยูร่ ะดับดี โดยมีภาพรวมค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.47 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)
เท่ากับ 0.65 การจัดพื้นที่ให้นงั่ รออย่างเพียงพอมีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.42 ส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.69 ความสะดวก พร้อมใช้งาน ของเครื่ องมือและอุปกรณ์การแพทย์ มี
ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.4 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.62 สถานที่ตรวจของ รพสต.แม่
นาเรื อมิดชิด มีหอ้ งเป็ นสัดส่ วนมีความสะอาดเป็ นระเบียบ อากาศถ่ายเทได้ดีและเป็ นระเบียบมี
ค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.5 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.63 อุปกรณ์เครื่ องมือ ที่ใช้มีความ
สะอาดมีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.52 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.67 การจัดสิ่ งแวดล้อม
สถานที่ต้ งั บริ เวณอาคารและที่พกั ที่ต้งั ที่สะดวกต่อการใช้บริ การมีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.5 ส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.65 ตามลำดับ
ความพึงพอใจต่ อคุณภาพการบริการในภาพรวม
จากตารางที่ 4 กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการบริ การด้านกระบวนการให้บริ การ
โดยรวยอยูร่ ะดับดีมาก โดยมีภาพรวมค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.61 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)
เท่ากับ 0.58 ความพึงพอใจการให้บริ การของเจ้าหน้าที่มีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ 4.60 ส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.61 ความพึงพอใจต่อสถานที่ ที่ได้รับบริ การมีค่าเฉลี่ย (x̅) เท่ากับ
4.58 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.59 ความพึงพอใจต่อการได้รับบริ การมีค่าเฉลี่ย (x̅)
เท่ากับ 4.64 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.546 ตามลำดับ

ผลการทดลองสมมติฐาน
ผูร้ ับเข้าบริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อที่มีสถานะที่มีสถานะ หมู่ที่
อาศัย เพศ ช่วงอายุ และอาชีพที่แตกต่างมีความพึงพอใจต่อการรับบริ การที่ต่างกัน
 กลุ่มตัวอย่างที่มีสถานะแตกต่างกันมีความพึงพอใจในการรับบริ การต่างกัน อย่าง
มีนยั สําคัญทางสถิติ
 กลุ่มตัวอย่างที่มีหมู่อาศัยแตกต่างกันมีความพึงพอใจในการรับบริ การต่างกัน
อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ
 กลุ่มตัวอย่างที่มีเพศแตกที่ต่างกันมีความพึงพอใจในการรับบริ การต่างกัน อย่างมี
นัยสําคัญทางสถิติ
 กลุ่มตัวอย่างที่มีช่วงอายุแตกต่างกันมีความพึงพอใจในการรับบริ การต่างกัน
อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ
 กลุ่มตัวอย่างที่มีอาชีพที่แตกต่างกันมีความพึงพอใจในการรับบริ การต่างกัน
อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ

ตารางแบบสอบถามคิดเห็นส่ วนที่ 2
แบบสอบถาม ค่าความถี่ ร้อยละ ร่ มเย็น สงบ บริ การดี ใส่ ใจ ความเหมาะสม
การบริ การ 180 82.5% 165 0 0 165
ของ
รพ.สต.แม่นา
เรื อมีลกั ษณะ
ความคิดเห็น 212 97.25% 0 194 212 200
กับการให้
บริ การของ
เจ้าที่
คิดเห็น 214 98.17% 0 210 212 211
อย่างไรกับ
การให้บริ การ

5.3 ข้ อเสนอแนะ
เสนอให้มีวคั ซีนป้ องกันโรคพิษสุ นขั บ้าในโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อ
มีค่าความถี่ เท่ากับ 6 และสิ ทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลของราชการ อยากให้มีการเบิกได้ ณ ที่ที่ไป
รักษา เนื่องจากบางคนไม่สะดวกสำรองจ่ายล่วงหน้า มีค่าความถี่ เท่ากับ 12
จากส่ วนหน้าที่ของทางองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดที่สามารถรับผิดชอบหรื อทำงาน
ดำเนินงานต่อไปได้น้ นั เป็ นข้อเสนอด้านวัคซีนป้ องกันโรคพิษสุ นขั บ้าในโรงพยาบาลส่ ง
เสริ มสุ ขภาพตำบลแม่นาเรื อ เนื่องจากทางองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดมีภารกิจในการสนับสนุน
งบประมาณในเรื่ องของยาและเวชภัณฑ์

บรรณานุกรม (ตามรู ปแบบ APA)
รจนา ภู่มาลา. (2553). แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั การบริ การ. สื บค้น 21 ธันวาคม จาก
http://cms.dru.ac.th/jspui/bitstream/123456789/108/7/unit2.pdf

แนวคิดทฤษฎีและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง. สื บค้น 21 ธันวาคม 2565 จาก https://research-


system.siam.edu/images/thesisphd/An_Access_to_Health_Service_Management_Model_of_T
ransnational_Myanmar_Labours_in_Thailand/05_ch2.pdf

ความหมายการบริ การ. สื บค้น 21 ธันวาคม 2565 จาก


http://www.laae.go.th/datacenter/doc_download/a_261118_164255.pdf

โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตำบล. (2552). คู่มือการให้บริ การของโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพ
ตำบล. สื บค้น 21 ธันวาคม 2565 จาก
http://203.157.172.1/computer/web51v2/filenewspay/021109011051.pdf?
fbclid=IwAR1imOHIKmNjm5lcz36fS5x89sFYmPOXnD4JqtahvwBs7DyhEG90tnInulQ

สรวัชร์ สุ ดแก้ว. (2563). คุณภาพการให้บริ การของโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุขภาพตำบลวังดาล


อำเภอกบินทร์บุรีจงั หวัดปราจีนบุรี. สื บค้น สื บค้น 21 ธันวาคม 2565
จาก http://ir.buu.ac.th/dspace/bitstream/1513/220/1/61930026.pdf?fbclid=IwAR1Ldydlzrz-
IUEL1hyQI3oBFmBqiTbsoZHiYisjJZMS0vxqAEweeuq2ug4

กมลชนก บุญมี. (2560). การเลือกใช้บริ การทางสุ ขภาพ. สื บค้น 21 ธันวาคม


2565 จาก file:///C:/Users/ACER/Downloads/%E0%B8%AA
%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%9B
%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A
%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%99_
%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87_
%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0
%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%9A
%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0
%B8%B2%E0%B8
%87%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E
12221421.pdf

สถิติที่ใช้ในการประเมินผล. สื บค้น 21 ธันวาคม 2565 จาก https://agecon-


extens.agri.cmu.ac.th/Course_online/Course/352441/Slide%20E-Learning/%E0%B8%9A
%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%209.1%20%E0%B8%AA
%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%
B9%88%E0%B9%83%E0%B8%8A
%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%
B8%9B
%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0
%B8%9C%E0%B8%A5%20(%E0%B8%AA
%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%8A
%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%9E
%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B2) .pdf
ภาคผนวก
ª´ œšhȨ́ h h h h h h h

­ ° ™µ¤ ‡ ª µ¤ ¡ ¹Š ¡ ° ċ
„µ¦ ¦ ·„µ¦ …° ŠÃ¦ Š¡ ¥µµ¨ ­ nŠÁ­ ¦ ·¤ ­ »…£ µ¡ ¤nœµÁ¦º°

˜ ° œš Ȩ́1 …o° ¤¼¨šÉ́ªÅž‡ÎµȨ̂‹Š„¦ »–µš µÎÁ‡¦ ºÉ° Š®¤µ¥ ‫ ¦®ض‬º° Á…¥̧œÁ˜·¤ ¨ ŠÄœn° Šª µnŠšȨ́‹´—
Ū o

1. Ÿo¼˜ ° Â­ ° ™ µ¤
( ) ž¦ ³ µœš ªÉ́Ş ( ) Ÿ¼šo »¨ ¡ ¨ £µ¡ ( ) Ÿ­¼o¼°
Š µ¥»
2. šȨ́°¥¼ n
( ) ®¤¼nš Ȩ́1 ( ) ®¤¼nš Ȩ́8
( ) ®¤¼nš Ȩ́9 ( ) ®¤¼nš Ȩ́10
3. Á¡ «
( ) ® ·Š ( ) µ¥ ( ) LGBTQ +
4. ° µ¥»
( ) ˜ ɵ΄ª µn 20 ž¸ ( ) 20-29 ž¸
( ) 30-39 ž¸ ( ) 40-49 ž¸
( ) 50-59 ž¸ ( ) 60 ž¸…ʹœÅž
5. ° µ¸¡
( ) œ„´ Á¦¸¥œ,œ„´ «¹„¬µ ( ) …µo¦ µ „µ¦ ,¡ œ´„Šµœ¦ ´“ª ­· µ®„·‹
( ) ¡ œ„Š ´ µœ®¦ º° ¨ ¼„‹µoŠ ¦ ·¬ ´š ( ) Á¬
„ ˜ ¦ „¦ ,¦ ´‹oµŠš ªÉ́Ş
( ) ‡µo…µ¥/ž¦ ³ „° › »¦ „·‹­ nª œ˜ª́ ( ) ° ºÉœÇÞ ¦ — ¦ ³  »..........................
˜ ° œš Ȩ́2 ­ ° ™µ¤ ‡
ª µ¤ ‡
—
· Á®Èœ

„µ¦  ¦ ·„µ¦ …Š
1. ° ¦ ¡ .­ ˜.¤nœµÁ¦º° ¤¸¨ „´ ¬³ ­ £µ¡ ª — ¨ °o ¤° ¥nµŠÅ¦
hhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhh.
2. šnµœ‡·— Á®Èœ° ¥nµŠÅ¦ „´„µ¦ Ä®o¦ ·„µ¦ …° ŠÁ‹oµ®œoµšȨ́Ĝ¦ ¡ .­ ˜.¤nœµÁ¦º°
hhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhh.
3. šnµœ‡·— Á®Èœ° ¥nµŠÅ¦ „´„µ¦ Ä®o¦ ·„µ¦ …° Š¦ ¡ .­ ˜.¤nœµÁ¦º°
hhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhh

2.1„µ¦ ¦ ´„¦ · µ¦ ÁȨ́


„¥ª „

´ æ Š ¡ ¥µµ¨ ­ nª œ
˜
ε ¨ ¤nœ
µÁ¦º°
‡ÎµȨ̂‹Š„¦ »–µš µÎÁ‡¦ ºÉ° Š®¤µ¥ ‫Š̈ض‬Ĝn° Š( ) …°o ‡ª µ¤šȨ́šnµœÁ̈º° „˜° 

o ¦ ·„µ¦ æ Š¡ ¥µµ¨ ­ nª œ˜ µÎ¨ ¤nœµÁ¦º° ®¦ º° Ťn


šnµœÁ‡¥Ä
( ) Á¥Á‡ ¡ ¦ µ³ ­ µÁ® ˜ »Ä—
( ) Ą¨ šo Ȩ́°¥¼ °n µ«¥́
( ) ¤¸­ ·š› ·¦ ´„¬µ
( ) ¤¸„µ¦ Ä®o ¦ ·„µ¦ šÁȨ́®¤µ³ ­ ¤
( ) ° ºÉœÇ h h h h h
( ) ŤnÁ‡¥ Á¡ ¦ µ³ ­ µÁ®˜»Ä—
( ) ®nµŠÅ„¨ šȨ́°¥¼ °n µ«¥́
( ) Ťn¤ ¸­ ·š › ·¦ ´„¬µ
( ) ŤnœnċĜž¦ ³ ­ ·š › ·£ µ¡ „µ¦ Ä®o¦ ·„µ¦
( ) ° ºÉœÇ h h h h h
˜ ° œš Ȩ́3 ­ ° ™ µ¤‡ª µ¤¡ ¹Š¡ ° ċ…° Šž¦ ³ µœÄœ¡ ʜ º šȨ́
‡ÎµȨ̂‹Š„¦ »–µš µÎÁ‡¦ ºÉ° Š®¤µ¥ ‫Š̈ض‬Ĝn° ŠšȨ́šnµœÁ̈º° „˜° 
5= ¡ ¹Š¡ ° ċ¤µ„š Ȩ́­»—4= ¡ ¹Š¡ ° ċ¤µ„ 3= ¡ ¹Š¡ ° ċž µœ„¨ µŠ
2= ¡ ¹Š¡ ° ċœ°o ¥ 1= ¡ ¹Š¡ ° ċœ°o ¥š Ȩ́­»—
ระดับความพึงพอใจ
ประเมินคำถาม (5) (4) (3) (2) (1)
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
1.ด้ านกระบวนการการให้ บริการ
1.1 การให้บริ การตามลำดับก่อน - หลัง
1.2 ความเสมอภาคในการรักษาพยาบาล
1.3 การได้รับการบริ การที่สะดวก
รวดเร็ วและชัดเจน
1.4 การได้รับบริ การที่ตรงความต้องการ ถูกต้อง
ครบถ้วน
1.5 ท่านได้รับบริ การที่สุภาพนุ่มนวล
1.6 การมีส่วนในการตัดสิ นใจเลือก
รับบริ การ วิธีรักษาพยาบาลและสามารถจ่ายค่า
บริ การเมื่อเข้ารับบริ การ
1.7 ท่านได้รับบริ การที่สะดวกรวดเร็ วปลอดภัย
2.ด้ านการให้ บริการของเจ้ าหน้ าที่ / บุคลากรที่ให้ บริการ
2.1 เจ้าหน้าที่ของรพสต.แม่นาเรื อสนใจรับฟัง
ปัญหา ตอบคำถาม และให้ค ำปรึ กษาด้วยความ
เต็มใจบริ การ

2.2 การแต่งกาย กริ ยามารยาท และพฤติกรรมการ


บริ การของผูใ้ ห้บริ การ
2.3 ท่านได้รับการเอาใจใส่ กระตือรื อร้น
ในการให้บริ การของเจ้าหน้าที่
3.ด้ านสิ่ งอำนวยความสะดวก / สถานที่
3.1 รพสต.มีการจัดพื้นที่ให้นงั่ รออย่างเพียงพอ
3.2 ความสะดวก พร้อมใช้งาน ของเครื่ องมือและ
อุปกรณ์การแพทย์
3.3 สถานที่ตรวจของ รพสต.แม่นาเรื อมิดชิด
มีหอ้ งเป็ นสัดส่ วนมีความสะอาดเป็ นระเบียบ อากาศ
ถ่ายเทได้ดีและเป็ นระเบียบ
3.4 อุปกรณ์เครื่ องมือ ที่ใช้มีความสะอาด
3.5 รพ.สต.แม่นาเรื อมีการจัดสิ่ งแวดล้อมสถานที่ต้ งั
บริ เวณอาคารและที่พกั ที่ต้ งั ที่สะดวกต่อการใช้
บริ การ
4.ความพึงพอใจต่ อคุณภาพการบริการในภาพรวม
4.1 ความพึงพอใจการให้บริ การของเจ้าหน้าที่
4.2 ความพึงพอใจต่อสถานที่ ที่ได้รับบริ การ
4.3 ความพึงพอใจต่อการได้รับบริ การ

…°o Á­ œ° œ³
h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h ..
h h hhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhh.
h h ..h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h
h h ..h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h
h h ..h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h h

You might also like