Vector Space: 2 2 U V U + V V + U

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 55

บทที่ 2

ปริภูมิเวกเตอร์
Vector Space
ในบทนีเ้ ราจะศึกษาระบบคณิตศาสตร์ซึ่งประกอบด้วยเซต 2 เซต และการดาเนินการบนเซตๆ นั้น กับการ
ดาเนินการระหว่างสมาชิกของเซตทั้งสอง ซึ่งสอดคล้องกับสมบัติบางประการ เรียกระบบคณิตศาสตร์นั้นว่า ปริภูมิ
เวกเตอร์ (vector space) ตัวอย่างปริภูมิเวกเตอร์ ได้แก่ ปริภูมิแบบยุคลิด (Euclidean Vector Spaces) ℝ ซึ่ง
เราจะขยายแนวคิดจากปริภูมินี้ ไปสู่ปริภูมิเวกเตอร์ในกรณีทั่วไป ในบทที่ 2 นี้ เราจะศึกษาโครงสร้างทางพีชคณิต
ของปริภูมิเวกเตอร์และตัวอย่างที่สาคัญของปริภูมิเวกเตอร์ ซึ่งมีความเกี่ยวพันธ์กับระบบของเมทริกซ์
สมบัติพื้นฐานของการบวก และการคูณด้วยสเกลาร์ ของเวกเตอร์ใน ℝ พิจารณาได้จากรูปต่อไปนี้
u
u+v=v+u
v
v

w u+v +w =u+ v+w w

v v

u u

c u + v = cu + cv

cv
v
u cu
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

2.1 ปริภูมิเวกเตอร์ (Vector Spaces)


2.1.1 ฟีลด์ (Field)
ให้ เป็นเซตซึ่งไม่ใช่เซตว่าง และมีการดาเนินการทวิภาค 2 ชนิด ระหว่างสมาชิกในเซต โดยการ
ดาเนินการชนิดแรกเปรียบเทียบกับ “การบวก” และ การดาเนินการชนิดที่สองเปรียบเทียบได้กับ “การคูณ” เขียน
แทนด้วย + และ ตามลาดับ จะเรียกระบบที่ประกอบด้วยเซต และการดาเนินการบวกและคูณว่า ฟีลด์
(field) เขียนแทนด้วย + และเรียกสมาชิกใน ว่า สเกลาร์ (scalar) ถ้าระบบดังกล่าวสอดคล้องกับ
สมบัติต่อไปนี้
สาหรับทุก
(SF 1) +
(SF 2) + = +
(SF 3) + + = + +
(SF 4) จะต้องมีสมาชิก ซึ่งทาให้ + =
(SF 5) สาหรับทุกสเกลาร์ จะต้องมี ซึ่งทาให้ + =
(SF 6)
(SF 7) =
(SF 8) =
(SF 9) จะต้องมีสมาชิก ซึ่งทาให้ = สาหรับทุก
(SF 10) สาหรับทุกสเกลาร์ จะต้องมี ซึ่งทาให้ =
(SF 11) + = +
หมายเหตุ 2.2 ถ้าระบบ + เป็นฟีลด์ จะเรียกย่อๆ ว่า “ เป็นฟีลด์”
ตัวอย่าง 2.1.1 ระบบที่เป็นฟีลด์
1) ℝ + เมื่อ ℝ เป็นเซตของจานวนจริงและ + เป็นการบวก และ การคูณปกติ
2) + เมื่อ เป็นเซตของจานวนตรรกยะและ + เป็นการบวก และ การคูณปกติ
3) + เมื่อ เป็นเซตของจานวนเชิงซ้อนและ + เป็นการบวก และ การคูณของจานวนเชิงซ้อน
ตัวอย่าง 2.1.2 ระบบทีไ่ ม่เป็นฟีลด์
1. + เมื่อ เป็นเซตของจานวนเต็มและ + เป็นการบวก และ การคูณปกติ
เพราะ ไม่มีตัวผกผันการคูณ เช่น = แต่ ไม่เป็นจานวนเต็ม

2. + เมื่อ เป็นเซตของจานวนอตรรกยะและ + เป็นการบวก และ การคูณปกติ


เพราะไม่มีสมบัติปิดการบวก เช่น √ + ( √ ) = ซึ่งไม่เป็นจานวนอตรรกยะ
3. + เมื่อ เป็นเซตของจานวนเต็มบวกและ + เป็นการบวก และ การคูณปกติ
เพราะ ไม่มเี อกลักษณ์การบวก

หน้า 45
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

2.1.2 ปริภูมิเวกเตอร์ (Vector Spaces)


กาหนดให้ เซต ซึ่งไม่ใช่เซตว่าง และ ฟีลด์ พร้อมด้วยการดาเนินการ 2 ชนิด ประกอบด้วย
 ตัวดาเนินการบวก เป็นการดาเนินการระหว่างสมาชิกของ
 การคูณด้วยสเกลาร์ เป็นการดาเนินการระหว่างสมาชิกของฟีลด์ กับสมาชิกของ
ซึง่ สอดคล้องกับสมบัติ ดังต่อไปนี้
สมบัติการบวกเวกเตอร์
(VS 1) u v สาหรับทุก u v (มีสมบัติปิด closure property)

(VS 2) u v=v u สาหรับทุก u v (มีสมบัติการสลับที่การบวก commutative property)

(VS 3) u v w = u v w สาหรับทุก u v w (สมบัติการเปลี่ยนหมู่ associative

property)
(VS 4) มีเวกเตอร์ ซึ่งทาให้ u =u สาหรับทุก u (มีเอกลักษณ์การบวก additive

identity)
(VS 5) สาหรับทุกเวกเตอร์ u จะมี u ที่ทาให้ u u =

การคูณด้วยสเกลาร์
(VS 6) c u สาหรับทุก u และ c (มีสมบัติปิดภายใต้การคูณด้วยสเกลาร์)

(VS 7) c u v = c u c v สาหรับทุก u v และ c (มีสมบัติการแจกแจง

distributive property)
(VS 8) c+ u= c u u สาหรับทุก u และ c
(VS 9) c u=c u สาหรับทุก u และ c
(VS 10) มีสเกลาร์ ที่ทาให้ u=u สาหรับทุก u

จะกล่าวว่า ภายใต้ตัวดาเนินบวก และ การคูณด้วยสเกลาร์ เป็นปริภูมิเวกเตอร์เหนือ (vector space


over ) หรือ เป็นปริภูมิเวกเตอร์ และจะเรียกสมาชิกของ ว่า เวกเตอร์ (vector)

หมายเหตุ ปริภูมิเวกเตอร์ที่จะกล่าวถึงในเอกสารเล่มนี้ จะพิจารณาเฉพาะฟีลด์ ℝ เท่านั้น กล่าวคือเมื่อกล่าวถึง


ปริภูมิเวกเตอร์ใดๆ แล้ว ฟีลด์ที่ถูกพิจารณาเป็นเซตของจานวนจริง ℝ และถ้า ℝ ที่เป็นปริภูมิเวกเตอร์
จะเขียนแทนด้วย เป็นปริภูมิเวกเตอร์

หน้า 46
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.1.3 กาหนดให้ ={ ℝ } และ


= และ =
สาหรับทุก และ ℝ จงตรวจสอบว่า เป็นปริภูมิเวกเตอร์หรือไม่ เพราะเหตุใด
วิธีทา

หน้า 47
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.1.4 กาหนดให้ ={ ℝ } และ


= + และ =
สาหรับทุก และ ℝ จงตรวจสอบว่า เป็นปริภูมิเวกเตอร์หรือไม่ เพราะเหตุใด
วิธีทา

หน้า 48
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

หมายเหตุ เพื่อความสะดวกในการเขียน จะแทน


ด้วย + และแทน ด้วย
ดังนั้น ผู้เรียนจะต้องสามารถแยกแยะการดาเนินการแบบต่างๆ ที่ปรากฏให้ได้ โดยการพิจารณาจากสิ่งแวดล้อมที่
ตัวดาเนินการนั้นๆ ปรากฏ

ปริภูมิเวกเตอร์ที่พบบ่อยๆ ได้แก่
1. ℝ ={ ℝ} ภายใต้การดาเนินการ ดังนี้
+ = + + +
และ
c = c c c
สาหรับทุก ℝ และสเกลาร์ c ℝ

2. เป็นเซตของพหุนามดีกรีน้อยกว่าหรือเท่ากับ โดยที่
={ = + + + + }

ภายใต้การดาเนินบวกและคูณด้วยสเกลาร์ของพหุนาม
3. เป็นเซตของพหุนามทั้งหมดที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนจริง นั่นคือ
={ = + + + + เมื่อ { }}

ภายใต้การดาเนินบวกและคูณด้วยสเกลาร์ของพหุนาม
4. เป็นเซตของเมทริกซ์ที่มีอันดับ ภายใต้การบวก และการคูณด้วยสเกลาร์ปกติของเมทริกซ์
(ดูบทนิยาม 1.1.2)

หน้า 49
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.1.5 ให้ ={ ℝ = + }

จะได้ว่า ไม่เป็นปริภูมิเวกเตอร์ ภายใต้การดาเนินการเช่นเดียวกันกับ ℝ เนื่องจากไม่สอดคล้องอย่างน้อย 1 ข้อ


ใน (VS01)-(VS10) แต่ที่เห็นได้ชัด คือ ไม่มีสมบัติปิดการบวกเวกเตอร์และคูณด้วยสเกลาร์ ในการแสดงการ
ไม่เป็นปริภูมิเวกเตอร์ เราสามารถเลือกแสดงโดยการยกตัวอย่างข้อขัดแย้งเพียง 1 ข้อจาก (VS01)-(VS10)
จากการยกตัวอย่างค้าน เช่น
1. และ + = แต่ ไม่เป็นสมาชิกของ
จึงทาให้ VS01 ไม่เป็นจริง จึงทาให้ ไม่เป็นปริภูมิเวกเตอร์ หรือ
2. และ ℝ แต่ = ไม่เป็นสมาชิกของ
จึงทาให้ VS06 ไม่เป็นจริง จึงทาให้ ไม่เป็นปริภูมิเวกเตอร์ เป็นต้น

ตัวอย่าง 2.1.6 ให้ เป็นเซตของพหุนามดีกรีเท่ากับ นั่นคือ


={ = + + ℝ }

จงพิจารณาว่า เป็นปริภูมิเวกเตอร์หรือไม่ เพราะเหตุใด


วิธีทา

หน้า 50
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

2.1.3 สมบัติของปริภูมิเวกเตอร์
กาหนดให้ + เป็นปริภูมิเวกเตอร์ และ u และ c เป็นสเกลาร์
1) u = เป็นเวกเตอร์ศูนย์ใน
2) c =
3) ถ้า cu = แล้ว c = หรือ u =
4) u= u
5) u =u
พิสูจน์ (1) กาหนดให้ u สมบัติที่ใช้
ดังนั้น = + u VS 04.
u
=[ u + u ]+ u VS 05.
= u +[ u + u ] VS 03.
= u + + u VS 08.
= u + u สมบัติของจานวนเจริง
= VS 05.
พิสูจน์ (2) พิจารณา
c = c( + )
=c + c( )
=c + c
=c + c
=
พิสูจน์ (3) กาหนดให้ u และ c เป็นสเกลาร์ โดยที่ c u= และสมมติให้ c
ดังนั้น u = c c u=c cu = c = สมบัติของสเกลาร์
พิสูจน์ (4) พิจารณา
=u+ u
= + + u+ u
= u+ u+ u+ u
=u+ u + (u + u )
=u+ u
นั่นคือ u= u
พิสูจน์ (5) กาหนดให้ u สมบัติที่ใช้
ดังนั้น u = +u VS 4. สมบัติของเวกเตอร์ศูนย์
= +u
= [u + u ]+u
= u+ u +u
= u +( u )+u
= u 

หน้า 51
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

2.2 ปริภูมิย่อย (Subspaces)


ให้ + เป็นปริภูมิเวกเตอร์ พิจารณาเซต เป็นเซตย่อยของ และไม่เป็นเซตว่าง ภายใต้การ
ดาเนินบวกและการคูณด้วยสเกลาร์ เช่นเดียวกันกับปริภูมิเวกเตอร์ ในหัวข้อนี้จะสนใจว่า
“เมื่อไร จะเป็นปริภูมิเวกเตอร์”
ซึง่ จากหัวข้อ 2.1 พบว่า ในการแสดงว่า จะเป็นปริภูมิเวกเตอร์จะต้องสอดคล้องกับ (VS01)-(VS10)
𝕍 𝕍+

𝕎 𝕎+

ดังนั้น สามารถเปรียบเทียบสมบัติ (VS1)-(VS10) ได้ดังนี้


กาหนดให้ + เป็นปริภูมิเวกเตอร์เหนือฟีลด์ ℝ และให้ โดยที่ ภายใต้การ
ดาเนินการบวกและ การคูณด้วยสเกลาร์เดียวกัน และ ให้ u v w และ ℝ
(VS01) u + v u+v  ทราบ  ไม่ทราบ
เพราะ เป็นเพียงเซตย่อยของ อาจจะไม่มีสมบัติปิดก็ได้
(VS02) u + v = v + u u+v =v+u  ทราบ  ไม่ทราบ
เพราะ จาก u v จะได้ว่า u v
ดังนั้น u + v = v + u
(VS03) u + v + w = u + v + w u + v + w = u + v + w  ทราบ  ไม่ทราบ
เพราะ จาก u v จะได้ว่า u v
ดังนั้น u + v + w = u + v + w
(VS04) มี ซึ่งทาให้ + u = u มี ซึ่งทาให้ + u = u  ทราบ  ไม่ทราบ
เพราะทราบเพียง เท่านั้น ไม่มีอะไรบอกว่า จะมี
ถ้ามี เป็นจริง จะได้ว่า =
(VS05) สาหรับทุก u จะมี u สาหรับทุก u จะมี u
ที่ทาให้ u + u = ทีท่ าให้ u + u =  ทราบ  ไม่ทราบ
เพราะทราบเพียง เท่านั้น
(VS06) u u  ทราบ  ไม่ทราบ
เพราะ เป็นเพียงเซตย่อยของ อาจจะไม่มีสมบัติปิดก็ได้
(VS07) u + v = u + v u+v = u+ v  ทราบ  ไม่ทราบ
เพราะ จาก u v จะได้ว่า ℝ
ดังนั้น u + v = u + v

หน้า 52
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

(VS08) + u= u+ u + u= u+ u  ทราบ  ไม่ทราบ


เพราะ จาก u จะได้ว่า ℝ
ดังนั้น + u= u+ u
(VS09) u= u u= u  ทราบ  ไม่ทราบ
เพราะ จาก u จะได้ว่า ℝ
ดังนั้น u= u
(VS10) มีสเกลาร์ ที่ทาให้ u=u มีสเกลาร์ ที่ทาให้ u = u  ทราบ  ไม่ทราบ
เพราะ ใช้ฟีลด์ ℝ เดียวกัน จึงใช้สเกลาร์ ค่าเดียวกัน

บทนิยาม 2.2.1 qกาหนดให้ + เป็นปริภูมิเวกเตอร์เหนือฟีลด์ และ โดยที่


ถ้า + เป็นปริภูมิเวกเตอร์เหนือฟีลด์ แล้ว จะเรียกว่า ปริภูมิย่อย (subspace) ของ

หมายเหตุ กาหนดให้ เป็นปริภูมิเวกเตอร์ จะได้ว่า


1. { } เป็นปริภูมิย่อยของ
2. เป็นปริภูมิย่อยของ
ให้ โดยที่ จากข้างต้น พบว่า สอดคล้องกับสมบัติ (VS02), (VS03), (VS07), (VS08), (VS09)
และ (VS10) ดังนั้น ถ้าจะแสดงว่า เป็นปริภูมิเวกเตอร์ หรือ เป็นปริภูมิย่อยของ จะต้องแสดงว่าสมบัติ
(VS01), (VS04), (VS05) และ (VS06) เป็นจริง แต่ความเป็นจริงแล้ว แสดงว่าสมบัติ (VS01) และ (VS06) เป็นจริงก็
เพียงพอ ซึ่งอธิบายได้ด้วยทฤษฏีต่อไปนี้
ทฤษฎีบท 2.2.1 กาหนดให้ + เป็นปริภูมิเวกเตอร์เหนือฟีลด์ และให้ และ
จะได้ว่า เป็นปริภูมิย่อยของ ก็ต่อเมื่อ
(SS1) u + v สาหรับทุก u v
(SS2) u สาหรับทุก และ u
พิสูจน์ กาหนดให้ + เป็นปริภูมิเวกเตอร์เหนือฟีลด์ และให้ และ .

สมมติให้ เป็นปริภูมิย่อยของ นั่นคือ เป็นปริภูมิเวกเตอร์


จะได้ว่า มีสมบัติปิดการบวก และการคูณด้วยสเกลาร์
นั่นคือ (SS01) และ (SS02) เป็นจริง
สมมติให้ (SS01) และ (SS02) เป็นจริง (นั่นคือ (VS01) และ (VS06) เป็นจริง)
ดังนั้น จะแสดงว่า (VS04) และ (VS05) เป็นจริง ก็เพียงพอ
ให้ u
เนื่องจาก และ u= u

จาก (SS2) เป็นจริง จะได้ว่า u= u นั่นคือ u


จาก (SS1) เป็นจริง จะได้ว่า =u+ u

หน้า 53
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

นั่นคือ (VS4) และ (VS5) เป็นจริง


ดังนั้น + เป็นปริภูมิเวกเตอร์เหนือฟีลด์
นั่นคือ เป็นปริภูมิย่อยของ 

จากทฤษฎีบท 2.2.1 พบว่าในการแสดงการเป็นปริภูมิย่อย จะแสดงเพียง สมบัติปิดการบวกของเวกเตอร์


และการคูณด้วยสเกลาร์ก็เพียงพอ ดังนั้นเพื่อความสะดวกก็สามารถรวมเป็นข้อเดียวได้โดยทฤษฎีบท 2.2.2 ต่อไปนี้
ทฤษฎีบท 2.2.2 กาหนดให้ + เป็นปริภูมิเวกเตอร์เหนือฟีลด์ และให้ และ
จะเป็นปริภูมิย่อยของ ก็ต่อเมื่อ สาหรับทุก และ u v จะได้ว่า u+ v

พิสูจน์ กาหนดให้ เป็นปริภูมิเวกเตอร์ และให้ และ


ให้ ℝ และ u v

สมมติให้ เป็นปริภูมิย่อยของ (จากสมมติฐาน)


โดย (SS1) จะได้ว่า u และ v
โดย (SS2) จะได้ว่า u+ v

สมมติให้ u+ v สาหรับทุก และ u v (จากสมมติฐาน)


เนื่องจาก ℝ ดังนั้น u + v = u + v (จาก (SS1) เป็นจริง)
และ ℝ ดังนั้น u = u+u (จาก (SS2) เป็นจริง)
นั่นคือ เป็นปริภูมิย่อยของ 

ตัวอย่าง 2.2.1 จงตรวจสอบว่าเซตต่อไปนี้เป็นปริภูมิย่อยของปริภูมิเวกเตอร์ ℝ หรือไม่


i) ={ ℝ = }

วิธีทา

หน้า 54
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ii) ={ ℝ + = }

วิธีทา

ตัวอย่าง 2.2.2 จงตรวจสอบว่าเซตต่อไปนี้เป็นปริภูมิย่อยของปริภูมิเวกเตอร์ ℝ หรือไม่


i) ={ ℝ ℝ ℝ}

วิธีทา

หน้า 55
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ii) ={ ℝ = ℝ}

วิธีทา เขียน ใหม่ได้เป็น ={ ℝ}

จากโจทย์ ดังนั้น
ให้ ℝ และ เมื่อ ℝ

จะได้ว่า +
=( + + + )

=( + + + + )

ดังนั้น + เพราะว่า + + ℝ

นั่นคือ เป็นปริภูมิย่อยของ ℝ

ตัวอย่าง 2.2.3 กาหนดให้ = { ℝ = }


จงตรวจสอบว่า เป็นปริภูมิย่อยของปริภูมิเวกเตอร์ ℝ หรือไม่
วิธีทา เขียน ใหม่ได้เป็น = { ℝ}

จากโจทย์ ดังนั้น
ให้ ℝ และ เมื่อ ℝ

จะได้ว่า
+ = + +
=( + + )

เนื่องจาก + ℝ ดังนั้น +

นั่นคือ เป็นปริภูมิย่อยของ ℝ

หน้า 56
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.2.4 กาหนดให้ = {[


+ +
] ℝ} จงตรวจสอบว่า เป็น
ปริภูมิย่อยของปริภูมิเวกเตอร์ หรือไม่
วิธีทา

หน้า 57
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.2.5 ปริภูมิสู่ศูนย์ของเมทริกซ์ (Null space or kernel of )


กาหนดให้ = ̅ เป็นระบบสมการเชิงเส้นเอกพันธ์ โดยที่ เป็นเมทริกซ์สัมประสิทธิ์อันดับ

และ =[ ] เป็นเวกเตอร์ไม่ทราบค่า เซตของผลเฉลยของระบบสมการดังกล่าว คือ

={ =̅ }
จงตรวจสอบว่า เป็นปริภูมิย่อยของ หรือไม่
วิธีทา เนื่องจาก ̅ =̅ จะได้ว่า ̅ ดังนั้น
ให้ ℝ และ จะได้ว่า = =̅

พิจารณา
+ = +
= +
= ̅ + ̅
=̅ +̅ =̅

ดังนั้น + นั้นคือ เป็นปริภูมิย่อยของ


หมายเหตุ จากตัวอย่าง 2.2.5 จะเรียกปริภูมิเวกเตอร์ ว่าเป็น ปริภูมิสู่ศูนย์ของเมทริกซ์

หน้า 58
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.2.6 จงหาปริภูมิสู่ศูนย์ของ =[ ]


วิธีทา

ตัวอย่าง 2.2.7 จงหาปริภูมิสู่ศูนย์ของ =[ ]


วิธีทา
w w
= {[ ] [ ] [ ] = [ ]}

หน้า 59
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

2.3 ผลการแผ่ของเซตของเวกเตอร์
2.3.1 ผลรวมเชิงเส้น
ให้ เป็นปริภูมิเวกเตอร์ และ ให้ v v v v เป็นเวกเตอร์ใน จะกล่าวว่าเวกเตอร์ u เป็น
ผลรวมเชิงเส้น (linear combination) ของเวกเตอร์ v v v v ถ้ามีสเกลาร์ c c c c ที่ทาให้

u=c v +c v +c v + +c v

ตัวอย่าง 2.3.1 เวกเตอร์ ℝ เป็นผลรวมเชิงเส้นของเวกเตอร์ หรือไม่


วิธีทา

หน้า 60
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.3.2 เวกเตอร์ ℝ เป็นผลรวมเชิงเส้นของเวกเตอร์ หรือไม่


วิธีทา ให้ ℝ โดยที่

= + = + +

จะได้ระบบสมการ
+ =
+ =

เป็นระบบสมการที่ไม่มีผลเฉลย นั่นคือไม่มี จานวนจริง ที่ทาให้


= +

ดังนั้น ไม่เป็นผลรวมเชิงเส้นของ

ตัวอย่าง 2.3.3 เวกเตอร์ ℝ เป็นผลรวมเชิงเส้นของเวกเตอร์ หรือไม่


วิธีทา

หน้า 61
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

2.3.2 ผลการแผ่
เซตของผลรวมเชิงเส้นทั้งหมดของ v v v v เรียกว่า ผลการแผ่ (span) ของเซตของเวกเตอร์
{v v v v } เขียนแทนด้วย {v v v v } กล่าวคือ
{v v v v } = {c v + c v + +c v c c c ℝ}

ในกรณีทั่วไป สาหรับ และ ไม่เป็นเซตว่าง นิยามให้


= {c v + c v + +c v v v v c c c ℝ และ }

ตัวอย่าง 2.3.5 จงหา { }

วิธีทา { }={ ℝ} = { ℝ}

Y Y =

(1,2) (1,2)

X (0,0) X
(0,0)

หมายเหตุ ถ้า เป็นเวกเตอร์ใน ℝ แล้ว { } = {c c ℝ}


ในทางเรขาคณิต { } คือ เส้นตรงซึ่งผ่านจุดกาเนิด และ จุด

ตัวอย่าง 2.3.6 จงหา { }

วิธีทา
{ }={ + ℝ}
={ + + ℝ}

ตัวอย่าง 2.3.7 จงหา { }

วิธีทา
{ }={ + ℝ}
={ + + ℝ}

หน้า 62
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.3.8 กาหนดให้ = = และ = เป็นเวกเตอร์ใน ℝ


(i) จงแสดงว่า { }={ ℝ}

วิธีทา
{ }={ + ℝ}
={ ℝ}

(ii) จงแสดงว่า { }=ℝ

วิธีทา
{ }={ + + ℝ}
={ ℝ}
=ℝ

ทฤษฎีบท 2.3.1 ให้ + เป็นปริภูมิเวกเตอร์


ถ้า u v แล้ว {u v} เป็นปริภูมิย่อยของ

พิสูจน์ สมมติให้ u v
ให้ ℝ และ {u v}

จะได้ว่า มี ℝ ที่ทาให้ = u+ v และ = u+ v

พิจารณา
+ = u+ v + u+ v
=( u+ v) + ( u+ v)
= + u+ + v

นั่นคือ + {u v} จะได้ว่า {u v} เป็นปริภูมิย่อยของ 

ทฤษฎีบท 2.3.2 ให้ + เป็นปริภูมิเวกเตอร์


ถ้า v v v แล้ว {v v v } เป็นปริภูมิย่อยของ
หมายเหตุ
1. {v v v } เป็นปริภูมิย่อยของ ที่เล็กที่สุดที่มี v v v เป็นสมาชิก
นั่นคือ ถ้า เป็นปริภูมิย่อยของ และ v v v แล้ว {v v v }
2. ถ้า = {v v v } แล้วจะกล่าวว่า เซต {v v v } แผ่ทั่วปริภูมิเวกเตอร์ (span the
vector space) นั่นคือ สาหรับทุกเวกเตอร์ u จะเป็นผลรวมเชิงเส้นของ v v v กล่าวคือ
จะมีสเกลาร์ c c c ที่ทาให้ u = c v + c v + + c v
3. สาหรับ และ ไม่เป็นเซตว่าง ถ้า = แล้วจะกล่าวว่า แผ่ทั่วปริภูมิเวกเตอร์

หน้า 63
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.3.9 จงพิจารณาว่า { } แผ่ทั่วปริภูมิเวกเตอร์ ℝ หรือไม่


วิธีทา

ตัวอย่าง 2.3.10 จงพิจารณาว่า { } แผ่ทั่วปริภูมิเวกเตอร์ ℝ หรือไม่


วิธีทา ให้ ℝ และ สมมติให้มี ℝ ที่ทาให้

= + = + +

จะได้ระบบสมการ
+ =
+ =
=

เลือก = จะไม่สามารถหา ดังกล่าวได้ ดังนั้น


ดังนั้น { } ℝ

กล่าวคือ { } ไม่แผ่ทั่วปริภูมิเวกเตอร์ ℝ

หน้า 64
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.3.11 จงพิจารณาว่า { } แผ่ทั่วปริภูมิเวกเตอร์ ℝ หรือไม่


วิธีทา

หน้า 65
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.3.12 จงพิจารณาว่า { } แผ่ทั่วปริภูมิเวกเตอร์ หรือไม่


วิธีทา ให้ โดยที่ = + + c จะได้ว่า
= c + + { }
นั่นคือ { }=

ตัวอย่าง 2.3.13 จงพิจารณาว่า { + } แผ่ทั่วปริภูมิเวกเตอร์ หรือไม่

วิธีทา

หน้า 66
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.3.14 จงพิจารณาว่า { + } แผ่ทั่วปริภูมิเวกเตอร์ หรือไม่


วิธีทา ให้ โดยที่ = + +c

สมมติว่ามี ℝ ที่ทาให้
+ +c= + + = + + +
จะได้ว่า
=
=
+ =c
ดังนั้น
+ =c
เลือก = =c= จะทาให้ระบบสมการขัดแย้ง
นั่นคือ ไม่สามารถเขียนเป็นผลรวมเชิงเส้นของ + ได้
นั่นคือ { + } ไม่แผ่ทั่วปริภูมิเวกเตอร์

หน้า 67
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.3.15 จงพิจารณาว่า {[ ] [ ] [ ] [ ]} แผ่ทั่วปริภูมิเวกเตอร์ หรือไม่

วิธีทา

หน้า 68
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.3.16 จงตรวจสอบว่า [ ] เป็นเวกเตอร์ใน {[ ] [ ]} หรือไม่

วิธีทา ให้ ℝ โดยที่

[ ]= [ ]+ [ ]=[ ]
+
จะได้ว่า
=
=
+ =
แก้สมการได้ = และ =

นั่นคือ

[ ]= [ ]+ [ ]

ดังนั้น [ ] {[ ] [ ]}

หน้า 69
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.3.17 ให้ = และ = เป็นพหุนามใน


ปริภูมิเวกเตอร์ จงตรวจสอบว่าพหุนามต่อไปนี้ เป็นผลรวมเชิงเส้นของ และ หรือไม่
(i) = + +

วิธีทา ให้ ℝ โดยที่ = +


+ + = +
= + + + +

จะได้

[ ] [ ] [ ]

จะได้ว่า = และ = นั่นคือ = +

จะได้ว่า เป็นผลรวมเชิงเส้นของ และ


(ii) = + +
วิธีทา ให้ ℝ โดยที่ = +
+ + = +
= + + + +

จะได้

[ ] [ ] [ ]

จะได้ว่า + = = = = ซึ่งเป็นระบบทีมีความขัดแย้ง
นั่นคือ ไม่มี ℝ ที่ทาให้ = +

จะได้ว่า g ไม่เป็นผลรวมเชิงเส้นของ และ

หน้า 70
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

2.4 การเป็นอิสระเชิงเส้น ฐานหลัก และ มิติ


2.4.1 การเป็นอิสระเชิงเส้น
บทนิยาม 2.4.1 ให้ = {v v v v } เป็นเซตของเวกเตอร์ในปริภูมิเวกเตอร์

1. จะเรียกเซต ว่าเป็น อิสระเชิงเส้น (linearly independent) ถ้า c c c c ℝ ที่ทาให้


c v +c v +c v + +c v =
แล้ว c = c = c = = c =
2. จะเรียกเซต ว่า ไม่เป็นอิสระเชิงเส้น (linearly dependent) ถ้ามี c c c c ℝ อย่างน้อย 1
ตัวทีไ่ ม่เป็นศูนย์ ที่ทาให้
c v +c v +c v + +c v =

ในกรณีทั่วไป สาหรับ และ ไม่เป็นเซตว่าง จะกล่าวว่า เป็นอิสระเชิงเส้น ถ้า ทุกๆ เวกเตอร์ที่แตกต่างกัน


จานวนจากัดใน เป็นอิสระเชิงเส้น
ตัวอย่าง 2.4.1 จงพิจารณาว่าเซต ={ } เป็นอิสระเชิงเส้นหรือไม่
วิธีทา

หน้า 71
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.4.2 จงพิจารณาว่าเซต ={ } เป็นอิสระเชิงเส้นหรือไม่


วิธีทา ให้ c ℝ โดยที่
c + =
จัดรูปจะได้ว่า c + c+ =
นั่นคือ c+ = (1)
และ c+ = (2)
หาผลเฉลยของระบบสมการโดยใช้เมทริกซ์แต่งเติมได้เป็น
[ ]= [ ]

จะได้ว่า c + =

ให้ = จะได้ c = เมื่อ เป็นจานวนจริงใดๆ


เลือก = จะได้ว่า = และ c = ดังนั้น
+ = + =
ดังนั้น เป็นเซตไม่เป็นอิสระเชิงเส้น

ตัวอย่าง 2.4.3 กาหนดให้ = = และ = เป็นเวกเตอร์ใน ℝ


จงพิจารณาว่าเซต ={ } เป็นอิสระเชิงเส้นหรือไม่
วิธีทา ให้ c ℝ โดยที่
+ +c =
+ + c =
c =
จะได้ว่า = = c =
ดังนั้น เป็นเซตอิสระเชิงเส้น

หน้า 72
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.4.4 จงพิจารณาว่าเซต ={ } เป็นอิสระเชิงเส้นหรือไม่


วิธีทา

หน้า 73
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.4.5 จงพิจารณาว่าเซต = {[ ] [ ] [ ]} เป็นอิสระเชิงเส้นหรือไม่

วิธีทา ให้ c ℝ โดยที่

[ ] + [ ] + c[ ] = [ ]

+ +c
[ + + c] = [ ]
c
ได้ระบบสมการ
+ + c=
+ + c=
c=

จะเห็นได้ว่าเป็นระบบสมการเชิงเส้นเช่นเดียวกับตัวอย่าง 2.4.4
ดังนั้นผลเฉลยของระบบสมการ คือ = =c=

ดังนั้น เป็นเซตอิสระเชิงเส้น

หน้า 74
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.4.6 จงพิจารณาว่า = {[ ] [ ] [ ]} เป็นอิสระเชิงเส้นหรือไม่

วิธีทา ให้ c ℝ โดยที่

[ ]+ [ ] + c[ ] = [ ]

+ + c
[ + + c] = [ ]
+ c
ได้ระบบสมการ
+ + c=
+ + c=
+c=

หาผลเฉลยของระบบสมการ โดยใช้เมทริกซ์แต่งเติมได้เป็น

[ ]= [ ] +
+

= [ ]
+

= [ ]

จากเมทริกซ์แต่งเติม จะได้ระบบสมการที่สมมูลกับระบบสมการ ดังนี้


+ + c=

+ c=

กาหนดให้ c = เมื่อ เป็นจานวนจริงใดๆ จะได้ว่า


= = และ c =
เป็นผลเฉลยของระบบสมการ
เลือก = จะได้ = = และ c = และ

[ ]= [ ]+ [ ]+ [ ]

นั่นคือ เป็นเซตไม่อิสระเชิงเส้น

หน้า 75
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.4.7 จงพิจารณาว่า { } เป็นเซตอิสระเชิงเส้นหรือไม่


วิธีทา

ตัวอย่าง 2.4.8 จงพิจารณาว่าเซต { + } เป็นอิสระเชิงเส้นหรือไม่


วิธีทา ให้ c ℝ โดยที่
+ + +c =
+ + + +c = (1)

หน้า 76
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.4.9 จงพิจารณาว่าเซต { + + } เป็นอิสระเชิงเส้นหรือไม่


วิธีทา ให้ c ℝ โดยที่
+ + +c + =
+ c + + c + + c =
โดยการเทียบสัมประสิทธิ์จะได้ว่า
+ c =
+ c =
+ c =
พิจารณา

[ ] [ ]

[ ]

[ ]

จะไดว่า
+ c =
+ c =
c =
นั่นคือ = =c= =

ดังนั้น { + + } เป็นอิสระเชิงเส้น

หน้า 77
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.4.10 จงพิจารณาว่าเซต { + + } เป็นอิสระเชิงเส้นหรือไม่


วิธีทา ให้ c ℝ โดยที่
+ + +c + =
+ c + + c + + c =

โดยการเทียบสัมประสิทธิ์จะได้ว่า
+ c =
+ c =
+ c =
พิจารณา

[ ] [ ]

[ ]

จะไดว่า
+ c =
+ c =
นั่นคือ ให้ c = จะได้ = และ =

จะได้ว่า
+ + + + =

ดังนั้น { + + } ไม่เป็นอิสระเชิงเส้น

หน้า 78
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.4.11 จงพิจารณาว่า {[ ] [ ] [ ] [ ]} เป็นเซตอิสระเชิงเส้นหรือไม่

วิธีทา ให้ c ℝ โดยที่


[ ]= [ ]+ [ ] + c[ ]+ [ ]

=[ ]+[ ]+[ ]+[ ]


c
=[ ]
c
นั่นคือ = =c= =

ดังนั้น {[ ] [ ] [ ] [ ]} เป็นเซตอิสระเชิงเส้น

ตัวอย่าง 2.4.12 จงพิจารณา {[ ] [ ] [ ] [ ]} เป็นเซตอิสระเชิงเส้นหรือไม่


วิธีทา

หน้า 79
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.4.13 จงพิจารณาว่า {[ ] [ ] [ ] [ ]} เป็นเซตอิสระเชิงเส้นหรือไม่

วิธีทา ให้ c ℝ โดยที่


[ ]= [ ]+ [ ] + c[ ]+ [ ]

+c+ +c+
=[ ]
+ + +c+

จะได้ว่า
+c+
+c+
[ ]=[ ]
+ +
+c+
(*)

=[ ][ ]
c

พิจารณา

| |=

เนื่องจากเมทริกซ์สัมประสิทธ์ของระบบสมการเชิงเส้นเอกพันธ์ (*) มีดีเทอร์มิแนนท์เป็นศูนย์


ดังนั้นระบบสมการ (*) มีผลเฉลยอื่นที่ไม่ใช่ผลเฉลยชัด
จะได้ว่ามี หรือ หรือ c หรือ ที่ทาให้
[ ]= [ ]+ [ ] + c[ ]+ [ ]

ดังนั้น {[ ] [ ] [ ] [ ]} ไม่เป็นเซตอิสระเชิงเส้น

หมายเหตุ เราสามารถเลือก = = c= = ที่ทาให้


[ ]= [ ]+ [ ]+ [ ]+ [ ]

หน้า 80
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ในการตรวจสอบว่าเซตใดไม่เป็นอิสระเชิงเส้นหรือไม่ สามารถตรวจสอบได้จากทฤษฎีบทต่อไปนี้
ทฤษฎีบท 2.4.1 กาหนดให้ เป็นปริภูมิเวกเตอร์ และ = {u u u } เป็นเซตย่อยของ โดยที่
ไม่มีสมาชิกเป็นเวกเตอร์ศูนย์ จะได้ว่า ไม่เป็นอิสระเชิงเส้น ก็ต่อเมื่อ มีเวกเตอร์ใน ที่เป็นผลรวมเชิงเส้นของ
เวกเตอร์ที่เหลือใน

ตัวอย่าง 2.4.14 จากตัวอย่าง 2.4.6 จะได้ว่า

[ ]= [ ]+ [ ]

จะได้ว่า [ ] เป็นผลรวมเชิงเส้นของเวกเตอร์ [ ] และ [ ]

จากทฤษฏีบท 2.4.1 จะได้ว่า {[ ] [ ] [ ]} ไม่เป็นอิสระเชิงเส้น

ตัวอย่าง 2.4.15 จากตัวอย่าง 2.4.10 จะได้ว่า


+ = + +

นั่นคือ + เป็นผลรวมเชิงเส้นของเวกเตอร์ และ +

ดังนั้น { + + } ไม่เป็นอิสระเชิงเส้น

ตัวอย่าง 2.4.16 จากตัวอย่าง 2.4.13 จะได้ว่า

[ ]= [ ]+ [ ]+ [ ]

นั่นคือ [ ] เป็นผลรวมเชิงเส้นของเวกเตอร์ [ ] [ ] [ ]

ดังนั้นเซต {[ ] [ ] [ ] [ ]} ไม่เป็นอิสระเชิงเส้น

หน้า 81
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

2.4.2 ฐานหลัก และ มิติ (Basis and dimension)


บทนิยาม 2.4.2 ให้ เป็นปริภูมิเวกเตอร์ และ = {v v v v } เป็นเซตย่อยของ
จะเรียก ว่าเป็นฐานหลัก (basis) สาหรับ ก็ต่อเมื่อ
(i) เซต เป็นอิสระเชิงเส้น และ
(ii) เซต แผ่ทวั่ ปริภูมิเวกเตอร์ กล่าวคือ =

ในกรณีทั่วไป สาหรับ ที่ ไม่เป็นเซตว่าง จะกล่าวว่า เป็นฐานหลักสาหรับ ก็ต่อเมื่อ เป็นอิสระเชิง


เส้น และ แผ่ทั่วปริภูมิเวกเตอร์

หมายเหตุ ปริภูมิเวกเตอร์ที่คุ้นเคยและทราบฐานหลักได้ง่าย ได้แก่


1. ปริภูมิเวกเตอร์ ℝ จะมีฐานหลักหนึ่ง คือ
ℝ = {( ⏟ ) ( ⏟ ) (⏟ ) (⏟ )}
ตัว ตัว ตัว ตัว
และจะเรียกว่าเป็นฐานหลักธรรมชาติ (natural basis) สาหรับ ℝ
เช่น { } เป็นฐานหลักธรรมชาติ สาหรับ ℝ
2. ปริภูมิเวกเตอร์ จะมีฐานหลักหนึ่ง คือ
={ }
จะเรียกว่าเป็นฐานหลักธรรมชาติ (natural basis) สาหรับ
เช่น ={ } เป็นฐานหลักธรรมชาติ สาหรับ
3. ปริภูมิเวกเตอร์ จะมีฐานหลักหนึ่ง คือ
={ }
เมื่อ = [ ] ภายใต้เงื่อนไข = เมื่อ = = และ = เมื่อเป็นอย่างอื่น
และจะเรียกว่าเป็นฐานหลักธรรมชาติ (natural basis) สาหรับ
เช่น = {[ ] [ ] [ ] [ ]} เป็นฐานหลักสาหรับ

4. ปริภูมิเวกเตอร์ จะมีฐานหลักหนึ่ง คือ


={ }
เมื่อ = [ ] ภายใต้เงื่อนไข = และ = เมื่อเป็นอย่างอื่น
และจะเรียกว่าเป็นฐานหลักธรรมชาติ สาหรับ
เช่น {[ ] [ ] [ ]} เป็นฐานหลักธรรมชาติสาหรับ

หน้า 82
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่างต่อไปนี้ ได้แสดงการเป็นเซตอิสระเชิงเส้นและการแผ่ทั่วปริภูมิเวกเตอร์ในหัวข้อ 2.3 และ 2.4 เพื่อ


เป็นการยืนยันว่าฐานหลักของปริภูมิเวกเตอร์ใดๆ จะมีได้หลายรูปแบบดังนี้

ตัวอย่าง 2.4.17 จงตรวจสอบว่า { } เป็นฐานหลักสาหรับ ℝ หรือไม่


วิธีทา จากตัวอย่าง 2.3.11 จะได้ว่า { } แผ่ทั่ว ℝ

จากตัวอย่าง 2.4.4 จะได้ว่า { } เป็นอิสระเชิงเส้น

ดังนั้น { } เป็นฐานหลักสาหรับ ℝ

ตัวอย่าง 2.4.18 จงพิจารณาว่า { + } เป็นฐานหลักสาหรับ หรือไม่


วิธีทา จากตัวอย่าง 2.3.13 จะได้ว่า { + } แผ่ทั่ว

จากตัวอย่าง 2.4.8 จะได้ว่า { + } เป็นอิสระเชิงเส้น

ดังนั้น { + }เป็นฐานหลักสาหรับ

ตัวอย่าง 2.4.19 จงพิจารณาว่า { + + } เป็นฐานหลักสาหรับ หรือไม่


วิธีทา จากตัวอย่าง 2.4.10 จะได้ว่า { + + } ไม่เป็นอิสระเชิงเส้น

ดังนั้น { + + } ไม่เป็นฐานหลักสาหรับ

ตัวอย่าง 2.4.20 จงพิจารณาว่า {[ ] [ ] [ ] [ ]} เป็นฐานหลักสาหรับ หรือไม่


วิธีทา จากตัวอย่าง 2.3.15 จะได้ว่า {[ ] [ ] [ ] [ ]} แผ่ทั่ว

จากตัวอย่าง 2.4.12 จะได้ว่า {[ ] [ ] [ ] [ ]} เป็นอิสระเชิงเส้น

ดังนั้น {[ ] [ ] [ ] [ ]} เป็นฐานหลักสาหรับ

ตัวอย่าง 2.4.21 จงพิจารณาว่า {[ ] [ ] [ ] [ ]} เป็นฐานหลักสาหรับ หรือไม่


วิธีทา จากตัวอย่าง 2.4.13 จะได้ว่า {[ ] [ ] [ ] [ ]} ไม่เป็นอิสระเชิงเส้น
ดังนั้น {[ ] [ ] [ ] [ ]} ไม่เป็นฐานหลักสาหรับ

หน้า 83
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.4.22 จงตรวจสอบว่า {[ ] [ ] [ ]} เป็นฐานหลักสาหรับ หรือไม่

วิธีทา จากตัวอย่าง 2.4.6 จะได้ว่า {[ ] [ ] [ ]} ไม่เป็นอิสระเชิงเส้น

ดังนั้น {[ ] [ ] [ ]} ไม่เป็นฐานหลักสาหรับ

ทฤษฎีบท 2.4.2 ให้ = {u u u } เป็นฐานหลักสาหรับปริภูมิเวกเตอร์ จะได้ว่า


(i) สาหรับแต่ละเวกเตอร์ใน สามารถเขียนเป็นผลรวมเชิงเส้นของเวกเตอร์ใน ได้เพียงแบบเดียวเท่านั้น
(ii) ถ้า = {v v v } และ span = แล้วจะมีเซตย่อยของ ที่เป็นฐานหลักสาหรับ
(iii) ถ้า = {v v v } เป็นอิสระเชิงเส้น แล้ว
(iv) ถ้า = {v v v } เป็นอิสระเชิงเส้น และ แล้ว ไม่เป็นฐานหลักสาหรับ
(v) ถ้า = {v v v } เป็นเซตย่อยของ และ แล้ว ไม่เป็นอิสระเชิงเส้น
(vi) ถ้า เป็นฐานหลักสาหรับ แล้ว =

ตัวอย่าง 2.4.23 พิจารณา = {[ ] [ ] [ ]} เป็นฐานหลักสาหรับ

i) ให้ [ ] โดยที่

[ ]= [ ]+ [ ] + c[ ]

และ
[ ]= [ ]+ [ ]+ [ ]

จากทฤษฎีบท 2.4.2 (i) จะได้ว่า = = และ c =

ii) พิจารณาเซต = {[ ] [ ] [ ] [ ]} เป็นเซตย่อยของ


จะได้ว่า = และ
= {[ ] [ ] [ ]} = { [ ] [ ] [ ]} และ = {[ ] [ ] [ ]}

เป็นฐานหลักสาหรับ สอดคล้องกับ ทฤษฎีบท 2.4.2 (ii)

หน้า 84
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

iii) พิจารณาเซต = {[ ] [ ] [ ] [ ]}

เนื่องจาก โดยทฤษฎีบท 2.4.2 (v) จะได้ว่า ไม่เป็นอิสระเชิงเส้น


iv) พิจารณาเซต = {[ ] [ ]} เป็นเซตย่อยของ
เนื่องจาก เป็นอิสระเชิงเส้น แต่ = =
โดยทฤษฎีบท 2.4.2 (iv) จะได้ว่า ไม่เป็นฐานหลักสาหรับ
ดังนั้น
นั่นก็คือมีเวกเตอร์ใน ที่ไม่เป็นผลรวมเชิงเส้นของ [ ] และ [ ]

ตัวอย่างเช่น [ ] ไม่เป็นผลรวมเชิงเส้นของ [ ] และ [ ]

บทนิยาม 2.4.3 ให้ เป็นปริภูมิเวกเตอร์ จะเรียกจานวนเวกเตอร์ในฐานหลักสาหรับ ว่า มิติ (dimension)


ของปริภูมิเวกเตอร์
หมายเหตุ 1. ถ้า = {u u u } เป็นฐานหลักสาหรับ จะได้ว่าปริภูมิเวกเตอร์มีมิติเป็น และ
จะเขียนแทนด้วย = และจะกล่าวว่า เป็นปริภูมิเวกเตอร์มิติจากัด (finite dimensional
vector space)
2. ถ้าปริภูมิเวกเตอร์ มีฐานหลักเป็นเซตอนันต์ แล้วจะกล่าวว่า เป็นปริภูมิเวกเตอร์มิติอนันต์ (infinite
dimensional vector space) ซึง่ จะไม่กล่าวถึงในการศึกษานี้ และจะพิจารณาเฉพาะกรณีปริภูมิเวกเตอร์มิติ
จากัดเท่านั้น
3. ในกรณี = { } จะกาหนดให้ =

ตัวอย่าง 2.4.24.
1. ℝ =
เนื่องจาก { } เป็นฐานหลักสาหรับ ℝ

2. =
เนื่องจาก { } เป็นฐานหลักสาหรับ

3. =

เนื่องจาก {[ ] [ ] [ ]} เป็นฐานหลักสาหรับ

4. =

เนื่องจาก {[ ] [ ] [ ] [ ]} เป็นฐานหลักสาหรับ

หน้า 85
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ทฤษฎีบท 2.4.3 ให้ เป็นปริภูมิเวกเตอร์ และ = โดยที่ และ = {u u u } เป็น


เซตของเวกเตอร์ใน ซึ่งมี = จะได้ว่า
(i) ถ้า เป็นอิสระเชิงเส้น แล้ว แผ่ทั่วปริภูมิเวกเตอร์
(ii) ถ้า แผ่ทั่วปริภูมิเวกเตอร์ แล้ว เป็นอิสระเชิงเส้น
(iii) ถ้า เป็นเซตอิสระเชิงเส้น หรือ แผ่ทั่วปริภูมิเวกเตอร์ แล้ว เป็นฐานหลักสาหรับ

ตัวอย่าง 2.4.25 จงพิจารณาว่า { + + } เป็นฐานหลักสาหรับ หรือไม่


วิธีทา จากตัวอย่าง 2.4.9 จะได้ว่า { + + } เป็นอิสระเชิงเส้น

เนื่องจาก { + + } = = จานวนฐานหลักธรรมชาติสาหรับ

จะได้ว่า { + + } เป็นฐานหลักสาหรับ

ตัวอย่าง 2.4.26 จงพิจารณาว่า {[ ] [ ] [ ]} เป็นฐานหลักสาหรับ หรือไม่

วิธีทา จากตัวอย่าง 2.4.9 จะได้ว่า {[ ] [ ] [ ]} เป็นอิสระเชิงเส้น

เนื่องจาก ({[ ] [ ] [ ]}) = จานวนฐานหลักธรรมชาติ =

จะได้ว่า {[ ] [ ] [ ]} เป็นฐานหลักสาหรับ ℝ

หน้า 86
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.4.27 จงพิจารณาว่าเซต ={ } เป็นฐานหลักสาหรับ ℝ หรือไม่


วิธีทา

ตัวอย่าง 2.4.28 จงพิจารณาว่าเซต = {[ ] [ ] [ ]} เป็นฐานหลักสาหรับ หรือไม่


วิธีทา

หน้า 87
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.4.29 กาหนดให้


= {[ ] c ℝ}
c
เป็นปริภูมิย่อยของปริภูมิเวกเตอร์
จงหาฐานหลักสาหรับ และ
วิธีทา

หน้า 88
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

2.5 พิกัด และ การเปลี่ยนฐานหลัก


2.5.1 พิกัด
ในหัวข้อต่อไปนี้ จะกล่าวถึงเฉพาะปริภูมิเวกเตอร์ ที่มีมิติ เหนือฟีลด์ ℝ
บทนิยาม 2.5.1 ให้ = {v v v v } เป็นฐานหลักลาดับ (ordered basis) (เป็นฐานหลัก และ ถือ
ลาดับของเวกเตอร์ในฐานหลักเป็นสาคัญ) สาหรับปริภูมิเวกเตอร์ และ u เป็นเวกเตอร์ใน ถ้า
u=c v +c v +c v + +c v
c
c
เมื่อ c c c c เป็นสเกลาร์ จะกล่าวว่า [ ] เป็น พิกัด (coordinate) ของ u เทียบกับฐานหลักลาดับ
c
c
c
และจะใช้สัญลักษณ์ [u] =[ ]
c

ตัวอย่าง 2.5.1. จงหาพิกัดของ เมื่อเทียบกับ ={ } ซึ่งเป็นฐานหลักลาดับสาหรับ ℝ


วิธีทา

ตัวอย่าง 2.5.2. จงหาพิกัดของ เมื่อเทียบกับฐานหลักลาดับ ={ } สาหรับ ℝ


วิธีทา

ตัวอย่าง 2.5.3 จงหาพิกัดของ เมื่อเทียบกับฐานหลักลาดับ ={ } สาหรับ ℝ


วิธีทา เนื่องจาก
= +
ดังนั้น
[ ] =[ ]

หน้า 89
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.5.4 ให้ ={ + + } เป็นฐานหลักลาดับสาหรับ


จงหาพิกัดของ = + + + เทียบกับฐานหลักลาดับ
วิธีทา

หน้า 90
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ตัวอย่าง 2.5.5 ให้ = {[ ] [ ] [ ] [ ]} เป็นฐานหลักลาดับสาหรับ


จงหาพิกัดของ =[ ] เทียบกับฐานหลักลาดับ

วิธีทา ให้ c ℝ โดยที่


+c+ +c
[ ]= [ ]+ [ ] + c[ ]+ [ ]=[ ]
+ + +c
จะได้ว่า
+ + =
+ c + =
+ c =
+ c =
พิจารณาระบบสมการในรูปเมทริกซ์แต่งเติม

[ ] [ ]

[ ]

[ ]

จะได้ระบบสมการ
+ + =
+ c + =
c + =
=
จะได้ว่า = แทนค่าย้อนกลับจะได้ c= = และ =

นั่นคือ
[ ] = ( )[ ]+( )[ ]+ ( )[ ]+ [ ]

ดังนั้น

[[ ]] =[ ]

หน้า 91
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ทฤษฎีบท 2.5.1 ให้ เป็นฐานหลักลาดับสาหรับปริภูมิเวกเตอร์ จะได้ว่า


(i) พิกัดของเวกเตอร์ u เทียบกับฐานหลักลาดับ มีเพียงตัวเดียว
(ii) [cu + v] = c[u] + [v] สาหรับเวกเตอร์ u v และสเกลาร์ c ใดๆ
(iii) [u] = ̅ ก็ต่อเมื่อ u =

ข้อสังเกต ถ้าเซต มี สมาชิก และเป็นฐานหลักลาดับสาหรับปริภูมิเวกเตอร์ จะได้ว่า พิกัดของเวกเตอร์ u


เทียบกับฐานหลักลาดับ จะเป็นเมทริกซ์อันดับ
ตัวอย่าง 2.5.6 ให้ ={ + + } เป็นฐานหลักลาดับของ

a) จงหา [ + + ] และ [ ]

วิธีทา

[ + + ] =[ + + + + + ] =[ ]

[ ] =[ + + + + + ] =[ ]

b) [ + + ] + [ ]

วิธีทา

+
[ + + ] + [ ] = [ ]+ [ ]= [ ]=[ ]

c) [ + + + ]

วิธีทา
[ + + + ]
=[ ]
=[ + + + + + ]

=[ ]

d) จงหาพหุนาม ที่ทาให้ [ ] =[ ]

วิธีทา จาก ทฤษฏีบทท 2.5.1(1) จะได้ว่า


= + + + + +
= + +

หน้า 92
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

ทฤษฎีบท 2.1 ถ้า เป็นฐานหลักลาดับสาหรับ และ = {v v v v } เป็นเซตของเวกเตอร์ใน


แล้ว เป็นอิสระเชิงเส้น ก็ต่อเมื่อ {[v ] [v ] [v ] [v ] } เป็นอิสระเชิงเส้น

ทฤษฎีบท 2.2 ถ้า เป็นฐานหลักลาดับสาหรับ และ = {v v v v } เป็นเซตของเวกเตอร์ใน แล้ว


เป็นฐานหลักสาหรับ ก็ต่อเมื่อ {[v ] [v ] [v ] [v ] } เป็นฐานหลักสาหรับ

ทฤษฎีบท 2.3 ถ้า เป็นฐานหลักลาดับสาหรับ และ = {v v v v } เป็นฐานหลักสาหรับ แล้ว


= [[v ] [v ] [v ] [v ] ] เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน

ตัวอย่าง 2.5.7 เนื่องจาก ={ } เป็นอิสระเชิงเส้นใน ℝ และ


[ ] =[ ] [ ] =[ ]

โดยทฤษฏบท 2.2 จะได้ว่า {[ ] [ ]} เป็นอิสระเชิงเส้นใน

พิจารณา ={ } เป็นฐานหลักสาหรับ ℝ และ


[ ] =[ ] [ ] =[ ] [ ] =[ ]

โดยทฤษฏบท 2.3 จะได้ว่า = [[ ] [ ] [ ]] = [ ] เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน

หน้า 93
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

2.5.2 การเปลี่ยนฐานหลัก (Change of Basis)


กาหนดให้ = {v v v v } และ
= {u u u u }
เป็นฐานหลักลาดับสาหรับปริภูมิเวกเตอร์ และ u เป็นเวกเตอร์ใดๆ จะได้ว่า
u=c v +c v +c v + +c v
และ
u= u + u + u + + u
เมื่อ c c c c เป็นสเกลาร์ ดังนั้น
c
c
[u] = [ ]
c
และ

[u] = [ ]

พิจารณา
v = u + u + u + + u
v = u + u + u + + u

v = u + u + u + + u

ในกรณีทั่วไป สาหรับแต่ละ = ให้


v = u + u + u + + u
เมื่อ เป็นสเกลาร์
ดังนั้น

[v ] = [ ]

พิจารณา
[u] = [c v + c v + c v + +c v ]

= c [v ] + c [v ] + c [v ] + + c [v ]

หน้า 94
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

=c [ ]+c [ ]+c [ ]+ +c [ ]

c + c + c + +c
c + c + c + +c
=[ ]
c + c + c + +c

c
c
=[ ] [ ] = [u]
c

ดังนั้น สรุปได้ว่า
[u] = [u] สาหรับทุกๆ เวกเตอร์ u ใน
เมื่อ

=[ ]

และจะเรียก ว่าเมทริกซ์เปลี่ยนฐานหลักจากฐานหลักลาดับ ไปยังฐานหลักลาดับ (transition matrix


from the ordered basis to the ordered basis )
เราสามารถพิสูจน์ได้ว่า
1. เป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน (non-singular matrix)
2. มีเมทริกซ์ เพียงตัวเดียวที่ทาให้
[u] = [u]
สาหรับทุกๆ เวกเตอร์ u ใน

เพื่อความชัดเจนจะแทนเมทริกซ์เปลี่ยนฐานหลักจากฐานหลักลาดับ ไปยังฐานหลักลาดับ ด้วย


กล่าวคือ
[u] = [u]
สาหรับทุกๆ เวกเตอร์ u ใน
ดังนั้น
[u] = [u]

นั่นคือ จะเป็นเมทริกซ์เปลี่ยนฐานหลักจากฐานหลักลาดับ ไปยังฐานหลักลาดับ กล่าวคือ


=

หน้า 95
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

หมายเหตุ ในการหา สามารถหาได้จากวิธีการดังนี้


1. หาได้เช่นเดียวกันกับวิธีการการ จากวิธีการข้างต้น
2. หาได้จากการอินเวอร์สของ

ตัวอย่าง 2.5.8 ให้ = { } ={ + + } และ ={ + + }


เป็นฐานหลักลาดับสาหรับ
a) จงหาเมทริกซ์เปลี่ยนฐานหลักจากฐานหลักลาดับ ไปยังฐานหลักลาดับ
วิธีทา

b) จงหาเมทริกซ์เปลี่ยนฐานหลักจากฐานหลักลาดับ ไปยังฐานหลักลาดับ
วิธีทา

หน้า 96
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

c) จงหาเมทริกซ์เปลี่ยนฐานหลักจากฐานหลักลาดับ ไปยังฐานหลักลาดับ
วิธีทา

d) จงหาเมทริกซ์เปลี่ยนฐานหลักจากฐานหลักลาดับ ไปยังฐานหลักลาดับ
วิธีทา พิจารณา
= + + + + +
+ = + + + + +
= + + + + +
+ = + + + + +
จะได้ว่า

=[ ]

e) จงหาเมทริกซ์เปลี่ยนฐานหลักจากฐานหลักลาดับ ไปเป็นฐานหลักลาดับ
วิธีทา

= =[ ]

หน้า 97
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์
. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา SC402101 พีชคณิตเชิงเส้น .

f) จงหาพิกัด [ ] [ ] และ [ ] โดยที่ = + +


วิธีทา พิจารณา

[ ] =[ + + ] =[ + + + ] =[ ]

จากสมบัติ [ ] = [ ]

จะได้ว่า

[ ] =[ ][ ]=[ ]

จากสมบัติ [ ] = [ ]

จะได้ว่า

[ ] =[ ][ ]=[ ]

หน้า 98
บทที่ 2 ปริภูมิเวกเตอร์

You might also like