Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 5

การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview)

เป็ นการสัมภาษณ์ที่มีการใช้แบบฟอร์มที่มีการเตรียมการ มีแผนการ


สัมภาษณ์ และการบริหารการสัมภาษณ์จัดเตรียมไว้อย่างค่อนข้างแน่นอน
เป็ นการล่วงหน้า การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างนีม
้ ีลักษณะการดำเนินงานที่
เป็ นมาตรฐานหรือเป็ นทางการมาก ผู้ให้สัมภาษณ์ทุกคนจะตอบคำถาม
เดียวกัน และถามคำถามก่อนหลังเรียงตามลำดับเหมือนกัน ผู้สัมภาษณ์จะ
ต้องอ่านคำถามตามลำดับในแบบสัมภาษณ์

ข้อดีของการสัมภาษณ์เชิงโครงสร้าง

ลดอคติและความรู้สึกตะขิดตะขวงใจการถามคำถามเดียวกันในลำดับที่เป็ น
ระบบเดียวกันช่วยลดความเสี่ยงของการได้รับอิทธิพลจากความคิดเห็นส่วน
ตัวและลดอคติที่เกิดขึน
้ โดยไม่ร้ต
ู ัว อคติที่ไม่ร้ส
ู ึกตัว (หรืออคติโดยนัย) เป็ น
ทัศนคติพ้น
ื ฐานที่สร้างความชื่นชอบหรือไม่ชอบต่อบุคคลหรือกลุ่มคนเช่น
เพศรสนิยมทางเพศ ลักษณะส่วนบุคคล ภูมิหลังทางวิชาการ อายุ หน้าตา
ความสวยงาม ฯลฯ การใช้การสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้างในการสรรหาจะช่วย
ให้ผู้สรรหาและผู้จัดการสายงานมีมุมมองที่ยุติธรรมเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้
สมัครในระหว่างกระบวนการสัมภาษณ์

ความน่าเชื่อถือและความไว้วางใจที่ดีขน
ึ้

เนื่องจากโครงสร้างที่ดีตามธรรมชาติ การสัมภาษณ์เชิงโครงสร้างมีความน่า
เชื่อถือและไว้วางใจได้มากกว่าการสัมภาษณ์ประเภทอื่น ๆ เนื่องจากผู้สมัคร
ทุกคนจะได้รับคำถามเดียวกันจึงทำให้ง่ายต่อการเปรียบเทียบคำตอบและ
ทำการตัดสินใจว่าจ้างอย่างมีข้อมูล

การตัดสินใจโดยขับเคลื่อนข้อมูลเพื่อสนับสนุนกระบวนการจ้างงาน

ข้อมูลช่วยให้คุณทราบว่าคำถามใดที่ให้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ดังนัน
้ นายจ้าง
สามารถรวบรวมจุดข้อมูลที่เกี่ยวข้องมากที่สุดโดยการวิเคราะห์คำตอบที่ให้
ไว้ข้อมูลที่รวบรวมช่วยในการเปรียบเทียบผู้สมัครแต่ละคนและตัดสินใจว่า
คำถามใดที่มีผลกระทบมากที่สุด ข้อมูลที่รวบรวมสามารถใช้ซ้ำใน
กระบวนการสัมภาษณ์เชิงโครงสร้างเพื่อให้มีประสิทธิภาพมากที่สุดสำหรับ
ความต้องการเฉพาะของบริษัทของคุณ

มีประสิทธิภาพและใช้งานง่าย

ไม่มีค่าใช้จ่ายใด ๆ ในการดำเนินการสัมภาษณ์เชิงโครงสร้าง นอกจากนีย


้ ัง
เป็ นเรื่องง่ายที่จะเปิ ดตัวแนวทางในรอบต่าง ๆ ของกระบวนการสัมภาษณ์
นอกจากนีย
้ ังสามารถสร้างมาตรฐานที่ยอดเยี่ยมสำหรับกระบวนการเลือก
โดยรวม บริษัทต่างๆอาจใช้คำถามสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้างเป็ นกระบวนการ
คัดเลือกผู้สมัครล่วงหน้า ก่อนการพบกันครัง้ แรกกับทีมผู้ว่าจ้าง หรือใน
ระหว่างการสัมภาษณ์

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

1. การสัมภาษณ์ (Interviewing)

คือการสนทนาหรือการเจรจาโต้ตอบกันอย่างมีจุด
มุ่งหมาย เพื่อค้นหาความรู้ ความจริง ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ล่วงหน้า
การสัมภาษณ์ประกอบด้วย ผูส
้ ัมภาษณ์ (Interviewer) และผู้ให้สัมภาษณ์
(Interviewee)

รายละเอียดเกี่ยวกับการสัมภาษณ์ จำแนกได้ดังต่อไปนี ้

1.1 ประเภทของข้อมูลที่ต้องการจะสัมภาษณ์

· ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสภาวะปั จจุบันของระบบ เช่น กระบวนการ


ปั ญหา และอุปสรรคของระบบ

· ความคิดเห็นและความเชื่อของผู้ที่ให้สัมภาษณ์

· ความรู้สึก และเจตคติ

· เป้ าหมาย
1.2 แบบของการสัมภาษณ์ มี 2 แบบ

· การสัมภาษณ์โดยใช้แบบสัมภาษณ์ที่กำหนดคำถามไว้
ตายตัว(Structured Interview) ถามเหมือนกันทุกคน

· การสัมภาษณ์โดยใช้แบบสัมภาษณ์ที่ไม่ได้กำหนดคำถามไว้
ตายตัว(Unstructured Interview) จะกำหนดแต่หัวข้อไว้กว้าง ๆ ไม่
จำเป็ นต้องถามเหมือนกันทุกคน

1.3 กระบวนการในการสัมภาษณ์

· ศึกษาภูมิหลังขององค์กร

· เลือกผู้ที่จะให้สัมภาษณ์ ซึ่งมีความสำคัญมาก เพราะถ้าสัมภาษณ์ไม่


ถูกคน อาจจะได้ข้อมูลที่ผิดพลาด และมองไม่เห็นภาพของระบบ

· ตัง้ จุดมุ่งหมายในการสัมภาษณ์ จะสัมภาษณ์อะไรบ้าง

จากการสัมภาษณ์คณ
ุ ครูอาภาเกี่ยวกับการเลือกเรียนปริญญาโทที่
มหาวิทยาลัยรามคำแหงสามารถสรุปเนื้อหาได้ ดังนี ้

1. ผู้ให้ข้อมูล คือ คุณครูอาภา ผดุงเวียง ครูโรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ

2. เหตุผลใดจึงเลือกเรียนปริญญาโทที่รามคำแหง คือ สถานที่ใกล้กบ


ั ที่อยู่
อาศัยและหลักสูตรของสาขาวิชาเป็ นด้านที่สนใจเรียนอยู่แล้ว

3. สาขาวิทยาการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีความ
เกี่ยวข้องกับการทำงานหรือไม่ คือ เกี่ยวข้องกับการทำงานเนื่องจากครู
อาภาสอนวิชาวิทยาศาสตร์พ้น
ื ฐาน และอยู่ในกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีอยู่แล้วด้วย

4. การเลือกทำวิทยานิพนธ์หรือสารนิพนธ์คุณครูจะเลือกแบบไหน ตอบ มี
เป้ าหมายว่าจะเลือกทำสารนิพนธ์เพราะยังคิดว่าตัวเองไม่มีความสามารถใน
การทำวิทยานิพนธ์

You might also like