Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

การที่อะตอมมารวมตัวกันเพื่อจัดเวเลนซอิเล็กตรอนใหเสถียร ทําใหเกิดแรงยึดเหนี่ยวระหวาง

อะตอมขึ้น ทําใหเกิดเปนกลุมอะตอม โมเลกุล เราเรียกวาแรงยึดเหนี่ยวนี้วา พันธะเคมี (chemical bond)

พันธะเคมีมี 3 ประเภท

1) พันธะโลหะ
2) พันธะไอออนิก
3) พันธะโคเวเลนต

1. พันธะโลหะ (Metalic bond)


พันธะโลหะ เกิดจากโลหะจายอิเล็กตรอน ทําใหมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่
บนแทงโลหะ หากประจุลบเคลื่อนที่เขามาใกลประจุบวกตัวใด จะเกิด
แรงดึงดูดทําใหเกิดเปนพันธะโลหะขึ้น
อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 2| www.edu-deo.com

2. พันธะไอออนิก (Ionic bond)


การเกิดพันธะไอออนิกเกิดจากแรงดึงดูดทางไฟฟาระหวางไอออนบวก ( Cation) และไอออนลบ
(Anion) พันธะไอออนิกเกิดจากโลหะรวมตัวกับอโลหะ

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต
อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 3| www.edu-deo.com

การเกิดสารประกอบไอออนิก (Born – Haber Cycle)

ลําดับที่ การเปลี่ยนแปลง ชื่อของพลังงาน


1. Na(s) Na(g) + การระเหิด

2. Na(g) Na+(g) + e- + Ionization

3. Cl2(g) 2Cl(g) + สลายพันธะ

4. Cl(g) Cl-(g) - Electron


Affinity
5. Na+(g) + Cl-(g) NaCl(s) - Lattice

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต
อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 4| www.edu-deo.com

การละลายของสารประกอบไอออนิก

NaCl(s) Na+(g) + Cl-(g) .............................................

Na+(g) + Cl-(g) Na+(aq) + Cl-(aq) .............................................

ความสัมพันธของพลังงานการละลาย

1. ละลายแลวบีกเกอรรอนขึ้น ..................................................................
2. ละลายแลวบีกเกอรเย็นลง ..................................................................
3. ละลายแลวบีกเกอรอุณหภูมิเทาเดิม ..................................................................
4. ไมละลาย ..................................................................

สารที่ละลายน้ําและไมละลายน้ําที่ควรทราบ

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต
อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 5| www.edu-deo.com

3. สารประกอบโคเวเลนต (Covalent bond)


เกิดจากแรงยึดเหนี่ยวระหวางอะตอมเกิดจากอะตอมใชเวเลนซอิเล็กตรอนของอะตอมอโลหะและ
อโลหะรวมกันเปนคูๆ การที่อะตอมใชอิเล็กตรอนรวมกันนั้น เพื่อใหอิเล็กตรอนของแตละอะตอมมี
อิเล็กตรอนวงนอกครบ 8 ซึ่งเรียกวากฎออกเตต (Octet) แตสารประกอบโคเวเลนตบางชนิดก็ไมได
เปนไปตามกฎออกเตต ซึ่งมีเปนสวนนอย

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต
อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 6| www.edu-deo.com

ชนิดของพันธะโคเวเลนต

มี 3 ประเภท ไดแก

1 พันธะเดี่ยว (single bond)

2. พันธะคู (double bond)

3. พันธะสาม (Triple bond)

1. พันธะเดี่ยว (Single bond)

2. พันธะคู (Double bond)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต
อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 7| www.edu-deo.com

3. พันธะสาม (Triple bond)

พันธะโคออรดิเนตโคเวเลนต (Coordinate covalent)

ปรากฏการณรีโซแนนซ (Resonance)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต
อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 8| www.edu-deo.com

พลังงานของพันธะและความยาวพันธะ
พลังงานของปฏิกิริยาเคมีมี 2 ประเภท

1. ปฏิกิริยาดูดพลังงาน  การ สลายพันธะ


2. ปฏิกิริยาคายพลังงาน  การ สรางพันธะ

Ex. 2NH3 N2 + 3H2 จงหาวาปฏิกิริยานี้เปนประเภทใดและมีพลังงานเปลี่ยนแปลง


เทาใด (กําหนดให N-H = 391 kJ/mol , H-H = 436 kJ/mol , N≡N = 945 kJ/mol)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต
อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 9| www.edu-deo.com

Ex.2 CH4 + 2O2 CO2 + 2H2O จงหาวาปฏิกิริยานี้เปนประเภทใดและมีพลังงาน


เปลี่ยนแปลงเทาใด (กําหนดให C-H = 413 kJ/mol , O=O = 498 kJ/mol , C=O = 745 kJ/mol , O-H =
463 kJ/mol)

ความยาวพันธะ

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต
อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 10| www.edu-deo.com

รูปรางโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต (VSEPR)
การหาจํานวนพันธะ

จํานวนพันธะ = จํานวนธาตุทั้งหมดในสูตร - 1

EX.

H2O............................ PCl3 ............................ SF4 ............................ PCl5 …………………..

CO2............................ SO3 ............................ CCl4 ............................ AsF5 …………………..

O3 ............................ NCl3............................ XeF4 ............................ IF5 …………………….

การพิจารณาอิเล็กตรอนคูโดดเดี่ยว (lone pairs)

ตองพิจารณาวาเดิมอิเล็กตรอนกลางมีเวเลนซอิเล็กตรอนเทาใด ถูกใชไปในการเกิดพันธะเทาใด
และคงเหลือเทาใดซึ่งนั่นก็คืออิเล็กตรอนคูโดดเดี่ยวนั่นเอง

CO2 .................... H2S .................... HCN .................... SO3 ....................

PCl3 .................... NO2 .................... CO32-.................... CH2O ....................

BrF5 .................... ClF- .................... ClO3- .................... BrF2+ ....................

การพิจารณารูปรางโมเลกุล

หลัก 1) พิจารณาวาโมเลกุลนั้นมีกี่พันธะ จากสูตร จํานวนพันธะ = จํานวนธาตุทั้งหมด - 1

2) พิจารณาวาโมเลกุลนั้นมีอิเล็กตรอนคูโดดเดี่ยวเทาใด

3) พิจารณารูปรางโมเลกุล ดังนี้

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต
อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 11| www.edu-deo.com

ตารางแสดงการจําแนกลักษณะของรูปรางโมเลกุลแบบตางๆ

จํานวน อิเล็กตรอนคู
ชื่อ รูป เชน
พันธะ โดดเดี่ยว

2 - เสนตรง

2 1-2 มุมงอ

2 3 เสนตรง

สามเหลี่ยม
3 -
แบนราบ

พีระมิดฐาน
3 1
สามเหลี่ยม

3 2 T-Shape

4 - ทรงสี่หนา

Seesaw
4 1
(มากระดก)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต
อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 12| www.edu-deo.com

สี่เหลี่ยมแบน
4 2
ราบ

พีระมิดคูฐาน
5 -
สามเหลี่ยม

พีระมิดฐาน
5 1
สี่เหลี่ยม

6 - ทรงแปดหนา

แบบฝกหัด

1. CO2 …………………………………… 4. NH3 …………………………………..

2. H2O …………………………………… 5. CCl4 ………………………………….

3. SO3 ……………………………………. 6. TeCl4 ………………………………..

การพิจารณามุมระหวางพันธะ

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต
อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 13| www.edu-deo.com

สภาพขั้วของสารประกอบโคเวเลนต

1) พันธะ
ไมมีขั้ว : เปนธาตุชนิดเดียวกัน เชน F2 , O2 , Cl2

มีขั้ว : เปนธาตุตางชนิดกัน เชน CO2 , H2O , BrF3

2) โมเลกุล
ไมมีขั้ว : ไมมีอิเล็กตรอนคูโดดเดี่ยว เชน CO2 , BrF5 , CCl4 สารประกอบ CxHy

มีขั้ว : มีอิเล็กตรอนคูโดดเดี่ยว เชน H2O , SO2 , NH3

แรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุล

1. แรงแวนเดอรวาลส (Van Der Waal Forces)

- แรงลอนดอน (London) สําหรับโมเลกุลที่ไมมีขั้ว (ไมมีอิเล็กตรอนคูโดดเดี่ยว)

- แรงดีงดูดระหวางขั้ว (Dipole Dipole) สําหรับโมเลกุลที่มีขั้ว (มีอิเล็กตรอนคูโดดเดี่ยว)

2. พันธะไฮโดรเจน (Hydrogen bond)

เกิดกับโมเลกุลที่มี ธาตุ H กับธาตุ F , O , N (เพราะมีคา EN สูง)

การพิจารณาจุดเดือดของสารประกอบโคเวเลนต

1) สารประกอบโคเวเลนตมีจุดเดือดแปรผันตามมวลโมเลกุล

2) จุดเดือดของโมเลกุลที่มีขั้ว สูงกวา โมเลกุลที่ไมมีขั้ว

3) โมเลกุลที่มีพันธะไฮโดรเจนมีจุดเดือดสูงมาก แมวามวลโมเลกุลนอยก็ตาม
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com
สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต
อดิลักษณ พิสุทธิ์ปญญา (พี่ตะ) | 14| www.edu-deo.com

4) สารประกอบโคเวเลนตแบบโครงผลึกรางตาขายจุดเดือดสูงที่สุด เชน SiO2 , แกรไฟต , เพชร

แบบฝกหัด

1. จงเปรียบเทียบมุมพันธะของ CH4 , H2O , NH3 จากใหญไปเล็ก

2. จงเปรียบเทียบมุมพันธะของสาประกอบ SCl2 , OCl2 จากใหญไปเล็ก

3. จงเรียงลําดับจุดเดือดของ SiO2 , HF , H2S , Cl2 , Ne

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com หามผูใดทําซ้ําหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใชโดยมิไดรับอนุญาต

You might also like