Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 13

เรื่องประเภทของสารเคมี

จัดทำโดย

ด.ช.กฤติพงศ์ นวรัตน์ ณ อยุธยา

ชัน
้ ม.1/6 เลขที่3
อ้างอิงจาก ://www.diw.go.th/km/article/head.asp?no=http1

www.recycleengineering.com › knowledge_base-chemical
ที่มาและความสำคัญเนื่องจากต้องการรู้ว่าสารเคมีแบ่งตามอะไรมีกี่
ส่วนมีสัญญาลักษณะอะไรแล้วแต่ละสัญญาลักษณะคืออะไร

ขัน
้ ตอนการำเนินงาน

1.กำหนดหัวข้อ 5.ตรวจสอบข้อมูล

2.วางแผนงาน 6.นำเสนอ

3.หาข้อมูล
4.รวบรวมข้อมูล

จุดประสงค์

1.เพื่อให้ร้วู ่าสัญญาลักษณะทางเคมีในสิ่งของที่ระบุในฉลากเนี่ย
หมายความว่าอย่างไร

ในปั จจุบันใช้ระบบการจำแนก ตามระบบ GHS เป็ นวิธีการส่งผ่าน


ข้อมูลไปยังผู้ใช้กลุ่มต่าง ๆ ให้มค
ี วามเข้าใจตรงกัน ตัง้ แต่นายจ้าง
ลูกจ้าง ผู้ผลิต และผู้บริโภค   เพื่อให้ได้รับทราบถึงอันตรายและข้อ
ควรระวังในการใช้   รวมถึงวิธีการป้ องกันและการแก้ไขอันตรายที่
อาจเกิดขึน
้ อันเนื่องมาจากสารเคมี  หรือเคมีภัณฑ์ต่าง ๆ  ซึ่งหลักการ
สำคัญของระบบดังกล่าว ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 

       1)  การจำแนกประเภทสารเคมี เพื่อต้องการสื่อข้อมูลเกี่ยวกับ
ลักษณะอันตรายของสารเคมี ว่าลักษณะอันตรายอย่างไร จะจัดอยู่ใน
ประเภทใด หรือกลุ่มใด
 
            2)  การติดฉลาก เพื่อต้องการสื่อข้อมูลสารเคมีอย่างง่ายให้
กับกลุ่มผู้ใช้และบุคคลทั่วไป เพื่อให้ทราบถึงวิธีป้องกันอันตราย และ
การแก้ไขอันตรายเบื้องต้น
            3)  การจัดทำเอกสารข้อมูลความปลอดภัย เพื่อใช้สำหรับ
สื่อข้อมูลของสารเคมีอย่างละเอียด โดยเน้นในกลุ่มผู้ผลิต ผู้ขนส่ง
และผู้เก็บรักษา 

การจำแนกประเภทสารเคมี

การจำแนกประเภทสารเคมี  จะพิจารณาจากลักษณะอันตรายเป็ น
หลัก ซึ่งอันตรายที่กำหนดตามระบบ GHS จะมี 3 ประเภท คือ 
 การจำแนกประเภทความเป็ นอันตรายทางกายภาพ
แบ่งได้ 17 ประเภท ดังนี ้
1. วัตถุระเบิด
2.. ก๊าซไวไฟ
3. ละอองลอย
4. ก๊าซออกซิไดส์
5. ก๊าซภายใต้ความดัน
6. ของเหลวไวไฟ
7. ของแข็งไวไฟ
8. สารที่ทำปฏิกิริยาได้เอง
9. ของเหลวที่ลุกติดไฟได้เองในอากาศ
10. ของแข็งที่ลุกติดไฟได้เองในอากาศ
11. สารที่เกิดความร้อนได้เอง
12. สารที่สัมผัสน้าแล้วให้กา๊ ซไวไฟ
13. ของเหลวออกซิไดส์
14. ของแข็งออกซิไดส์
15. สารเปอร์ออกไซด์อินทรีย์
16. สารกัดกร่อนโลหะ 17. สารที่มีการหน่วงการระเบิด
การจำแนกประเภทความเป็ นอันตรายทางสุขภาพ
แบ่งได้ 10 ประเภท ดังนี ้

1. ความเป็ นพิษเฉียบพลัน
2. การกัดกร่อนการระคายเคืองต่อผิวหนัง

3. การทำลายดวงตาอย่างรุนแรง / การละคายเคืองต่อดวงตา
4. ความไวต่อการแพ้กับระบบทางเดินหายใจหรือผิวหนัง
5.การกลายพันธ์ข
ุ องเซลล์สืบพันธ์ุ
6. ความสามารถในการก่อมะเร็ง
7. ความเป็ นพิษต่อระบบสืบพันธ์ุ
8. ความเป็ นพิษต่อระบบอวัยวะเป้ าหมายอย่างเฉพาะเจาะจง การได้
รับสัมผัสครัง้ เดียว
9. ความเป็ นพิษต่อระบบอวัยวะเป้ าหมายอย่างเฉพาะเจาะจง การได้
รับสัมผัสซ้ำ
10. ความเป็ นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจส่วนล่างอักเสบ
THE END

You might also like