Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 23

พัฒนาการเศรษฐกิ

Development Economic จปริท123


Review รรศน์
ปี ท่ี 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม 2562)

การประเมินทางคณิตศาสตร์ประกันภัยและการ
วิเคราะห์ความไวของนโยบายกองทุนเงิน
ให้ก้ยู ืมเพื่อการศึกษา
วสุรตั น์ กลิน่ หอมรืน่ * อานนท์ ศักดิวรวิ
์ ชญ์**
*
รับวันที่ 4 เมษายน 2561
ส่งแก้ไขวันที่ 8 มิถุนายน 2561
ตอบรับตีพมิ พ์วนั ที่ 10 กรกฎาคม 2561

บทคัดย่อ

กองทุนกูย้ มื เพือ่ การศึกษา (กยศ.) ก�ำลังประสบกับปญั หาหนี้เสียเป็ นจ�ำนวนมาก ปญั หาเช่นนี้สง่ ผล


ต่อสถานะ และกองทุนทีอ่ าจจะล้มละลายได้ในอนาคต การวิจยั ครัง้ นี้จงึ มีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์
ความยังยื่ นทางการเงินของ กยศ. และผลกระทบจากปจั จัยต่างๆ โดยใช้วธิ กี ารประเมินทางคณิตศาสตร์
ประกันภัยและวิเคราะห์ความไวของเงินกองทุน ผลการศึกษาพบว่า ในสถานการณ์ปกติเงินกองทุน
จะติดลบในปี พ.ศ. 2563 วิธที ส่ี ามารถแก้ไขปญั หาดังกล่าวได้คอื การลดสัดส่วนของผูก้ ลู้ งร้อยละ 30
ซึง่ จะท�ำให้กองทุนไม่ตดิ ลบไปตลอดและเป็ นการลดรายจ่ายของ กยศ. ให้เพียงพอกับจ�ำนวนเงินทีไ่ ด้
รับการช�ำระหนี้

ค�ำส�ำคัญ: กองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา, การประเมินทางคณิตศาสตร์ประกันภัย,


การวิเคราะห์ความไว

* นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาวิทยาการประกันภัยและการบริหารความเสีย่ ง คณะสถิตปิ ระยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์


อีเมล์: biggvasurat@gmail.com

** ผูอ้ ำ� นวยการหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณ
ั ฑิตและวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการประกันภัยและการบริหารความเสีย่ ง คณะ
สถิตปิ ระยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ อีเมล์: arnond@as.nida.ac.th
124 Development Economic Review Development Economic Review
Volume 13 No.2 (July 2019)

Actuarial Valuation and Sensitivity Analysis


of Student Loan Fund Policyd

Vasurat Klinhomruen* Arnond Sakworawich**

Received 4 April 2018


Revised 8 June 2018
Accepted 10 July 2018

Abstract

The Student Loan Fund (SLF) has confronted very large number of default loans. This problem
will certainly affect financial status of SLF and will even make SLF go bankrupt or have negative
capital very shortly. The objective of this research is to analyze the financial sustainability of
SLF and the various factors affecting SLF with actuarial valuation method and its sensitivity
analysis. Research results reveal that under normal scenario, SLF’s capital will be negative
within 2020. There are many resolutions such that the 30 percent reduction on numbers of
borrowers makes capital fund positive forever. This resolution can reduce expenditure of the
SLF equal to the received settlement amount, and can be managed independently by the SLF.

Keywords: Actuarial Valuation, Sensitivity Analysis, Student Loan Fund

* Graduate Student in Master of Science Program in Actuarial Science and Risk Management, Graduate School of
Applied Statistics, National Institute of Development Administration, Email: biggvasurat@gmail.com

** Director of Doctoral Program and Master of Science Program in Business Analytics and Data Science, Graduate
School of Applied Statistics, National Institute of Development Administration, Email: arnond@as.nida.ac.th
Development Economic Review 125

121 
 1) ความเป็ นมา (Background)
นับแต่จ1)ดั ตัความเป็ ง้ กองทุนนเงิมานให้ กู้ยมื เพื่อการศึกษา (กยศ.) จนถึงปี พ.ศ.2556 มีผู้ท่มี าช�ำระหนี้เพียง
(Background)
2,034,924
นับแต่จดั คน (ร้อยละ
ตัง้ กองทุ นเงิน72.97)
ให้กยู้ มื และมี
เพื่อการศึหนี้ทกค่ี ษาา้ งช�(กยศ.)
ำระถึงจนถึ 25,073.76
งปี พ.ศ.255 ล้านบาท มีผทู้ (ร้ม่ี อาชํยละ
าระหนี34.72)้เพียง(กองทุ
2,0,92น
เงินคน ให้ก(รู้้ยอมื ยละเพื่อ2.9)
การศึกและมี ษา ห2557: 41)าระถึรวมทั
นี้ทค่ี า้ งชํ ง้ กองทุนมีล้แานบาท
ง 25,0. นวโน้ ม(ร้ทีอ่จยละ ะมีห.2)
นี้ เสียเพิ ม่ ขึ้นนดัเงิงนแสดงใน
(กองทุ ให้กูย้ มื เพื่อ
ภาพที การศึกษา 255: 1) รวมทัง้ กองทุนมีแนวโน้มทีจ่ ะมีหนี้เสียเพิม่ ขึน้ ดังแสดงในภาพที่ 1 ในแต่ละปีงได้กยศ.
่ 1 ในแต่ ล ะปี กยศ. มี ภ ารกิ จ ปล่ อ ยกู เ
้ งิ
น เพื อ
่ การศึ ก ษาเป็ น จ� ำ นวนมาก ท�ำ ให้ จ ำ
� เป็ น ต้อ รบั มี
เงินภารกิ
งบประมาณจากภาครั
จปล่อยกูเ้ งินเพื่อการศึ ฐ เพืกอ่ ษาเป็
ให้เพีนยจํงพอกั
านวนมาก บความต้ ทําให้อจงการกูาํ เป็ นต้ย้ อมื งได้ ทัง้รนีบั ้สเงิาเหตุ ของปญั หาคือ 1) ฐมีเพื
นงบประมาณจากภาครั ผกู้ ่อู้ ให้
ทีผ่ ดิเพีนัยดงพอกัช�ำระหนี ้เป็ นจ�อำงการกู
บความต้ นวนมาก, ย้ มื ทั2)ง้ นีกยศ.
้สาเหตุไม่ ของป สามารถติ
ญั หาคือดตามเพื 1) มีผกู้ อ่ ทู้ ให้
ผ่ี ดิ มนัาช�ดชํำาระหนี
ระหนี้ไ้เป็ด้น, 3) อัตราดอกเบี
จํานวนมาก, ) กยศ.ย้
เงินไม่ กูท้ สต่ี ามารถติ
่�ำมาก (1%ต่ดตามเพื อปีอ่ )ให้
, 4)มาชํระยะเวลาปลอดหนี
าระหนี้ได้, ) อัตราดอกเบี ้ยาวนานย้ เงิ2 นปีกูท้จึงต่ี เริ ่ํามากม่ คิด(1%ต่
ดอกเบี อปีย้ ), 5) ระยะเวลาช�ำระ ้
) ระยะเวลาปลอดหนี
หนี้ยยาวนาน
าวนาน 215ปี ปีจึ,งและ เริม่ คิ6) อัตราเงิ
ดดอกเบี ้ อทีส่ งู ขึน้ แต่าระหนี
ย้ ,น5)เฟระยะเวลาชํ ผกู้ ูไ้ ม่้ยตาวนาน
อ้ งรับภาระ 15 ปี ,ท�และ ำให้ )กยศ. นเฟ้อทีส่ งู ขึน้ แต่
มีภาระทางการเงิ
อัตราเงิ น ผูก้ ู้
ทีส่ งู ไม่มากและต้
ต้องรับภาระ องพึทํง่ พิ
าให้งเงิกยศ.
นงบประมาณของรั
มีภาระทางการเงิ ฐเพินมที่ ขึส่ งูน้ มากและต้
ทุกปี ในระยะยาวมี
องพึง่ พิงเงินผงบประมาณของรั ลทางลบรุนแรงต่ฐอเพิสถานะ ม่ ขึน้ ทุกปี
เงินในระยะยาวมี
กองทุน และกองทุ ผลทางลบรุ นอาจจะล้
นแรงต่มอหรื อมีเงินนกองทุ
สถานะเงิ กองทุนนติและกองทุ ดลบและมีนแอาจจะล้ นวโน้ มมเป็ หรืนอปมีญ ั
เงินหาภาระการคลั
กองทุนติดลบและมี ง
สาธารณะของประเทศได้
แนวโน้มเป็ นปญหาภาระการคลั ั ในอนาคตอั นใกล้
งสาธารณะของประเทศได้ ในอนาคตอันใกล้

ภาพที
ภาพที ่ 1 ่ 1จ�ำนวนคนที
จํานวนคนที
่ ไม่ได้ม่ไม่าช�
ได้ำมระหนี
าชําระหนี ้ และจํ
้ และจ� านวนเงิ
ำนวนเงิ นทีน่ ยทีงั ่ยไม่
งั ไม่ได้ได้รรบั บั การช�
การชํำาระหนี
ระหนี้ ใ้ ในปี
นปี พ.ศ.
พ.ศ.
2542-2556 2-26
(Number (Number of ญeople
of ญeople who whohavehave
not not
PaidPaid Debt Debt andandAmount
AmountofofUnpaid Unpaid
Debt inDebt in 1-213)
1999-2013)

จํานวนคนทีไ่ ม่ได้มาชําระหนี้ จํานวนเงินทีย่ งั ไม่ได้รบั การชําระหนี้ (ล้านบาท)


1,000,000 0,000
25,000
50,000
20,000
500,000 15,000
10,000
250,000
5,000
- -

จํานวนคนทีไ่ ม่ได้มาชําระหนี้ จํานวนเงินทีย่ งั ไม่ได้รบั การชําระหนี้

ทีทีม่ ม่ า:า:กองทุ
กองทุนเงินนเงิให้นกให้ยู้ กมื เพื
ูย้ มื อ่ เพื
อ่ การศึ
การศึ กษา ก(258-255)
ษา (2548-2557) และค�ำนวณโดยผู
และคํานวณโดยผู
ว้ จิ ยั ว้ จิ ยั

การวิ การวิ จยั ครั


จยั ง้ครั
นี้มง้ นีจี ้ มุดจีประสงค์
ุดประสงค์ เพืเ่อพืวิ่อเคราะห์
วิเคราะห์ ความยั
ความยั งยื
่ งยื
่ นนทางการเงิ
ทางการเงินนของ ของ กยศ. ในอนาคตและผลกระทบ
กยศ. ในอนาคตและผลกระทบจาก
จากป ั ั
ปจจจัจัยยต่ต่างๆ างๆเช่เช่นน1)1)การได้ การได้รบั รบเงิ
ั เงินงบประมาณจากภาครั
นงบประมาณจากภาครั ฐ, 2)ฐ, ระยะเวลาที
2) ระยะเวลาที ไ่ ด้รไ่บั ด้เงิรนบั งบประมาณ,
เงินงบประมาณ, ) สัด3)ส่วน
สัดส่ของผู
วนของผู ก้ ,ู้ )ก้ อัู,้ ต4)ราการเพิ
อัตราการเพิ ม่ ขึน้ ของเงิ
ม่ ขึน้ ของเงิ นกู,้ 5)นสักูด,้ ส่5)วนของผู
สัดส่วนของผู ท้ ม่ี าช�้,ำ)ระหนี
ท้ ม่ี าชําระหนี ้, 6) อัตาราการว่
อัตราการว่ งงาน, )างงาน, 7)
เงือ่ นไขการ
เงือ่ ชํนไขการช�
าระหนี้, 8)ำระหนี อัต้,ราดอกเบี
8) อัตราดอกเบี ย้ เงิตนราผลตอบแทนจากการลงทุ
ย้ เงินกู,้ 9)อั กู,้ 9)อัตราผลตอบแทนจากการลงทุ น, และ 10) น, และ ค่าใช้10) ค่าใช้จ่ายหาร
จ่ายในการบริ
จัดการหโดยการศึ
ในการบริ ารจัดการกษานี ้ใช้ขอ้ มูกลษานี
โดยการศึ และสถานการณ์ ของ กยศ. ตามรายงานประจํ
้ใช้ขอ้ มูลและสถานการณ์ ของ กยศ. ตามรายงานประจ�าปี ของ กยศ. ประจํำาปีปีของ 25-
กยศ. 255ประจ� และใช้ำปี ก2547-2556
ารประเมินทางคณิ และใช้ ตศาสตร์
การประเมิประกันนทางคณิภัย (Actuarial
ตศาสตร์ Valuation)
ประกันภัยประกอบกั (Actuarial บการวิ เคราะห์ความ
Valuation)
ประกอบกับการวิเคราะห์ความไว (Sensitivity Analysis) ของเงินกองทุนในอนาคต เพื่อทดสอบ
ความมั  นคงและการอยู
่ ร่ อดของ กยศ. ภายใต้สมมติฐานทีก่ �ำหนดตัง้ แต่ปี พ.ศ.2557-2583
122 
  126 Development Economic Review

ไว (Sensitivity Analysis) ของเงินกองทุนในอนาคต เพื่อทดสอบความมันคงและการอยู ่ ่รอดของ กยศ.


ภายใต้
2) สสถานะกองทุ
มมติฐานทีก่ าํ หนดตั
นเงิ นง้ ให้
แต่กปี้ยู พ.ศ.255-258
ืมเพื่อการศึกษา (Status of the Student Loan Fund: SLF)
กยศ.จัด ตัง้ ขึ้น เมื่อ วัน ที่ 16 มกราคม พ.ศ.2539 ในลัก ษณะกองทุ น หมุน เวีย น ตามม.12 แห่ง
2) สถานะกองทุ
พระราชบั ญญัตเิ งินคงคลั นเงิ นง ให้ ก้ยู ืมเพื่อการศึ
พ.ศ.2491 กษา (Status
โดยพระราชบั ญญัตofิ กยศ.
the Student
มีผลบังคัLoanบใช้ใFund:
นปี พ.ศ.SLF)
2541 ก�ำกับ
ดูแ ลโดยกระทรวงการคลัง มีจุ ด ประสงค์เ พื่อ เพิ่ม โอกาสทางการศึก ษาในระดับ ที่สูง ขึ้น แก่ ผแห่
กยศ.จั ด ตั ง
้ ขึ ้ น เมื ่ อ วั น ที่ 6 มกราคม พ.ศ.259 ในลั ก ษณะกองทุ น หมุ น เวี ย น ตามม.12 ู้ท่ีมง ี
พระราชบั
รายได้ น้อญ
ยซึญัง่ ตด้ิเองินยโอกาสทางการศึ
คงคลัง พ.ศ.291กโดยพระราชบั ญญั
ษา แก้ปญั หาด้ ติ กยศ. มีผ่อลบั
านความเหลื มล�ง้คัำทางด้
บใช้ในปี พ.ศ. 251 กํากับกดูษา
านโอกาสทางการศึ แล
โดยกระทรวงการคลัง มีจุดประสงค์เพื่อเพิม่ โอกาสทางการศึกษาในระดับทีส่ งู ขึน้ แก่ผทู้ ม่ี รี ายได้น้อยซึง่ ด้อย
สามารถรองรับความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
โอกาสทางการศึกษา แก้ปญั หาด้านความเหลื่อมลํ้าทางด้านโอกาสทางการศึกษา สามารถรองรับความ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
นักเรียนนักศึกษาทีม่ สี ทิ ธิกูย้ มื เงินต้องมีรายได้ต่อครอบครัวไม่เกิน 200,000 บาท/ปี เป็ นผูท้ ศ่ี กึ ษา
อยูใ่ นระดับมัธยมปลาย ประกาศนียบัตรวิชาชีพ/วิชาชีพขัน้ สูง/วิชาชีพเทคนิค อนุ ปริญญา ปริญญาตรี
นักเรียนนักศึกษาทีม่ สี ทิ ธิกูย้ มื เงินต้องมีรายได้ต่อครอบครัวไม่เกิน 200,000 บาท/ปี เป็ นผูท้ ศ่ี กึ ษาอยู่ใน
ซึ่งจ�ำนวนเงินทีก่ ูย้ มื จะแตกต่างไปตามระดับการศึกษาและสาขาวิชา ผูก้ ูท้ ส่ี �ำเร็จการศึกษาหรือเลิก
ระดับมัธยมปลาย ประกาศนียบัตรวิชาชีพ/วิชาชีพขัน้ สูง/วิชาชีพเทคนิค อนุ ปริญญา ปริญญาตรี ซึง่ จํานวน
การศึ
เงินทีก่ กยู้ ษาแล้มื จะแตกต่ วเป็ นาเวลา
งไปตามระดั2 ปี จึบงการศึ
ครบก� ำหนดช�ำระหนี
กษาและสาขาวิ ชา้ ผูเมืก้ ่อูท้ ครบก�
ส่ี าํ เร็จำการศึ
หนดช� ำระหนี
กษาหรื อเลิ้ จกะคิดอัตกราดอกเบี
การศึ ษาแล้วเป็ น้ย
ร้เวลา
อยละ2 ปี1 จึของยอดเงิ งครบกําหนดชํ นทีย่ างั ระหนี
ไม่ได้้ ชเมืำ� ระหนี
่อครบกํ้ หากผู
าหนดชํก้ ูย้ าระหนี
มื เงิน้ผิจะคิ ดนัดดอัช�ตำราดอกเบี
ระหนี้ จะต้ ้ยร้ออยละ
งเสีย1ค่าของยอดเงิ
ปรับร้อยละ นที15
ย่ งั
ของเงิ
ไม่ได้ชําระหนี้ หากผูก้ ู้ยมื เงินผิดนัดชําระหนี้ จะต้องเสียค่าปรับร้อยละ 15 ของเงินที่ต้องชําระงวดนัน้ และน
น ที ต
่ อ
้ งช� ำ ระงวดนั น้ และหากค้ า งช� ำ ระเกิน 12 เดื อ น จะต้ อ งเสี ย ค่
า ปรับ ร้
อ ยละ 18 ต่ อ ปี ข องเงิ
ทีหากค้
ต่ อ้ งช�างชํ
ำระงวดนั าระเกินน้ 12และจ� เดือำนนวนเงิ นต้ยนค่ทีาต่ ปรั
จะต้องเสี อ้ งช�
บร้ำอระเพิ
ยละ ม่ 18ขึน้ ต่ในอั
อปี ขตองเงิ ราก้นาทีวหน้ าดัางระงวดนั
ต่ อ้ งชํ แสดงในตารางที ่ 1 (กองทุ
น้ และจํานวนเงิ นต้นน
เงิ
ทีต่ นอ้ ให้
งชํกาูย้ ระเพิ
มื เพืม่ อ่ ขึการศึ
น้ ในอักตษา,
ราก้า2559)
วหน้าดังแสดงในตารางที่ 1 (กองทุนเงินให้กยู้ มื เพือ่ การศึกษา, 2559)

ตารางที
ตารางที่ ่ 11 จ�จํำานวนเงิ
นวนเงินนทีที่ต่ต้อ้องชํ
งช�าำระแต่
ระแต่ลละงวด
ะงวด(The
(Theamount
amount to be
to be paidpaid
eacheach period.)
period.)

ปี ทช่ี าํ ระ % เงินต้นทีต่ อ้ งชําระ ปี ทช่ี าํ ระ % เงินต้นทีต่ อ้ งชําระ ปี ทช่ี าํ ระ % เงินต้นทีต่ อ้ งชําระ


1 1.5  .5 11 9
2 2.5  5 12 10
  8  1 11
 .5 9  1 12
5  10 8 15 1
ทีม่ า: กองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา (2559)
ทีม่ า: กองทุนเงินให้กยู้ มื เพือ่ การศึกษา (2559)

ในแต่
ในแต่ลละปี ะปีจจะมีะมีผผกู้ กู้ ยู้ ูย้ มื มื เงิเงินนจากกองทุ
จากกองทุ น นกยศ.
กยศ.ประมาณ
ประมาณ900,000 900,000คนและมี
คนและมี ผกู้ รูผ้ ายใหม่
กู้ ูร้ ายใหม่ ประมาณ
ประมาณ 200,000 200,000
คน
คน ั
ทําให้ในปจจุบนั มีผูก้ ู้ท่กี ู้ยมื เงิน จํานวนทัง้ สิ้นมากกว่า . ล้านคน และจํานวนเงินกู้ในแต่ละปี ไม่ค่อะปีย
ท� ำ ให้ั ใ นป จ จุ บ น
ั มี ผ ก
ู ้ ู ท
้ ก
่ ี ู ย
้ ม
ื เงิ
น จ� ำ นวนทั ง
้ สิน
้ มากกว่ า 4.3 ล้ า นคน และจ� ำ นวนเงิ น กู ใ
้ นแต่ ล
ไม่
เปลีคย่ ่อนแปลงมาก
ยเปลี่ยนแปลงมาก เนื่องจากงบประมาณของรั เนื่องจากงบประมาณของรั ฐบาลจํากัด ต้ฐอบาลจ� ำกัด แต้ก่อผงจั
งจัดสรรให้ กู้ ูร้ ดายเก่
สรรให้
าก่อแนก่ผเมืูก้ ่อู้รเหลื
ายเก่อแล้
าก่วอจึนง
เมื
จัด่อสรรให้
เหลือแแล้ ก่ผวกู้ จึรู้ งายใหม่
จัดสรรให้ ทําให้แสก่ดั ผสู่้กวู้รนเงิ
ายใหม่ ท�ำก้ ให้
นกูข้ องผู สดั ส่ามีวนเงิ
รู้ ายเก่ นกูา้ขผูองผู
มากกว่ ้กู้รายเก่
ก้ รู้ ายใหม่ ามีมากกว่าผู่ ้ก2ู้รายใหม่
ดงั แสดงในภาพที
ดังแสดงในภาพที่ 2
 
123 
  Development Economic Review 127

ภาพที
ภาพที ่ 2 ่ 2 จ�ำนวนผู
จํานวนผู
้ก้แู ละจ�ก้ ำ้แู นวนเงิ
ละจํานวนเงิ นกู้ใพ.ศ.
นกู้ในปี นปี พ.ศ. 23-26
2539-2556
(The Number (The Numberof Borrowersof Borrowers
and and
the the
LoanLoan Amount
Amount in in 16-213)
1996-2013)
จํานวนผูก้ ใู้ นปี การศึกษา 259-255 จํานวนเงินกูใ้ นปี การศึกษา 259-255 (ล้านบาท)
1,000,000 0,000
0,000
50,000 20,000
500,000 10,000
0
250,000

0
จํานวนเงินกูใ้ นแต่ละปี จํานวนเงินกูส้ าํ หรับผูก้ รู้ ายเก่า

จํานวนผูก้ ใู้ นแต่ละปี ผูก้ รู้ ายเก่า ผูก้ รู้ ายใหม่ จํานวนเงินกูส้ าํ หรับผูก้ รู้ ายใหม่

ทีม่ า: กองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา (2548-2557)


ทีม่ า: กองทุนเงินให้กยู้ มื เพือ่ การศึกษา (258-255)

ต่อมามีการจัดตัง้ กองทุนเงินกู้ยมื เพื่อการศึกษาทีผ่ ูกกับรายได้ในอนาคต (กรอ.) และเริม่ ให้ผูก้ ู้ยมื


ต่อมามีการจัดตัง้ กองทุนเงินกูย้ มื เพือ่ การศึกษาทีผ่ กู กับรายได้ในอนาคต (กรอ.) และเริม่ ให้ผกู้ ูย้ มื รายใหม่ใน
รายใหม่ ในปี พ.ศ.2549 เป็ นปี แรก และรัฐบาลในขณะนัน้ มีนโยบายทีจ่ ะยกเลิก กยศ. ท�ำให้จำ� นวน
ปี พ.ศ.259 เป็ นปี แรก และรัฐบาลในขณะนัน้ มีนโยบายทีจ่ ะยกเลิก กยศ. ทําให้จาํ นวนนักเรียนนักศึกษาที่
นักกูเรีย้ ยมื นนั
กับกกยศ.ศึกษาที ก่ ยู้ มื กัาบงเห็กยศ.
ลดลงอย่ นได้ชลดลงอย่
ดั อย่างไรก็ างเห็ตนามในปี
ได้ชดั ถอย่ างไรก็
ดั ไปรั ตามในปี
ฐบาลได้ ยกเลิถกดั ไปรักรอ.ฐบาลได้ โดยให้เยหตุ กเลิ
ผลว่ ก กรอ.
า กยศ.
โดยให้
สามารถทําหน้าที่ได้ดอี ยู่ จึงให้ยกเลิก กรอ. แต่ต่อมาได้มมี ติให้ตงั ้ กรอ. ขึน้ มาใหม่ในปี พ.ศ.2551น้ ทํมาาให้
เ หตุ ผ ลว่ า กยศ. สามารถท� ำ หน้ า ที ไ
่ ด้
ด อ
ี ยู่ จึง ให้ ย กเลิ ก กรอ. แต่ ต ่ อ มาได้ ม ม
ี ติ ใ ห้ ต ง
ั ้ กรอ. ขึ
ใหม่จําในวนผู
นปี พ.ศ.2551
ก้ ูย้ มื และจํท�านวนเงิ
ำให้จำ� นนวนผู กูใ้ นช่ก้ วูย้งปีมื และจ�
พ.ศ. ำ259นวนเงิและ นกู2551
ใ้ นช่วงปี พ.ศ. 2549
ลดลงไปอย่ างชัดและ
เจน2551 (ดังภาพ ลดลงไปอย่
2) ทัง้ นี้ใานแต่

ชัดละปี
เจนจ(ดั ะมีงผภาพ
มู้ าชํา2)ระหนี ทัง้ ้เนีพี้ใยนแต่ ละปี จ0-0
งร้อยละ ะมีผมู้ และมี
าช�ำระหนี ้เพีายระหนี
ผกู้ ูม้ าชํ งร้อยละ 60-70
้เพียงไม่ กป่ี ี เมืและมี
่อถึงปีผทกู้ อ่ี ูม้ ตั าช�
ราส่ำระหนี
วนทีต่ ้เอ้ พีงชํ
ยงไม่
าระสูง
กีป่ จนตนเองไม่
ี เมื่อถึงปี ทอ่ี สตั ามารถชํราส่วนทีาระหนี ต่ อ้ งช�้ไำด้ระสู
กจ็ ะหยุงจนตนเองไม่
ดการชําระหนี สามารถช�
้ แต่ในปีำ2555-255
ระหนี้ได้กจ็ จํะหยุ ดการช�
านวนผู ท้ ช่ี าํ ำระหนี
ระหนี้ล้ ดลงมากซึ
แต่ในปี ง่
2555-2556 จ�ำนวนผูท้ ช่ี ำ� ระหนีค้ลนัดลงมากซึ
น่ าจะเกิดจากนโยบายรถยนต์ แรกทีไ่ ด้รง่ บั น่ส่าวจะเกิ
นลดสูดจากนโยบายรถยนต์
งสุดถึงหนึ่งแสนบาทและน่ คนั แรกที
าจะมีไ่ ลดู้กรหนี บั ส่้วขนลดสู
อง กยศ. งสุดเข้า
ถึงร่หนึ ่งแสนบาทและน่
วมโครงการนี ้เป็ นจําานวนมากจนไม่
จะมีลกู หนี้ของมเี กยศ. งินเหลืเข้ าร่วมโครงการนี
อพอจะชํ าระหนี้ กยศ. ้เป็ นดัจ�งำแสดงในภาพที
นวนมากจนไม่ ่ มเี งินเหลือพอจะ
ช�ำระหนี้ กยศ. ดังแสดงในภาพที่ 3
นับแต่จดั ตัง้ รัฐบาลสนับสนุ นเงินงบประมาณให้แก่ กยศ. โดยคาดหวังว่า กยศ. จะสามารถนํ าเงินจากการ
นับชํแต่ จดั ตั้ งมาหมุ
าระหนี ้ รัฐบาลสนั บสนุอนยกูเงิใ้ นห้งบประมาณให้
นเวียนปล่ กบั ผูก้ รู้ ายใหม่ได้แก่และมี กยศ. โดยคาดหวันงมัว่นคง
ฐานะทางการเงิ ่ า กยศ.
รัฐบาลจะได้ จะสามารถน� ำเงินเงิน
หยุดการให้
จากการช�
สนับสนุำนระหนี ้ มาหมุ
กยศ. แต่ขนอ้ เท็
เวียจจริ
นปล่ งกลัอบยกูไม่ใ้ ห้เป็กนบั เช่ผูนก้ นัูร้ ายใหม่
น้ โดยมีไสด้าเหตุ
และมีหลัฐกานะทางการเงิ
จากการทีผ่ กู้ ูเ้ มืน่อมัครบกํ
นคง
่ ารัหนดการชํ
ฐบาลจะได้าระ
หยุเงิดนการให้
คืนกลับเงิไม่นสนั
มาชํบาสนุ
ระเงินน กยศ.
ทําให้ตแต่ ขอ้ งบประมาณจากภาครั
อ้ งใช้ เท็จจริงกลับไม่เป็ นฐเช่ เพืน่อนัทําน้ ให้โดยมี
กองทุสนาเหตุ
สามารถดํ หลักาจากการที
เนินงานต่อ่ผไปได้
ู ้ก ู ้
เมื่อหากปี
ครบก�ใดไม่ ได้รบั เงินงบประมาณก็
ำหนดการช� ำระเงินคืนกลั จะทํ
บไม่าให้มเาช� งินำกองทุ ระเงินน กยศ.ท�ำให้ในปี
ต้อนงใช้
นั ้ เหลื อน้อยมาก และอาจติดฐลบในบางปี
งบประมาณจากภาครั เพื่อท�ำให้
กองทุนสามารถด�ำเนินงานต่อไปได้ หากปี ใดไม่ได้รบั เงินงบประมาณก็จะท�ำให้เงินกองทุน กยศ.
ในปี นนั ้ เหลือน้อยมาก และอาจติดลบในบางปี


128 Development Economic Review
124 
 

ภาพที
ภาพที ่ 3 ่ 3จ�ำนวนคนที
จํานวนคนที ่ มาชํา้ ทระหนี
่ มาช�ำระหนี ้ ทงั ้ หมดและจํ
งั ้ หมดและจ� านวนเงิ
ำนวนเงิ นที่ ชำ� นระคื
ที่ ชํานระคื นทัง้ หมดในปี
ทัง้ หมดในปี 2-26
2542-2556
(The Amount of People who Come to Pay
(The Amount of People who Come to Pay off Debts and the Amount of the off Debts and the Amount of the
Repayment Repayment in 1-213)
in 1999-2013)

,000,000
จํานวนคนทีม่ าชําระหนี้ทงั ้ หมด จํานวนเงินทีช่ าํ ระคืนทัง้ หมด (ล้านบาท)
80,000
2,500,000
2,000,000 0,000
1,500,000 0,000
1,000,000
500,000 20,000
- -

จํานวนคนทีม่ าชําระในแต่ละปี
จํานวนคนทีค่ รบกําหนดชําระหนี้ทงั ้ หมด จํานวนเงินทีช่ าํ ระคืน จํานวนเงินทีต่ อ้ งชําระคืน

ทีม่ า: กองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา (2548-2557)


ทีม่ า: กองทุนเงินให้กยู้ มื เพือ่ การศึกษา (258-255)

3) การคาดการณ์ ทางคณิ ตศาสตร์ประกันภัย (Actuarial Valuation)


3) การคาดการณ์ทางคณิ ตศาสตร์ประกันภัย (Actuarial Valuation)
การคาดการณ์ทางคณิตศาสตร์ประกันภัย เป็ นวิธหี นึ่งในการประมาณการสถานะทางการเงิน รายได้
การคาดการณ์ทางคณิตศาสตร์ประกันภัย เป็ นวิธหี นึ่งในการประมาณการสถานะทางการเงิน รายได้
ค่าใช้ค่จาา่ ใช้ยจและภาระหนี ้สนิ ในอนาคต โดยตัง้ สมมติฐานทางประชากรศาสตร์และเศรษฐศาสตร์เพือ่ ช่วย
า่ ย และภาระหนี้สนิ ในอนาคต โดยตัง้ สมมติฐานทางประชากรศาสตร์และเศรษฐศาสตร์เพือ่ ช่วยในการ
ในการพยากรณ์
พยากรณ์ทางสถิ ท างสถิ
ตจิ ากข้ตอิจมูากข้
ลทีเ่ อคยเกิ
มูล ทีด่เขึคยเกิ ด ขึ้นตจริสมมติ
น้ จริงในอดี ง ในอดี ต สมมติฐ านในการประมาณการตาม
ฐานในการประมาณการตามหลั กคณิตศาสตร์
หลักประกั
คณิตนศาสตร์ ภัย คือการคาดการณ์ตวั แปรทีม่ คี วามไม่แน่นอนในแบบจําลองทางการเงินเพือ่ ช่วยในการตัดสินนใจ
ป ระกั น ภัย คื
อ การคาดการณ์ ต ว
ั แปรที ม
่ ค
ี วามไม่ แ น่ น อนในแบบจ� ำ ลองทางการเงิ
เพือ่ ช่วยในการตัดสินใจ
วัตถุประสงค์ของการคาดการณ์ทางคณิตศาสตร์ประกันภัย ไม่ใช่เป็ นการพยากรณ์จาํ นวนรายรับหรือ
วัตถุรายจ่
ประสงค์
ายทีขม่ องการคาดการณ์
คี วามถูกต้องแม่นยํทาางคณิ ตศาสตร์
ทีส่ ดุ แต่ ประกันภัย ไม่ใช่มเป็ทีนค่ าดว่
เป็ นการประมาณแนวโน้ การพยากรณ์
าน่าจะเกิดขึจนำ�้ นวนรายรั
ถ้าเกิดขึน้ ตาม บหรือ
รายจ่สมมติ
ายทีม่ ฐคาน
ี วามถู กต้องแม่นย�ำแทีละผลที
พิจารณาจากเหตุ ส่ ดุ แต่เ่ กิเป็ดนจากสมมติ
การประมาณแนวโน้ มทีน้ ค่ มาจากประสบการณ์
ฐานทีก่ าํ หนดขึ าดว่าน่าจะเกิดขึน้ หถ้รืาอเกิข้ดอมูขึลน้ ทีตาม
เ่ กิดขึน้
สมมติ จริฐงาน
ในอดีพิตจารณาจากเหตุและผลทีเ่ กิดจากสมมติฐานทีก่ �ำหนดขึน้ มาจากประสบการณ์หรือข้อมูล
ทีเ่ กิดขึน้ จริงในอดีต
ทัง้ นี้ผวู้ จิ ยั ได้ตงั ้ สมมติฐานด้านประชากรและด้านเศรษฐกิจในการประเมินทางคณิตศาสตร์ประกันภัย กยศ.
ทัง้ นีไว้
้ผวู้ ดจิ งั ยันีได้
้ ตงั ้ สมมติฐานด้านประชากรและด้านเศรษฐกิจในการประเมินทางคณิตศาสตร์ประกันภัย
กยศ. ไว้ด1.งั นีจํ้ านวนประชากรในแต่ละช่วงอายุในปี พ.ศ.255-258 ฉายภาพโดยมีสมมติฐานภาวะเจริญพันธุ์
1. จ�ำลดลงปานกลางเท่ นวนประชากรในแต่ ากับล1.2 ในช่วใงนปี
ะช่วงอายุ 5 ปี พ.ศ.2553-2583
แรก (พ.ศ.255-2558) หลังจากนัน้ สค่มมติ
ฉายภาพโดยมี อยๆลดลงถึ
ฐานภาวะ ง 1.0
เจริ ในปี
ญพั258 (สํานักงานคณะกรรมการพั
นธุล์ ดลงปานกลางเท่ ากับ 1.62 ฒในช่
นาการเศรษฐกิ จและสังคมแห่งชาติหลั
วง 5 ปีแรก (พ.ศ.2553-2558) , 255)
งจากนัน้ ค่จากนั
อยๆน้ จึง
ลดลงถึ วิเคราะห์ สดั ส่วในปี
ง 1.30 นของจํ านวนประชากรวั
2583 ยเด็กทีเ่ ข้าศึกษาในระดั
(ส�ำนักงานคณะกรรมการพั บการศึกษาจและสั
ฒนาการเศรษฐกิ มัธยมศึ กษาตอนปลาย
งคมแห่ งชาติ,
2556) ปวช. จากนั
ปวท./ปวส.
น้ จึงวิเและอนุ
คราะห์ปสริดั ญส่ญา/ปริ
ญญาตรี
วนของจ� ำนวนประชากรวัยเด็กทีเ่ ข้าศึกษาในระดับการศึกษา
มัธยมศึกษาตอนปลาย ปวช. ปวท./ปวส. และอนุ ปริญญา/ปริญญาตรี
 
Development Economic Review 129

  2. สัดส่วนของจ�ำนวนผู้กู้ กยศ./จ�ำนวนนักเรียน จะมีสดั ส่วนผู้กู้เฉลี่ยทุกระดับการศึก125  ษา


ร้อยละ 18.84 ของนักเรียนนักศึกษาทัง้ หมดในแต่ละปี (กองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา,
2. สัดส่วนของจํานวนผูก้ ู้ กยศ./จํานวนนักเรียน จะมีสดั ส่วนผูก้ เู้ ฉลีย่ ทุกระดับการศึกษาร้อยละ 18.8
2557: 38)
ของนักเรียนนักศึกษาทัง้ หมดในแต่ละปี (กองทุนเงินให้กยู้ มื เพือ่ การศึกษา, 255: 8)
3. สัดส่วนผูม้ าช�ำระหนี้ กยศ. เมือ่ สิน้ สุดการกูแ้ ละส�ำเร็จการศึกษามาแล้ว 2 ปี ในแต่ละรุน่ ซึง่
. สัดส่วนผูม้ าชําระหนี้ กยศ. เมือ่ สิน้ สุดการกูแ้ ละสําเร็จการศึกษามาแล้ว 2 ปีในแต่ละรุน่ ซึง่ ในปีแรก
ทีในปี
ค่ รบกํแารกทีหนดชํ ค่ รบก�
าระหนี ำหนดช�
้แล้วมีเำพีระหนี
ยงร้อยละ ้ แล้ว50 มีเพีเท่ยางร้
นัน้ อทียละ
ม่ าชํา50 เท่้ หลั
ระหนี านังน้ จากนั
ทีม่ าช�น้ เพิ ำระหนี ้ หลั
ม่ ขึน้ อย่ างช้งาจากนั
ๆ น้
(กองทุ
เพิม่ ขึนน้ เงิอย่
นให้างช้ กยู้ ามื ๆเพื(กองทุ
อ่ การศึนกษา, เงินให้ 2552: กยู้ มื 5)
เพือ่ การพยากรณ์
การศึกษา, ใ2552: 45)วนผู
ช้อตั ราส่ การพยากรณ์
ม้ าชําระหนี้ตใ่อช้ผูอท้ ตั ผ่ี ราส่
ดิ นัดวน
ชําผูระหนี
้มาช�้ำโดยมี
ระหนี ตวั ้ ตแปรต้
่อผู้ทน่ผี คืดิ อนัปีดทช�ม่ี ำาชํระหนี
าระหนี ้ โดยมี
้หลังตครบกํ
วั แปรต้ นคืาอระหนี
าหนดชํ ปี ท้ ่มี ลอการิ
าช�ำระหนี
ทมึ ธรรมชาติ้ หลังครบก�
ของปีำหนด
ทีช�ม่ าชํ
ำระหนีาระหนี ้ ลอการิ
้หลังครบกํ ทมึ าธรรมชาติ
หนดชําระหนี ของปี ้ และอัทม่ี ตาช� ำระหนี
ราการว่ ้หลังครบก�ำหนดช�ำระหนี
างงานของประเทศไทย โดยใช้้ และอั
Multi-Level ตราการ
Modeling
ว่ า งงานของประเทศไทย
for Longitudinal Dataโดยใช้ (Raudenbush Multi-Level & Bryk, 2002) Modelingให้แต่ลfor ะปี ทLongitudinal
ค่ี รบชําระหนี้เป็ น Data
ข้อ(Raudenbush
มูลระดับทีห่ นึ่งและปี & กBryk,
ารศึกษาเป็ 2002) นข้อให้ มูลแระดั
ต่ ลบะปี
ทีส่ ทอง่ีค รบช�
ข้อมูลำและผลการพยากรณ์
ระหนี้ เ ป็ น ข้อ มูล ระดั ได้แบสดงในภาพ
ที่ห นึ่ ง และ
ทีปี่ การศึกษาเป็ นข้อมูลระดับทีส่ อง ข้อมูลและผลการพยากรณ์ได้แสดงในภาพที่ 4
.4. อัตอัราการเพิ
ตราการเพิ ม่ ขึม่น้ ของเงิ
ขึน้ ของเงิ นกูย่ เ้ ร้ฉลี
นกูเ้ ฉลี ย่ ร้อ2.
อยละ ยละ ต่2.46 อปี โดยคํ ต่อาปีนวณจากจํ
โดยค�ำนวณจากจ�
านวนเงินกูำเ้ นวนเงิ ฉลีย่ ของผูนกูก้ เฉลี
ใู้ นแต่ย่ ของ
ละปีผูก้ ูใ้ นแต่ละปี

ภาพที่ 4
ภาพที ่ 4 สัดส่วสันของจ�
ดส่วนของจํ านวนผู
ำนวนผู ้มาช�ม้ ำาชํระหนี ้ ร่นุ ้ ร่นุ 393ถึถึงง454ในแต่
าระหนี ในแต่ลละปี
ะปี
(39th(3th to 4th
to 45th DebtDebt Payment
Payment ProportionCohort)
Proportion Cohort)

1.0 1.0
0.9
0.8 0.8
0.7
0.6 0.6
สัดส่วนผูม้ าชําระ

0.5
0.4 0.4
Cohort 9 Cohort 0 Cohort 1
Cohort 2 Cohort  Cohort  0.3
0.2 Cohort 5 แบบจําลอง 0.2
0.1
0.0 0.0
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

ปี ทม่ี าชําระหนี้หลังครบกําหนด

ทีม่ า: ค�ำนวณโดยผูว้ จิ ยั ข้อมูลจากกองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา (2553)


ทีม่ า: คํานวณโดยผูว้ จิ ยั ข้อมูลจากกองทุนเงินให้กยู้ มื เพือ่ การศึกษา (255)

 
130 Development Economic Review

หลังจากนัน้ ได้กำ� หนดขัน้ ตอนการประเมินทางคณิตศาสตร์ประกันภัย ของ กยศ. (Actuarial Valuation


Process) ดังแสดงในภาพที่ 5 ดังนี้
1. ฉายภาพจ�ำนวนประชากรวัยเด็กโดยอาศัยสมมุติฐานภาวะการเจริญพันธุ์ น� ำจ�ำนวน
ประชากรวัย เด็ก มาคูณ กับ สัด ส่ว นประชากรวัย เด็ก ที่เ ข้า ศึก ษาในแต่ ร ะดับ การศึก ษา
ได้จำ� นวนนักเรียนในแต่ละระดับการศึกษา
2. น� ำจ�ำนวนนักเรียนในแต่ละระดับการศึกษามาคูณกับสัดส่วนผูก้ ู้ กยศ./จ�ำนวนนักเรียน
ซึง่ จะได้จำ� นวนนักเรียนผูก้ ู้ กยศ. ต้นงวด และน�ำไปค�ำนวณจ�ำนวนผูก้ ูร้ ายใหม่และจ�ำนวน
เงินทีป่ ล่อยให้ผกู้ ูร้ ายใหม่
3. จ�ำนวนนักเรียนผูก้ ู้ กยศ. ในแต่ละระดับการศึกษาค�ำนวณจาก จ�ำนวนนักเรียนผูก้ ู้ กยศ.
ต้นงวด+จ�ำนวนนักเรียนผูก้ ู้ กยศ. ทีเ่ ลื่อนชัน้ การศึกษา-จ�ำนวนนักเรียนผูก้ ูก้ ยศ. ทีส่ ำ� เร็จ
การศึกษาและลาออก เพือ่ น�ำมาค�ำนวณจ�ำนวนเงินกูท้ ต่ี อ้ งปล่อยให้ผกู้ รู้ ายเก่าโดยพิจารณา
อัตราการเพิม่ ขึน้ ของเงินกูใ้ นแต่ละปี
4. ค�ำนวณผูก้ ูท้ ค่ี รบก�ำหนดช�ำระหนี้ทส่ี น้ิ สุดการกูต้ ่อเนื่องและส�ำเร็จการศึกษามาแล้ว 2 ปี
ซึ่งน� ำไปค�ำนวณจ�ำนวนผูม้ าช�ำระหนี้และหนี้ทไ่ี ด้รบั ช�ำระ โดยพิจารณาจากสัดส่วนของ
ผูท้ ม่ี าช�ำระหนี้ในแต่ละปี และสัดส่วนการช�ำระหนี้ของยอดหนี้ทงั ้ หมดในแต่ละปี โดยมีอตั รา
ดอกเบี้ยเงินกู้ร้อยละ 1 ของหนี้ท่คี ้างจ่ายทัง้ หมดและเริม่ คิดดอกเบี้ยเมื่อครบก�ำหนด
ช�ำระหนี้
5. กองทุนมีรายจ่าย คือ จ�ำนวนเงินทีใ่ ห้กูย้ มื ในแต่ละปี และค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดขึน้ ก�ำหนดให้ใน
ปี พ.ศ. 2557 เท่ากับ 819 ล้านบาท ซึง่ เป็ นค่าเฉลีย่ ของค่าใช้จา่ ยในปี ก่อนหน้าทัง้ หมด และ
เพิม่ ขึน้ ในร้อยละ 2 เมื่อเทียบกับปี ก่อน และกองทุนจะมีรายรับ ได้แก่ เงินงบประมาณ
จากภาครัฐ จ�ำนวนเงินทีไ่ ด้รบั การช�ำระคืน และดอกเบีย้ จากการลงทุนก�ำหนดให้เท่ากับ
ร้อยละ 2 ของเงินกองทุนในปี ก่อนหน้า

Development Economic Review 131

127 
 
ภาพที่ 5 ขัน้ ตอนในการประเมิ นทางคณิ ตศาสตร์ประกันภัย (Actuarial Valuation Process)
ภาพที่  ขัน้ ตอนในการประเมิ นทางคณิ ตศาสตร์ประกันภัย (Actuarial Valuation Process)
ประชากรวัยเด็ก (Lx,y)

มัธยมปลาย ทัง้ หมด (TSh,y) ปวช. ทัง้ หมด (TSv,y) ปวท./ปวส. ทัง้ หมด (TShv,y) อนุ ปริญ ญา/ปริญญาตรี ทัง้ หมด (TSb,y)

มัธยมปลายทีก่ ู้ กยศ.(Bh,y) ปวช.ที่กู้ กยศ. (Bv,y) ปวท./ปวส.ที่กู้ กยศ. (Bhv,y) อนุ ปริญ ญา/ปริญญาตรีท่กี ู ้ กยศ. (Bb,y)

ผูท้ สี ่ นิ ้ สุดการกู้ทงหมด
ั้ (TELy)
- อัตราส่วนผูก้ ู้ทกี ่ ู้ต่อเนื่อง (CBRt)
ผูก้ ู้รายใหม่ (BNe,y) ผูก้ ู้รายเก่า (BOe,y)

ผูก้ ู้ท่คี รบกําหนดชําระหนี้ในปี นี้ (My)


เงินกู้เฉลี่ยระดับมัธยมปลาย (LAh,n/o)
ผูก้ ู้ท่คี รบกําหนดชําระหนี้ทงั้ หมดจากปี ก ่อน
หน้า
เงินกู้เฉลี่ยระดับ ปวช. (LAv,n/o)
ผูก้ ู้ท่ชี ําระหนี้ค รบหมดแล้ว
อัตราส่วนผูก้ ู้ ปวท./ปวส. เงินกู้เฉลี่ย ปวท./ปวส.
แต่ละรหัสสาขา (CRhv,c) แต่ละรหัสสาขา (LAhv,c)
ผูค้ รบกําหนดชําระหนี้ทั ้งหมด

อัตราส่วนผูก้ ู้ อนุ ปริญญา/ปริญญา เงินกู้เฉลี่ย อนุ ปริญญา/ปริญญาตรี


ตรีแต่ละรหัสสาขา (CRb,c) แต่ละรหัสสาขา (LAb,c)
ผูม้ าชําระหนี้ตามช่วงเวลาต่างๆ (PPt,m)
- อัตราส่วนผูม้ าชําระหนี้ (PRt,m)
- อัตราว่างงาน (Uny) จํานวนเงินกู้ทงั ้ หมดในแต่ละปี (TLy)
ยอดเงินทีก่ ู้เฉลี่ยต่อคนในแต่ละปี (LAYy)
- อัตราการเพิม่ ขึ้นของเงินกู้ (LI)
ผูม้ าชําระหนี้ทงั ้ หมด (TPPy)

เงิ นกองทุน ค่า ใช้จ่าย


จํานวนเงินทีไ่ ด้รบั การชําระหนี้ (Pt,m) ค่าใช้จ่าย (Ey)
เงินกองทุน (Cy) - อัตราการเพิม่ ขึ้นของค่าใช้จ่าย (ERy)
- อัตราดอกเบี้ย (IBt)
- อัตราค่าปรับ (FRt)
หมายเหตุ:
จํานวนเงินทีไ่ ด้รบั การชําระหนี้ทงั้ หมด เงินกองทุนปี ก่อนหน้ า (Cy-1) - e หรือ education สามารถแบ่งออกเป็ นดังนี้
(TPy-1) - อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก (Iy) - h คือ มัธยมศึกษาตอนปลาย หรือสายสามัญ
- v คือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือสายอาชีพ
- hv คือ ปวท./ปวส.
เงิ นงบประมาณจากภาครัฐฯ
- b คือ ระดับอนุปริญญา/ปริญญาตรี
เงินงบประมาณจากภาครัฐฯ (GBy) - y คือปี การศึกษา
- m คือ ปี ที่ครบกําหนดชําระหนี้
- t คือ ปี ที่มาชําระหนี้
- n/o หรือ New/old คือ แยกประเภทของผู้กรู ้ ายใหม่
หรือผู้กรู ้ ายเก่า

ทีม่ า:ทีคํม่ าา:นวณโดยผู


ค�ำนวณโดยผู
ว้ จิ ยั ว้ จิ ยั

 
128 
 
132 Development Economic Review

4) 4) ผลการประเมิ
ผลการประเมิ นทางคณิ ทางคณิตตศาสตร์ ศาสตร์ปประกั นภันยภั(Result
ระกั ย (Result of Actuarial Valuation)
of Actuarial Valuation)
ในสถานการณ์ปปกติ
ในสถานการณ์ กติดัดังงแสดงในตารางที
แสดงในตารางที่ 2่ 2พบว่ พบว่าา ในปีในปี พ.ศ.
พ.ศ. 2557-2560
255-250 จะมีจําำ� นวนผู้กู้ย ืม ประมาณ
0,000 คนและหลั
730,000 คนและหลังงจากนั จากนัน้ น้ มีมีแแนวโน้
นวโน้มมทีทีจ่ ะลดน้ อยลงเรื
จ่ ะลดน้ อยลงเรื่อยๆปี ละประมาณ
อ่ ยๆปี ละประมาณ ,000 ถึง ถึ12,000
4,000 คน คน
ง 12,000 ทําให้ท�ใำนปี ให้
ในปี 2583 มีผกู้ ูท้ งั ้ หมดเพียง 560,000 คน และจะมีจ�ำนวนเงินทีก่ ูย้ มื ประมาณ 27,000 ล้านบาทมี
258 มี ผ ู ้ ก ู ้ ท ง
ั ้ หมดเพี ย ง 50,000 คน และจะมี จ ํ า นวนเงิ น ที
่ ก ู ้ ย ื ม ประมาณ 2,000 ล้ า นบาท จากนั น

แนวโน้น้ มมีทีแนวโน้
จากนั เ่ พิม่ สูงมขึทีน้ เ่ ประมาณปี ละ 20 ถึงล910
พิม่ สูงขึน้ ประมาณปี ะ 230ล้าถึนบาทในแต่ ละปี และในปี
ง 910 ล้านบาทในแต่ ละปี258 จะมีจาํ 2583
และในปี นวนเงิจะมี
นทีจก่ ำ� ยู้ นวน
มื สูง
เงิถึนง ที2,000
ก่ ูย้ มื สูงล้ถึานบาท ง 42,000 ล้านบาท

ตารางที่ ่ 1
ตารางที  การวิ
การวิเเคราะห์
คราะห์คความไวของเงื
วามไวของเงื่อ่อนไขและนโยบาย
นไขและนโยบาย(Sensitivity Analysis)
(Sensitivity Analysis)

สถานการณ์ สถานการณ์ท่ี 1 (ปกติ) สถานการณ์ท่ี 2 (ดี) สถานการณ์ท่ี  (แย่)


1. เงินงบประมาณจาก 20,000 ล้านบาท 25,000 ล้านบาท 15,000 ล้านบาท
ภาครัฐ
2. ระยะเวลาทีไ่ ด้รบั ลดลงเรือ่ ยๆในอัตราส่วนที่ ลดลงเรือ่ ยๆในอัตราส่วนที่ ลดลงเรือ่ ยๆในอัตราส่วนที่
งบประมาณจากรัฐ เท่ากัน จนถึงปี 250 เท่ากัน จนถึงปี 255 เท่ากัน จนถึงปี 255
. สัดส่วนของผูก้ ู้ ค่าเฉลีย่ จากปี 2555-5 ลดลงจากเดิมร้อยละ 0 เพิม่ ขึน้ จากเดิมร้อยละ 0
เฉลีย่ ทุกระดับการศึกษา เฉลีย่ ทุกระดับการศึกษา เฉลีย่ ทุกระดับการศึกษา
18.8% 1.18% 2.9%
. อัตราการเพิม่ ขึน้ ของ 2.% 1% %
เงินกู้
5. สัดส่วนของผูม้ าชําระ เมือ่ ครบกําหนดมีผมู้ าชําระ เมือ่ ครบกําหนดมีผมู้ าชําระ เมือ่ ครบกําหนดมีผมู้ าชําระ
หนี้ 50% และเพิม่ ขึน้ ช้าๆในแต่ละปี 0% และเพิม่ ขึน้ อย่างช้าๆในแต่ 5% และเพิม่ ขึน้ อย่างช้าๆในแต่
ละปี ละปี
. อัตราการว่างงาน 1% 0.25% %
. เงือ่ นไขการชําระหนี้ แบบ A ชําระ 15 ปี ปี แรกๆ แบบ B ชําระ 10 ปี ชําระ 10% แบบ C ชําระ 20 ปี ชาํ ระ 5%
ชําระน้อยและค่อยๆเพิม่ ขึน้ ใน เท่ากันทุกปี เท่ากันทุกปี
แต่ละปี
8. อัตราดอกเบีย้ เงินกู้ 1% % ไม่มอี ตั ราดอกเบีย้
9. อัตราผลตอบแทน 2% .5% 0.5%
จากการลงทุน
10. ค่าใช้จา่ ย เท่ากับค่าเฉลีย่ 819 ล้านบาทใน เท่ากับค่าเฉลีย่ 819 ล้านบาทใน เท่ากับค่าเฉลีย่ 819 ล้านบาทใน
ปี 255 เพิม่ ขึน้ 2 % ต่อปี ปี 255 เพิม่ ขึน้ 1% ต่อปี ปี 255 เพิม่ ขึน้ % ต่อปี
ทีม่ า: ค�ำนวณโดยผูว้ จิ ยั
ทีม่ า: คํานวณโดยผูว้ จิ ยั

 
Development Economic Review 133
129 
 

ในปี พ.ศ.2557 จะได้รบั การช�ำระหนี้ประมาณ 10,000 ล้านบาท และในช่วงปี พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ.
ในปี พ.ศ.255
2571 จะได้ำรบระหนี
จะได้รบั การช� ั การชํ้เาพิระหนี
ม่ ขึน้ ้ปประมาณปี
ระมาณ 10,000 ละ 1,300ล้านบาท และในช่
ล้านบาท หลัวงงปี พ.ศ.
จากนั 255รบถึั งการช�
น้ จะได้ พ.ศ.ำระหนี251 ้จะเพิม่
ได้ ร บ
ั การชํ า ระหนี้ เ พิม่ ขึน
้ ประมาณปี ล ะ 1,00 ล้
า นบาท หลั
ง จากนั น

ขึน้ ประมาณปี ละ 500 ล้านบาท เนื่องจากมีผมู้ าช�ำระหนี้เสร็จสิน้ แล้วจ�ำนวนหนึ่ง และเนื่องจากมีผมู้ าจะได้ ร บ
ั การชํ า ระหนี ้ เ พิ
ม ่ ขึ

้ ประมาณปี
ช�ละำระหนี
500 ล้้ เาพีนบาท เนื่องจากมี
ยงร้อยละ ผมู้ ่อาชํ
50 เมื าระหนี
ครบก� ้เสร็จสิำน้ ระหนี
ำหนดช� แล้วจํ้ แานวนหนึ
ละจะเพิ่งม่ และเนื ่ องจากมีลผะปี
เรื่อยๆในแต่ าระหนี
มู้ าชํจะท� ำให้้เพีเยงินงร้กองทุ
อยละ น
50 เมื่อครบกําหนดชําระหนี้และจะเพิม่ เรื่อยๆในแต่ละปี จะทําให้เงินกองทุนค่อยๆลดลงเรื่อยๆในแต่ละปี
ค่อยๆ ลดลงเรือ่ ยๆ ในแต่ละปี และติดลบในปี พ.ศ. 2563 แสดงดังภาพที่ 6 ซึง่ จะเป็ นภาระทางการ
และติดลบในปี พ.ศ. 25 แสดงดังภาพที่  ซึง่ จะเป็ นภาระทางการคลังและทําให้หนี้สาธารณะของประเทศ
คลังและท�ำให้หนี้สาธารณะของประเทศสูงขึน้ อันเป็ นสิง่ ทีต่ อ้ งหาทางแก้ไขโดยด่วน
สูงขึน้ อันเป็ นสิง่ ทีต่ อ้ งหาทางแก้ไขโดยด่วน

ภาพที่ 6 เงิ นกองทุนส�ำหรับการวิ เคราะห์ความไวของเงื่อนไขและนโยบายทัง้ หมด (ล้านบาท)


ภาพที่ 6 เงิ นกองทุนสําหรับการวิ เคราะห์ความไวของเงื่อนไขและนโยบายทัง้ หมด (ล้านบาท)
(Capital Fund for Sensitivity Analysis in Million Baht)
(Capital Fund for Sensitivity Analysis in Million Baht)

1,000,000
50,000
500,000
250,000
0
-250,000
-500,000
-50,000 สถานการณ์ดี สถานการณ์ปกติ สถานการณ์แย่

-1,000,000

ทีม่ า: ค�ำนวณโดยผูว้ จิ ยั
ทีม่ า: คํานวณโดยผูว้ จิ ยั

 
134 Development Economic Review
130 
 

) 5) ผลการวิ
ผลการวิ เคราะห์
เคราะห์ ความไวของสถานการณ์
ความไวของสถานการณ์ ต่าตงๆ ่างๆ ่อ กยศ.
ที่มทีีต่ม่อีตกยศ.
(Result
(Result
of of Sensitivity
Sensitivity Analysis)
Analysis)
การวิ เคราะห์ ความไวของเงื ่อนไขและนโยบายต่ ั
การวิ เคราะห์ ความไวของเงื ่อนไขและนโยบายต่ างๆางๆ
ช่วยให้ ช่วยให้ เข้าใจเหตุ
เข้าใจเหตุ และปและป
จั จัยจทีจัส่ ย่งทีผลกระทบต่
ส่ ่งผลกระทบต่ อ น
อกองทุ
กองทุเคราะห์
ผลการวิ น ผลการวิ เคราะห์ความไวของสถานการณ์
ความไวของสถานการณ์ ทแ่ี ทย่ส่ี ทุดส่ี ุด(Best
ทแ่ี ย่ทส่ี ุดและดี และดีandทส่ี ุดworst
(Bestscenario)
and worst scenario)
ตามสมมติฐานที่
ตามสมมติฐานที่แสดงในตารางที่ 2 ส�ำหรับสถานการณ์ แย่ท่สี ุดจะท�ำให้กองทุนติดลบในปี 2558
แสดงในตารางที่ 2 สําหรับสถานการณ์แย่ท่สี ุดจะทําให้กองทุนติดลบในปี 2558 แต่สําหรับสถานการณ์ดี
แต่สำ� หรับสถานการณ์ดที งั ้ หมดจะไม่ทำ� ให้เงินกองทุนติดลบเลย ดังภาพที่ 6 ผลการวิเคราะห์ความไว
ทัง้ หมดจะไม่ทําให้เงินกองทุนติดลบเลย ดังภาพที่  ผลการวิเคราะห์ความไวทีละหนึ่งตัวและหลายตัวแปร
ทีละหนึ่งตัวและหลายตัวแปรจะช่วยให้เห็นเข้าใจผลกระทบของแต่ละสถานการณ์ดงั นี้
จะช่วยให้เห็นเข้าใจผลกระทบของแต่ละสถานการณ์ดงั นี้
จากการวิเคราะห์ความไวของตัวแปรทีส่ ่งผลต่อเงินกองทุนทีละ 1 ตัวแปร (Univariate Sensitivity
จากการวิ
Analysis) เคราะห์
จะน�ความไวของตั
ำเสนอผลของ วแปรที 1. เงิส่ ง่ นผลต่ อเงินกองทุนทีละ 1ฐตั2.
งบประมาณจากภาครั วแปร (Univariate
ระยะเวลาที ไ่ ด้รSensitivity Analysis)
บั เงินงบประมาณ
จะนํ3.าเสนอผลของ
สัดส่วนของผู1.ก้ ู้ เงิ
4.นอังบประมาณจากภาครั
ตราการเพิม่ ขึน้ ของเงิฐน2. กู้ 5.ระยะเวลาทีไ่ ด้รบมั้ เงิ
สัดส่วนของผู าช�นำงบประมาณ
ระหนี้ 6. เงือ่ .นไขการช�
สัดส่วนของผู
ำระหนีก้ ้ ู้ .
อัตราการเพิ
และ 7. อัม่ ตขึราดอกเบี
น้ ของเงินย้ กูเงิ้ 5.
นกูสั้ ทีดส่ม่ วตี นของผู
่อ กยศ.ม้ โดยคงสถานการณ์
าชําระหนี้ . เงื่อนไขการชํ
อ่นื ๆให้เาป็ระหนี ้ และ . ปอัตกติราดอกเบี
นสถานการณ์ ดงั ตารางย้ เงิ2นกู้
ทีม่ ตีแต่่อ สกยศ.
ำ� หรับโดยคงสถานการณ์
อัตราการว่างงาน อัอต่นื ราผลตอบแทนจากการลงทุ
ๆให้เป็ นสถานการณ์ปกติดนงั ตาราง และค่าใช้ 2 แต่
จา่ ยสาํ พบว่
หรับาอัส่ตงราการว่
ผลต่อเงิานงงาน
กองทุอันตรา
ผลตอบแทนจากการลงทุ
น้อยมากจึงไม่ได้น�ำเสนอ น และค่าใช้จา่ ย พบว่าส่งผลต่อเงินกองทุนน้อยมากจึงไม่ได้นําเสนอ

ตารางที ่  ่ 2
ตารางที ปี ปีพุพุททธศั ราชที่เงิ่เงินนกองทุ
ธศักกราชที กองทุนนจะติ
จะติดดลบโดยการวิ
ลบโดยการวิเเคราะห์
คราะห์คความไวของตั
วามไวของตัววแปร
แปร11ตัตัววแปร
แปร
(Buddhist
(BuddhistYear Year in which SLF SLF
in which should have Negative
should Statis: Result
have Negative Statis:ofResult
Univariate
of
Sensitivity
UnivariateAnalysis)
Sensitivity Analysis)

สถานการณ์ สถานการณ์ดี สถานการณ์ปกติ สถานการณ์แย่


จํานวนเงินงบประมาณ 259 25 2559
ระยะเวลาทีไ่ ด้รบั เงินงบประมาณ 25 25 251
สัดส่วนผูก้ ู้ - 25 2558
อัตราการเพิม่ ขึน้ ของเงินกู้ 258 25 252
สัดส่วนผูม้ าชําระหนี้ 25 25 25
เงือ่ นไขการชําระหนี้ 2581 25 25
อัตราดอกเบีย้ เงินกู้ 250 25 252
ทีม่ า: ค�ำนวณโดยผูว้ จิ ยั
ทีม่ า: คํานวณโดยผูว้ จิ ยั

 
Development Economic Review 135

เมือ่ พิจารณาตัวแปรทีส่ ง่ ผลต่อเงินกองทุนทีละ 1 ตัวแปรพบว่ามีขอ้ สังเกตหลายประการดังนี้


1. งบประมาณและระยะเวลาทีไ่ ด้รบั งบประมาณจากภาครัฐ ส่งผลต่อเงินกองทุนอย่างชัดเจน
เพราะ กยศ. เก็บหนี้ไม่ได้จ�ำเป็ นต้องได้รบั งบประมาณให้เพียงพอกับความต้องการของ
ผูก้ ูเ้ ดิม
2. สัดส่วนของผูก้ ูเ้ ฉลีย่ ทุกระดับการศึกษา หากลดลงเป็ นร้อยละ 13.18 หรือในปี พ.ศ. 2557
ลดจ�ำนวนผูก้ ูจ้ าก 730,000 เป็ น 510,000 คน ท�ำให้เงินกองทุนสูงกว่า 100,000 ล้านบาท
ในปี พ.ศ. 2573
3. อัตราเพิม่ ขึน้ ของเงินกูร้ อ้ ยละ 1.00 จะท�ำให้เงินกองทุนติดลบในปี พ.ศ. 2568 แต่เงินกองทุน
หลังจากทีต่ ดิ ลบแล้วจะคงทีป่ ระมาณ -15,000 ล้านบาท
4. การทีม่ ผี มู้ าช�ำระหนี้เพิม่ มากขึน้ อาจไม่ได้ช่วยท�ำให้ กยศ. ดีขน้ึ เท่าทีค่ วรเพราะหนี้เสียใน
อดีตได้สะสมต่อเนื่องมาโดยตลอดและจ�ำนวนหนี้เสียร้อยละ 30 นัน้ ก็ยงั ถือว่าสูงมาก
เมื่อ เทีย บกับ ระดับ หนี้ เ สีย ของธนาคารพาณิ ช ย์โ ดยทัวไปและหากยั
่ ง ใช้ว ิธีก ารเดิม ใน
การพิจารณาปล่อยกูก้ ค็ งไม่สามารถลดระดับหนี้เสียไปได้มากกว่านี้
5. เมือ่ เพิม่ อัตราดอกเบีย้ เงินกูข้ น้ึ จะท�ำให้กองทุนสามารถอยูไ่ ด้นานขึน้ อย่างชัดเจน ทัง้ นี้เดิม
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ 1% ของยอดเงินกู้ท่ีค้างจ่ายและเริม่ คิดดอกเบี้ยเมื่อครบก�ำหนด
ช�ำระหนี้ในปีแรกต่อเนื่องภายในเวลา 15 ปีทำ� ให้ได้รบั ดอกเบีย้ ร้อยละ 9.5 ในขณะทีส่ ถาบัน
การเงินโดยทัวไปก� ่ ำหนดอัตราดอกเบีย้ เงินกูล้ กู ค้ารายย่อยชัน้ ดีทม่ี คี า่ น้อยทีส่ ดุ ร้อยละ 7.12
ต่อปี (ธนาคารแห่งประเทศไทย, 2560) และคิดดอกเบีย้ ตัง้ แต่วนั ทีก่ ูย้ มื วันแรกจนถึงวันที่
ช�ำระเสร็จสิน้ และใช้วธิ กี ารคิดอัตราดอกเบีย้ แบบทบต้น (Compound interest) หาก กยศ.
คิดดอกเบีย้ ด้วยวิธเี ดียวกับสถาบันการเงินคิดดอกเบีย้ ร้อยละ 3 และร้อยละ 7.12 ในเวลา
15 ปี จะท�ำให้ กยศ. ได้รบั ดอกเบีย้ ร้อยละ 27.83 และ 66.04 ตามล�ำดับ ซึง่ แตกต่างกันกับ
ทีค่ ดิ เพียงร้อยละ 1 ในปจั จุบนั เป็ นอย่างมาก
6. ส�ำหรับเงือ่ นไขการช�ำระหนี้ สมมุตวิ า่ ผูค้ รบช�ำระหนี้ตงั ้ แต่ปี พ.ศ. 2557 จะใช้เงือ่ นไขการ
ช�ำระหนี้รปู แบบใหม่ และส�ำหรับผูท้ ค่ี รบก�ำหนดช�ำระหนี้ก่อนทีจ่ ะถึงปี พ.ศ. 2557 จะใช้
เงื่อนไขการช�ำระหนี้รูปแบบปจั จุบนั ผลการวิเคราะห์ความไวพบว่าเงื่อนไขการช�ำระหนี้
ภายใน 10 ปี ทำ� ให้เงินกองทุนมีค่าทีส่ งู ขึน้ ในช่วงแรก แต่จะค่อยๆ ลดลง เนื่องจากมีผกู้ ู้
ทีช่ ำ� ระเสร็จสิน้ แล้วจ�ำนวนหนึ่ง และติดลบในปี พ.ศ. 2581 เพราะว่ารายจ่ายทีเ่ พิม่ สูงขึน้
จากจ�ำนวนผูก้ ูแ้ ละการเพิม่ ขึน้ ของเงินกู้ ในขณะทีเ่ งือ่ นไขการช�ำระหนี้ 20 ปี ช�ำระร้อยละ
5 ต่อปี ท�ำให้เงินกองทุนอยูร่ อดได้นานกว่า ดังนัน้ การได้รบั เงินจากการช�ำระเร็วขึน้ เท่าไร
กยศ. ก็จะมีแนวโน้มทีจ่ ะอยูร่ อดนานขึน้ เท่านัน้ ดังแสดงในภาพที่ 7


136 Development Economic Review
132 
 

ภาพที่ ่ 7 7
ภาพที เงิเงินนกองทุ
กองทุนนส�สํำาหรั
หรับบการวิ
การวิเเคราะห์
คราะห์คความไวของเงื
วามไวของเงื่อนไขการชํ าระหนี
่อนไขการช� ้ (ล้า้ นบาท)
ำระหนี (ล้านบาท)
(Capital Fund
(Capital Fund for for Sensitivity
SensitivityAnalysis in Terms
Analysis in Termsof Student Loan Loan
of Student Payment in Million
Payment in
Baht)
Million Baht)

100,000

50,000

‐50,000

‐100,000

‐150,000

‐200,000

เงื่อนไขการชําระหนี ้รูปแบบ A ชําระ 15 ปี ปี แรกๆชําระน้ อยและค่อยๆเพิม่ ขึ ้นในแต่ละปี


เงื่อนไขการชําระหนี ้รูปแบบ B ชําระ 10 ปี ชําระร้ อยละ 10 เท่ากันทุกปี
เงื่อนไขการชําระหนี ้รูปแบบ C ชําระ 20 ปี ชําระร้ อยละ 5 เท่ากันทุกปี

ทีม่ า: ค�ำนวณโดยผูว้ จิ ยั
ทีม่ า: คํานวณโดยผูว้ จิ ยั

จากการวิเคราะห์ความไวของตัวแปรหลายตัวมีสถานการณ์มากและได้ทดลองวิเคราะห์ความไวหลาย
ตัวแปรแทบทัง้ หมดแต่เลือกน�ำเสนอเฉพาะสถานการณ์ทม่ี นี ยั ส�ำคัญในทางปฏิบตั แิ ละช่วยท�ำให้กองทุน
กยศ. มีความยังยื
่ นได้ดงั นี้

ก. สถานการณ์ทร่ี ฐั บาลเริม่ ลดเงินงบประมาณลง โดยก�ำหนดให้ (1) ได้รบั เงินงบประมาณ


ภาครัฐ 10,000 ล้านบาทในปี 2557 และลดลงแบบคงทีจ่ นถึงปี 2565 อันเป็ นสถานการณ์ทไ่ี ด้
รับเงินงบประมาณจากภาครัฐเป็ นน้อยมากและมีคา่ ใช้จ่ายทีเ่ พิม่ ขึน้ สูงขึน้ อันเป็ นสถานการณ์
ทีบ่ บี บังคับให้ตอ้ งลดจ�ำนวนผูก้ ูย้ มื ลง + (2) สัดส่วนผูก้ ูเ้ ฉลีย่ ทุกระดับการศึกษา 13.18% + (3)
ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการเพิม่ ขึน้ ในอัตรา 5% ต่อปี ก�ำหนดให้ตวั แปรอื่นเป็ นสถานการณ์
  ปกติ แต่ปรับปรุงประสิทธิภาพในการพิจารณาปล่อยกูแ้ ละเพิม่ สัดส่วนผูม้ าช�ำระหนี้ให้ดมี ากขึน้
ซึง่ น่ าจะช่วยให้ กยศ. มีความยังยื ่ นมากขึน้ โดยผันแปรให้
Development Economic Review 137

(1) สัดส่วนผูม้ าช�ำระหนี้ในปี แรก 50% + อัตราดอกเบีย้ เงินกู้ 1% ท�ำให้ในปี ท่ี 10 หลังครบ
ช�ำระหนี้ จะมีผทู้ ย่ี งั ไม่ได้มาช�ำระ 14.66%
(2) สัดส่วนผูม้ าช�ำระหนี้ในปี แรก 70% + อัตราดอกเบีย้ เงินกู้ 1% ท�ำให้ในปี ท่ี 10 หลังครบ
ช�ำระหนี้ จะมีผทู้ ย่ี งั ไม่ได้มาช�ำระ 7.42%
(3) สัดส่วนผูม้ าช�ำระหนี้ในปี แรก 90% + อัตราดอกเบีย้ เงินกู้ 1% ซึง่ ในปี ท่ี 10 ของแต่ละรุน่
จะมีผู้ท่ีย งั ไม่ ไ ด้ช� ำ ระอีก ประมาณ 2.36% ซึ่ง ใกล้เ คีย งกับ ยอดคงค้า งเงิน ให้ส ิน เชื่อ
ด้อยคุณภาพ (Gross NPLs) ของธนาคารพาณิชย์ต่อสินเชื่อรวม 2.97 % (ธนาคารแห่ง
ประเทศไทย, 2560) และ
(4) สัดส่วนผูม้ าช�ำระหนี้ในปี แรก 50% + เพิม่ อัตราดอกเบีย้ เงินกูเ้ ป็ น 3%

พบว่าจะท�ำให้เงินกองทุนติดลบในปี 2564, 2581, เงินกองทุนไม่ตดิ ลบไปตลอด, และเงินกองทุนไม่


ติดลบไปตลอด ซึง่ ท�ำให้สรุปได้วา่ การขึน้ อัตราดอกเบีย้ เงินกูส้ ามารถใช้ทดแทนการผิดนัดช�ำระหนี้ได้
เป็ นอย่างดีเพราะได้ไปชดเชยความเสีย่ งจากการเป็ นหนี้เสีย (Default risk) ในทางกลับกันหากปรับปรุง
ประสิทธิภาพในการปล่อยกูแ้ ละการเก็บหนี้กช็ ่วยให้ กยศ. มีเสถียรภาพและความยังยื ่ นเช่นเดียวกัน
ดังแสดงในภาพที่ 8 134 
 

ภาพที่่ 8 เงิ นกองทุ


ภาพที เงิ นกองทุ นในสถานการณ์
นในสถานการณ์ ฐั บาลเริ่ ม่มลดการสนั
ที่รทฐั ี่รบาลเริ ลดการสนับบสนุ
สนุนนเงิเงินนงบประมาณ านบาท)
งบประมาณ(ล้(ล้ านบาท)
(Capital (Capital Fund
Fund forforSensitivity
SensitivityAnalysisAnalysis fromfromthe
theCut
Cutof ofGovernment Budget
Government in in
Budget
Million Million Baht)
Baht)

0,000
0,000
20,000
0
-20,000
-0,000
-0,000
-80,000

สัดส่วนผูม้ าชําระหนี้ปีแรกร้อยละ 50 และเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆในแต่ละปี +อัตราดอกเบีย้ เงินกูร้ อ้ ยละ 1


สัดส่วนผูม้ าชําระหนี้ปีแรกร้อยละ 0 และเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆในแต่ละปี +อัตราดอกเบีย้ เงินกูร้ อ้ ยละ 1
สัดส่วนผูม้ าชําระหนี้ปีแรกร้อยละ 90 และเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆในแต่ละปี +อัตราดอกเบีย้ เงินกูร้ อ้ ยละ 1
สัดส่วนผูม้ าชําระหนี้ปีแรกร้อยละ 50 และเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆในแต่ละปี +อัตราดอกเบีย้ เงินกูร้ อ้ ยละ 

ทีม่ า: ค�ำนวณโดยผูว้ จิ ยั
ทีม่ า: คํานวณโดยผูว้ จิ ยั
138 Development Economic Review

ข. สถานการณ์ทค่ี ่าเล่าเรียนในการศึกษาเพิม่ สูงขึน้ มาก โดยก�ำหนดให้ (1) งบประมาณจากภาครั ฐ


135 
 20,000 ล้านบาทในปี 2557+ลดลงแบบคงทีจ ่ นถึงปี 2570+ (2) สัดส่วนผูก้ ูเ้ ฉลีย่ ทุกระดับการศึกษา
ข.13.18+(3)อั
สถานการณ์ ตราการเพิ
ทค่ี ่าเล่าเรีม่ ยขึนในการศึ
น้ ของเงินกกูษาเพิ ร้ อ้ ยละ ม่ สู5งขึของเงิ
น้ มากนโดยกํ กูใ้ นปีากหนดให้
่อนหน้า(1)ซึง่ งบประมาณจากภาครั
ใกล้เคียงกับการประมาณเงิ ฐ 20,000 น
ล้ให้ กูย้ มื ต่อหัว255+ลดลงแบบคงที
านบาทในปี ในช่วง 2557-2576 จ่ โดยขยายตั นถึงปี 250+ วเฉลี (2)ย่ ประมาณร้
สัดส่วนผูก้ อเู้ ฉลียละ ย่ ทุ4.45
กระดับต่การศึ อปี (วุกฒษาพิ งศ์ จิตตัง้ สกุตลรา,
1.18+()อั
2555)ม่ ขึก�น้ ำของเงิ
การเพิ หนดให้ นกูทร้ ุกอ้ ตัยละ
วแปรที เ่ หลืนอกูเป็ใ้ นปี
5 ของเงิ นสถานการณ์
ก่อนหน้า ซึงป่ ใกล้ กติเคีและผัยงกับนการประมาณเงิ
แปรสัดส่วนผูนม้ ให้ าช�กำูย้ระหนี
มื ต่อหั้ ในปีวในช่แรก วง
เงื อ
่ นไขในการผ่ อ นช� ำ ระและอั ต ราดอกเบี ย
้ เงิน กู ้
255-25 โดยขยายตัวเฉลีย่ ประมาณร้อยละ .5 ต่อปี (วุฒพิ งศ์ จิตตัง้ สกุล, 2555) กําหนดให้ทุกตัวแปร ดั
ง นี้
ที เ่ หลื อเป็(1) สั ดส่วนผูม้ าช�
นสถานการณ์ ปกติำระหนี และผั ้ในปีนแแปรสัรก 50%+ช� ดส่วนผูำม้ ระาชํ15ปี าระหนี ค่อ้ใยๆ
นปี แช�รก
ำระเพิ เงื่อม่ นไขในการผ่
ขึน้ +อัตราดอกเบี
อนชําระและอั ย้ เงินกู้ 1% ตรา
ดอกเบี ย้ (2) สั ด ส่
เงินกู้ ดังนี้ ว นผู ม
้ าช� ำ ระหนี ้ ใ นปี แ รก 90%+ช� ำระ 15ปี ค่
อ ยๆ ช�ำ ระเพิ ม ่ ขึน ้ +อัต ราดอกเบี ย ้ เงิ น กู ้ 1%
(1) (3) สั
สัดดส่ส่ววนผู นผูม้ ม้ าชําช�าำระหนี
ระหนี้ในปี ้ในปีแรก
แรก50%+ชํ
90%+ช� าระำระ15ปี 15ปีค่อค่ยชํอยๆ ช�ำระเพิ
าระๆเพิ ม่ ขึน้ ม่ +อั
ขึน้ ต+อัตราดอกเบี
ราดอกเบี ย้ เงินย้ กูเงิ้ 1%
นกู้ 3%
(2) (4) สั
สัดดส่ส่ววนผู นผูม้ ม้ าชําช�าำระหนี
ระหนี้ในปี ้ในปีแรก
แรก90%+ชํ
50%+ช� าระำระ15ปี10ปีค่อช�ยๆชํ ำระ10%
าระเพิมเท่่ ขึาน้ กั+อันทุตกราดอกเบี
ปี+อัตราดอกเบี
ย้ เงินกู้ 1% ย้ เงินกู้
() สั1% ดส่วนผูม้ าชําระหนี้ในปี แรก 90%+ชําระ 15ปี ค่อยชําระๆเพิม่ ขึน้ +อัตราดอกเบีย้ เงินกู้ %
() (5) สัสัดดส่ส่ววนผูนผูม้ ม้ าชําช�าำระหนี
ระหนี้ในปี ้ในปีแรก
แรก50%+ชํ
90%+ช� าระำระ10ปี10ปีชําช�ระ10% ำระ10% เท่าเท่กันาทุกักนปีทุ+กอัปีต+ราดอกเบี
อัตราดอกเบี ย้ เงินย้ กูเงิ้ 1% นกู้
(5) สั1% ดส่วนผูม้ าชําระหนี้ในปี แรก 90%+ชําระ 10ปี ชําระ10% เท่ากันทุกปี +อัตราดอกเบีย้ เงินกู้ 1%
พบว่าาจะทํ
พบว่ จะท�าำให้ให้เงิเนงินกองทุ
กองทุ นตินดติลบในปี
ดลบในปี25, 2563,259, 2579, ไม่ทไม่ าํ ให้ทเำ� งิให้ เงินกองทุ
นกองทุ นติดลบ,นติด2581, ลบ, 2581,และไม่และไม่
ทาํ ให้เงิทนำ� กองทุ ให้เงินน
ติกองทุ
ดลบตามลํ นติดลบตามล�
าดับ ดังแสดงในภาพที ำดับ ดังแสดงในภาพที ่9 ่9

ภาพที่ ่ 9 เงิ นกองทุ


ภาพที นในสถานการณ์
เงิ นกองทุ นในสถานการณ์ ที่คท่าี่คเล่่าเล่
าเรีาเรียนในการศึ ษาเพิ่ ม่ มสูงขึน
ยนในการศึกกษาเพิ ้ มาก
มาก (ล้
(ล้าานบาท)
นบาท)
(Capital Fund
(Capital forfor
Fund Sensitivity
Sensitivity Analysis
AnalysisofofIncreasing
IncreasingRate
Ratefrom from Expansion
Expansion ofof the
the
Level of Education)
Level (Million
of Education) (MillionBaht) Baht)

00,000
200,000
100,000
0
-100,000
-200,000

สัดส่วนผูม้ าชําระหนี้ในปีแรกร้อยละ 50+ชําระ 15 ปี ปีแรกชําระน้อยและค่อยๆเพิม่ ขึน้ ในแต่ละปี+อัตราดอกเบีย้ เงินกูร้ อ้ ยละ 1


สัดส่วนผูม้ าชําระหนี้ในปีแรกร้อยละ 90+ชําระ 15 ปี ปีแรกชําระน้อยและค่อยๆเพิม่ ขึน้ ในแต่ละปี+อัตราดอกเบีย้ เงินกูร้ อ้ ยละ 1
สัดส่วนผูม้ าชําระหนี้ในปีแรกร้อยละ 90+ชําระ 15 ปี ปีแรกชําระน้อยและค่อยๆเพิม่ ขึน้ ในแต่ละปี+อัตราดอกเบีย้ เงินกูร้ อ้ ยละ 
สัดส่วนผูม้ าชําระหนี้ในปีแรกร้อยละ 50+ชําระ 10 ปี ชําระร้อยละ 10 เท่ากันทุกปี+อัตราดอกเบีย้ เงินกูร้ อ้ ยละ 1
สัดส่วนผูม้ าชําระหนี้ในปีแรกร้อยละ 90+ชําระ 10 ปี ชําระร้อยละ 10 เท่ากันทุกปี+อัตราดอกเบีย้ เงินกูร้ อ้ ยละ 1

ทีม่ า: ค�ำนวณโดยผูว้ จิ ยั
ทีม่ า: คํานวณโดยผูว้ จิ ยั

 
Development Economic Review 139

ซึง่ ตัง้ ข้อสังเกตได้วา่ หากจ�ำนวนเงินทีใ่ ห้กยู้ มื เพิม่ สูงขึน้ มากแม้วา่ จะได้รบั การช�ำระหนี้ทส่ี งู ขึน้ มากแล้ว
ก็ตามก็จะท�ำให้กองทุนติดลบในช่วงปี 2579 ถึง 2581 หนทางแก้ไขได้คอื การเพิม่ อัตราดอกเบีย้ เงินกู้
เป็ น 3% ปรับเปลีย่ นเงือ่ นไขการช�ำระหนี้เป็ นช�ำระ 10 ปี ชำ� ระ 10% เท่ากันทุกปี หรือลดสัดส่วนผูก้ ูใ้ ห้
น้อยลงกว่าเดิมในช่วงปี ดงั กล่าว จะท�ำให้กองทุนไม่ตดิ ลบได้

ค. การวิเคราะห์ความไวของตัวแปร 7 ตัวแปรพร้อมกัน ได้เลือกตัวแปรทีส่ ำ� คัญและส่งผลต่อ กยศ.


ค่อนข้างมากมาวิเคราะห์ 7 ตัวแปรคือ (1) เงินงบประมาณจากภาครัฐ แบ่งเป็ นสามระดับคือ 15,000,
20,000, และ 25,000 ล้านบาท (2) ระยะเวลาทีไ่ ด้รบั งบประมาณ แบ่งเป็ นสามระดับคือได้รบั ไปจนถึง
ปี 2565, 2570, และ 2575 (3) สัดส่วนของผูก้ ู้ แบ่งเป็ นสองระดับคือ 13.18% และ 18.84%, (4) อัตรา
การเพิม่ ขึน้ ของเงินกู้ แบ่งเป็ นสามระดับคือ 1%, 2.46%, และ 4%, (5) สัดส่วนของผูม้ าช�ำระหนี้ในปี
แรกทีค่ รบก�ำหนดช�ำระ แบ่งเป็ นสามระดับคือ 35%, 50%, และ 70%, (6) อัตราการว่างงาน แบ่งเป็ น
สามระดับคือ 0.25%, 1%, และ 3% และ (7) อัตราดอกเบีย้ เงินกู้ แบ่งเป็ นสามระดับคือ 0%, 1%, และ
3% ท�ำให้มสี ถานการณ์ทต่ี อ้ งวิเคราะห์ทงั ้ สิน้ 3*3*2*3*3*3*3 หรือรวมทัง้ สิน้ 1,458 สถานการณ์ใน
ลักษณะของ Full-factorial design ดังตารางที่ 4

ผลการวิเคราะห์ความไวเจ็ดตัวแปรน� ำเสนอจ�ำนวนปี ทก่ี องทุนจะติดลบเร็วหรือช้ากว่าการทีก่ องทุน


จะติดลบตามสถานการณ์ปกติดงั แสดงในตาราง 2 หากตัวเลขเป็ นบวกหมายความว่าสถานการณ์นนั ้
จะช่วยยืดอายุกองทุนไม่ให้ตดิ ลบออกไปได้เท่ากับตัวเลขทีน่ � ำเสนอและหากตัวเลขเป็ นลบจะเป็ นไปใน
ทางตรงกันข้าม หรือหากพบว่าผลการวิเคราะห์ความไวในสถานการณ์นนั ้ เป็ น 0 แสดงว่าสถานการณ์
นัน้ ท�ำให้กองทุนมีอายุเท่ากับสถานการณ์ปกติ

ผลการวิเคราะห์แสดงในตารางที่ 3 และมีขอ้ ค้นพบทีส่ ำ� คัญคือ 1. เมือ่ ลดสัดส่วนผูก้ ลู้ งจะท�ำให้กองทุน


ติดลบช้าลง หรือไม่ตดิ ลบไปตลอด 2. เมือ่ เพิม่ อัตราดอกเบีย้ เงินกู้ การลดอัตราการเพิม่ ขึน้ ของเงินกู้
และการมีผมู้ าช�ำระเงินในปี แรกเพิม่ มากขึน้ จะท�ำให้กองทุนติดลบช้าลงกว่าเดิมมาก และ 3. จ�ำนวน
เงินงบประมาณจากภาครัฐ ส่งผลต่อกองทุนมากกว่าระยะเวลาทีไ่ ด้รบั เงินงบประมาณ
140 Development Economic Review

6) สรุปผลและอภิ ปรายผลการวิ จยั (Conclusion and Discussion)


ในการศึกษาครัง้ นี้พบว่า กยศ. จ�ำเป็ นจะต้องได้รบั เงินงบประมาณจากภาครัฐ เป็ นจ�ำนวนมากเพือ่ ให้
เพียงพอกับจ�ำนวนเงินกูใ้ ห้แต่ละปี เพราะว่าจ�ำนวนเงินทีไ่ ด้รบั การช�ำระหนี้ในแต่ละปี ค่อนข้างน้อย
เนื่องจากมีผทู้ ผ่ี ดิ นัดช�ำระหนี้เป็ นจ�ำนวนมาก จ�ำเป็ นต้องลดสัดส่วนของผูก้ ลู้ งให้เพียงพอกับเงินกองทุน
ทีม่ ี อีกทัง้ การก�ำหนดไม่ให้ยอดเงินกูต้ ่อหัวเพิม่ ขึน้ สูงมากเกินไปจะท�ำให้กองทุนอยูร่ อดได้

การได้รบั เงินงบประมาณจากภาครัฐและจ�ำนวนเงินทีไ่ ด้รบั การมาช�ำระหนี้เป็ นความเสีย่ งภายนอกที่


กยศ. สามารถจัดการได้ยากหรือไม่สามารถจัดการได้เลย แต่การเพิม่ หรือลดสัดส่วนของผู้กู้และ
การเพิ่ม ขึ้น ของเงิน กู้ท่ี กยศ. สามารถจัด การและควบคุ ม ด้ว ยตนเองได้ ท� ำ ให้รู้ว่ า ในแต่ ล ะปี
ควรจะจัดการรายจ่ายของกองทุนยังไงและเป็ นจ�ำนวนเท่าไร

การเพิม่ นโยบายใหม่เพือ่ จัดการและควบคุมความเสีย่ ง เช่น การเปลีย่ นเงือ่ นไขการช�ำระหนี้เป็ นช�ำระ


ทัง้ หมด 10 ปี ช�ำระร้อยละ 10 ต่อปี จะท�ำให้ได้รบั เงินการจากช�ำระทีค่ อ่ นข้างสูงเมือ่ เทียบกับเงือ่ นไข
การช�ำระหนี้รปู แบบเดิมคือจะได้รบั เงินจากการช�ำระเพียงร้อยละ 1.5 ในปี แรกทีม่ าช�ำระ หรือการเพิม่
อัตราดอกเบีย้ เงินกูจ้ ากเดิมร้อยละ 1 เป็ นร้อยละ 3 จะท�ำให้ได้รบั ดอกเบีย้ ทัง้ หมดร้อยละ 9.5 และ
27.83 ตามล�ำดับ

การแก้ปญั หาทางหนึ่งก็คอื การเพิม่ สัดส่วนของผูม้ าช�ำระหนี้ในให้เพิม่ สูงขึน้ ถ้าหาก กยศ. มีมาตรการ


การจัดการกับผูก้ ูท้ ผ่ี ดิ นัดช�ำระหนี้ได้ดี ท�ำให้สามารถเพิม่ สัดส่วนของผูม้ าช�ำระหนี้ได้เป็ น 70 หรือ 90
เมือ่ ครบก�ำหนดช�ำระหนี้ ก็จะเป็ นการช่วยแบ่งเบาภาระทางการเงินของ กยศ. และรัฐบาลทีต่ อ้ งจัดสรร
เงินงบประมาณให้เป็ นจ�ำนวนมากในทุกปี ๆ หรือกระทังแก่ ่ ตวั ผูก้ ู้เอง เพราะถ้า กยศ. มีนโยบาย
การปรับเปลีย่ นการช�ำระหนี้หรืออัตราดอกเบีย้ เงินกูแ้ ล้ว ผูก้ ูเ้ องจะต้องแบกรับภาระการช�ำระหนี้ตาม
เงือ่ นไขการช�ำระหนี้รปู แบบใหม่ทต่ี อ้ งช�ำระทีส่ งู ขึน้ จากเดิม หรืออัตราดอกเบีย้ ทีส่ งู ขึน้
Development Economic Review 141

ตารางที่ 3 จ�ำนวนปี ที่เงิ นกองทุนจะติ ดลบเร็วขึน้ /ช้าลงจากสถานการณ์ ปกติ


(Number of Yeats in which SLF will become Negative)

ทีม่ า: ค�ำนวณโดยผูว้ จิ ยั
142 Development Economic Review

7. ข้อเสนอแนะ (Recommendation)
กองทุนเงินให้กู้ยมื เพื่อการศึกษาเป็ นกองทุนทีไ่ ม่แสวงหาผลก�ำไรและด�ำเนินกิจการมาร่วม 20 ปี
การทีใ่ ห้โอกาสนักเรียนนักศึกษาทีข่ าดแคลนทุนทรัพย์กูย้ มื เงินเพื่อใช้ในการเล่าเรียน และเมื่อครบ
ก�ำหนดช�ำระหนี้จะต้องน�ำเงินมาใช้หนี้คนื ตามทีต่ กลงกัน แต่ความจริงมีผกู้ ทู้ ผ่ี ดิ นัดช�ำระหนี้เป็ นจ�ำนวน
มาก ท�ำให้ตอ้ งได้รบั เงินงบประมาณจากภาครัฐเข้าทดแทนจ�ำนวนเงินทีเ่ กิดจากการผิดนัดช�ำระหนี้
ทุกๆ ปี เพือ่ ทีจ่ ะให้เพียงพอต่อจ�ำนวนเงินกูใ้ นแต่ละปี อีกทัง้ อัตราดอกเบีย้ เงินกูท้ ต่ี ่�ำมากคือร้อยละ 1
และเมือ่ เทียบกับอัตราเงินเฟ้อประมาณร้อยละ 1-3 ในแต่ละปี ท�ำให้กองทุนมีความเสีย่ งทีจ่ ะล้มละลาย
หรือมีเงินกองทุนติดลบค่อนข้างสูง

สาเหตุหนึ่งทีค่ วรพิจารณาคือ การทีผ่ ูก้ ูไ้ ม่มคี วามสามารถในการช�ำระหนี้หรือมีเงินเดือนทีน่ ้อยมาก


ท�ำให้ไม่มเี งินมาช�ำระหนี้ได้ ควรมีการก�ำหนดเงื่อนไขหรือสัดส่วนการช�ำระหนี้ตามฐานเงินเดือนที่
ผูก้ ูม้ อี ยู่ ถ้าเงินเดือนถึงเกณฑ์กจ็ ะถูกนายจ้างหักเงินและจ่ายหนี้ตามฐานเงินเดือนทีก่ �ำหนดไว้ เช่น
เดียวกับกองทุน Higher Education Contribution Scheme หรือ HECS ของประเทศออสเตรเลีย
(B. Chapman and C. Ryan, 2003) หรือกองทุนเงินกูย้ มื เพือ่ การศึกษาทีผ่ กู กับรายได้ในอนาคต (กรอ.)
ทีผ่ กู้ ูจ้ ะต้องช�ำระหนี้เป็ นร้อยละของเงินรายปี จนกว่าจะครบ ซึง่ แตกต่างจาก พ.ร.บ. กยศ. พ.ศ.2560
สามารถให้นายจ้างหักเงินเพือ่ มาช�ำระหนี้ กยศ. ได้ (พระราชบัญญัตกิ องทุนเงินให้กยู้ มื เพือ่ การศึกษา
พ.ศ.๒๕๖๐, 2560) แต่บงั คับให้ช�ำระตามสัดส่วนทีก่ �ำหนดไว้ โดยไม่ได้สนใจว่าผูก้ ูม้ คี วามสามารถ
ช�ำระหนี้ได้มากน้อยเพียงใด

กยศ. ควรเพิม่ มาตรการบทลงโทษส�ำหรับผูก้ ูท้ ผ่ี ดิ นัดช�ำระหนี้ให้รุนแรงมากกว่าเดิม เช่น ภาครัฐไม่


สนับสนุ นเงินสมทบประกันสังคม ไม่ได้รบั สิทธิการรักษาพยาบาลในกรณีทเ่ี ป็ นข้าราชการ ส่งชื่อเข้า
เครดิตบูโร ท�ำให้ไม่สามารถท�ำธุรกรรมทางการเงินกับสถาบันการเงินใดๆ ได้ ยึดใบประกอบวิชาชีพ
ยึดใบอนุ ญาตขับขี่ เป็ นต้น ซึง่ จากเดิมมีเพียงค่าปรับร้อยละ 12 ต่อปี เมือ่ ค้างช�ำระ 1-12 เดือน และ
ร้อยละ 18 ต่อปี เมื่อค้างช�ำระมากกว่า 18 เดือนเท่านัน้ ซึ่งเมื่อถูกด�ำเนินคดีผูก้ ู้กจ็ ะขอไกล่เกลีย่
ค่าปรับ ให้สามารถช�ำระได้ไหว หรือกระทัง่ กยศ. ออกโปรโมชันลดค่ ่ าปรับหรือลดดอกเบีย้ เพือ่ จูงใจ
ให้คนกลับมาช�ำระหนี้ อาจท�ำให้ผกู้ ูไ้ ม่อยากมาช�ำระหนี้ในทันที แต่จะรอ กยศ. ออกโปรโมชันลดค่ ่ า
ปรับหรือลดดอกเบีย้ และช�ำระหนี้ในทีเดียว

นอกเหนือจากการทีใ่ ช้บริษทั ติดตามหนี้แล้ว กยศ. ควรใช้วธิ กี ารพิจารณาผูก้ โู้ ดยการให้คะแนนเครดิต


ส�ำหรับผูก้ ู้ (Credit scoring) เช่นเดียวกันกับสถาบันการเงินในประเทศไทย จากเดิมนัน้ กยศ. พิจารณา
การให้กู้ยมื เงินแก่นักเรียนนักศึกษาเพียงแค่พจิ ารณาจากได้รายได้ของครอบครัว ผลคะแนนเฉลีย่
โดยที่ไม่ได้พจิ ารณาถึงความเสีย่ งที่ผูก้ ู้ยมื เงินจะไม่มาช�ำระหนี้เท่าที่ควร การท�ำ Credit scoring
จะเป็ นการพิจารณาจากประวัตสิ ว่ นตัวของผูก้ ู้ เช่น เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานศึกษา สาขาวิชา
จังหวัดที่อยู่อาศัย คณะวิชาที่นักศึกษาเรียน คะแนนสอบเข้า อัตราการมีงานท�ำและรายได้เฉลี่ย
Development Economic Review 143

หลังส�ำเร็จการศึกษาของบัณฑิตของแต่ละสาขาวิชาแต่ละมหาวิทยาลัย หรือกระทังประวั ่ ตขิ องของ


พ่อและแม่ เช่น อาชีพ ระยะเวลาการท�ำงานทีต่ ่อเนื่อง เป็ นต้น ทัง้ หมดนี้สดุ ท้ายแล้วจะได้ออกมาเป็ น
คะแนน เช่น ถ้าได้คะแนน 80 คะแนนหมายความว่า มีความน่ าจะเป็ นทีน่ ักเรียนคนนี้จะไม่ผดิ นัด
ช�ำระหนี้ถงึ ร้อยละ 80 ซึง่ ในแต่ละปี จะมีนกั เรียนนักศึกษาได้ทไ่ี ด้คะแนนแตกต่างกันออกไป ขึน้ อยูก่ บั
กยศ. ว่าควรจะตัง้ เกณฑ์ทค่ี ะแนนเท่าไรจึงจะให้นกั เรียนนักศึกษากูย้ มื แน่นอนว่าสัดส่วนของผูก้ จู้ ะลด
ลงอย่างเห็นได้ชดั และสัดส่วนของผูท้ ม่ี าช�ำระหนี้จะเพิม่ ขึน้ อย่างเห็นได้ชดั เจนเช่นกัน ซึง่ ทัง้ หมดนี้
เป็ นผลดีเสถียรภาพและความมันคงของ ่ กยศ. ทัง้ สิน้

กองทุน Health Education Assistance Loan หรือ HEAL ของประเทศสหรัฐอเมริกา เคยประสบปญั หา


การผิดนัดช�ำระหนี้มากและได้มกี ารพัฒนา Credit scoring ในการจัดกลุ่มประเภทความเสีย่ งของผูก้ ู้
เพื่อกู้ยมื เงินในการศึกษาด้านการแพทย์ (Cooter & Erdmann, 1995) หรือกระทังมหาวิ ่ ทยาลัย
Western University of Health Sciences ของประเทศสหรัฐอเมริกา ทีม่ กี ารใช้ Credit scoring ในการ
ให้นักศึกษากู้ยมื เงินเพื่อเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยของตนเอง (Western University of Health
Sciences, 2017) จะเห็นว่ากองทุนของต่างประเทศจะใช้นโยบายในการช�ำระหนี้ทป่ี ิ ดความเสีย่ งด้าน
การผิดนัดช�ำระหนี้ ทัง้ ให้นายจ้างหักเงินเดือนมาช�ำระหนี้ หรือให้กูเ้ ฉพาะการศึกษาด้านการแพทย์
ทีม่ ฐี านเงินเดือนทีส่ งู ท�ำให้มคี วามสามารถในการช�ำระหนี้ได้

การท�ำ Credit Scoring สามารถท�ำให้ได้รถู้ งึ สาขาวิชาทีผ่ กู้ ูเ้ มือ่ ส�ำเร็จการศึกษาแล้วจะสามารถน�ำเงิน


มาช�ำระหนี้คนื ได้ ท�ำให้สามารถสร้างพืน้ ฐานการศึกษาและสร้างนโยบายการศึกษา ให้สามารถรองรับ
ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และน�ำไปสูก่ ารพัฒนา
ประเทศต่อไปในอนาคต ซึง่ ตอบสนองกับจุดประสงค์ของกองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา


144 Development Economic Review

บรรณานุกรม (References)

ภาษาไทย
กองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา. (2548). รายงานประจ�ำปี 2547. กรุงเทพมหานคร: .
Student Loans Fund. (2005). Annual Roport 2004. Bangkok. (In Thai)
กองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา. (2549). รายงานประจ�ำปี 2548. กรุงเทพมหานคร: .
Student Loans Fund. (2006). Annual Roport 2005. Bangkok. (In Thai)
กองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา. (2550). รายงานประจ�ำปี 2549. กรุงเทพมหานคร: .
Student Loans Fund. (2007). Annual Roport 2006. Bangkok. (In Thai)
กองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา. (2551). รายงานประจ�ำปี 2550. กรุงเทพมหานคร: .
Student Loans Fund. (2008). Annual Roport 2007. Bangkok. (In Thai)
กองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา. (2552). รายงานประจ�ำปี 2551. กรุงเทพมหานคร: .
Student Loans Fund. (2009). Annual Roport 2008. Bangkok. (In Thai)
กองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา. (2553). รายงานประจ�ำปี 2552. กรุงเทพมหานคร: .
Student Loans Fund. (2010). Annual Roport 2009. Bangkok. (In Thai)
กองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา. (2554). รายงานประจ�ำปี 2553. กรุงเทพมหานคร: .
Student Loans Fund. (2011). Annual Roport 2010. Bangkok. (In Thai)
กองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา. (2555). รายงานประจ�ำปี 2554. กรุงเทพมหานคร: .
Student Loans Fund. (2012). Annual Roport 2011. Bangkok. (In Thai)
กองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา. (2556). รายงานประจ�ำปี 2555. กรุงเทพมหานคร: .
Student Loans Fund. (2013). Annual Roport 2012. Bangkok. (In Thai)
กองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา. (2557). รายงานประจ�ำปี 2556. กรุงเทพมหานคร.
Student Loans Fund. (2014). Annual Roport 2013. Bangkok. (In Thai)
กองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา. (2559). คูม่ อื ผูป้ ฏิบตั งิ านกองทุนเงินให้กูย้ มื เพือ่ การศึกษา ประจ�ำ
ปี 2559. กรุงเทพมหานคร.
Student Loans Fund. (2016). Manual of Student Loan Fund 2016. Bangkok. (In Thai)
ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2556). การคาดประมาณประชากร
ของประเทศไทย พ.ศ. 2553-2583. กรุงเทพมหานคร: ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
Office of the National Economic and Social Development Board. (2013). Population projections
for Thailand 2010-2040. Bangkok: Office of the National Economic and Social
Development Board. (In Thai)
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2560). ข้อมูล Gross NPLs และ Net NPLs สินเชื่อแก่บุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง
และค่าปรับจ�ำแนกตามกลุ่มประเภทสถาบันการเงิน, สืบค้นจาก http://www2.bot.or.th/
Development Economic Review 145

statistics/ BOTWEBSTAT.aspx?reportID=428&language=TH สืบค้นเมือ่ วันที่ 31 ตุลาคม


2560
Bank of Thailand (2017). Gross NPLs and Net NPLs Outstanding, Loans to Related Parties,
Fine and Summary Statement of Liabilities and Assets Classified by Financial
Institution Group, Retrieved from http://www.bot.or.th/statistics/BOTWEBSTAT.
aspx?reportID=428&language=TH (October 31, 2017)
ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย. (2560). อัต ราดอกเบี้ย ในตลาดเงิน (2548-ป จั จุ บ ัน ). สืบ ค้น จาก
http://www2.bot.or.th/statistics/ReportPage.aspx?reportID=223&language=th สืบค้น
เมือ่ วันที่ 31 ตุลาคม 2560
Bank of Thailand (2017). Interest Rates in Financial Market (2005-present), Retrieved from
http://www2.bot.or.th/statistics/BOTWEBSTAT.aspx?reportID=428&language=TH
(October 31, 2017)
พระราชบัญญัตกิ องทุนเงินให้กู้ยมื เพื่อการศึกษา พ.ศ.2560. ราชกิจจานุ เบกษา. 134, 12ก (27
มกราคม): 1-18.
The Act on Student Loan Fund B.E. 2560. Royal Thai Government Gazette. 134, 12A (27
January 2017): 1-18 (In Thai)
วุฒพิ งศ์ จิตตัง้ สกุล และคณะผูว้ จิ ยั . (2555). การศึกษาเพือ่ วิเคราะห์แนวโน้มรายจ่ายด้านสวัสดิการ
สังคมของภาคสาธารณะเมือ่ เข้าสู่สงั คมผูส้ งู อายุ. กรุงเทพมหานคร: ส�ำนักงานเศรษฐกิจ
การคลัง.
Jittungsakul,P et al., (2012). Study to Analyze Trends on Public Welfare Expenditures of the
Government When an Aging Society. Bangkok: Fiscal Policy Office. (In Thai)

ภาษาอังกฤษ
Chapman,B. & Ryan, C. (2003). The Access Implications of Income-Contingent Charges for
Higher Education Lessons from Australia. Centre for Economic Policy Research,
Discussion Papers no.463.
Cooter, R. & Erdmann, J. B. (1995). A Model for Predicting HEAL Repayment Patterns and
Its Implications for Medical Student Financing. Academic Medicine, 70(12),
1134–1137.
Raudenbush, S.W. & Bryk, A.S. (2002). A Hierarchical Linear Model: Applications and Data
Analysis Methods. 2nd Ed. California, Sage Publications.
Western University of Health Sciences. (2017). How Credit Affects Loans. Retrieved from
http://www.westernu.edu/financial/direct-loan-program-counseling/financial-credit/
(November 22, 2017)

You might also like