Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 25

4 การประยุกต์อนุพันธ์

Applications of Derivative
4.1 ทฤษฎีบทของโรลล์และทฤษฎีบทค่ามัชฌิม ทฤษฎีบทที่เกี่ยวกับค่า
อนุพันธ์ที่จุดสูงสุดหรือต่่าสุดสัมพัทธ์
ทฤษฎี 4.1 ทฤษฎีบทของโรลล์ (Rolle Theorem)
ให้ เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้บน และมีความต่อเนื่องบน ถ้า
แล้วจะมี อย่างน้อยหนึ่งค่าใน ที่ท่าให้

กรณี เป็นฟังก์ชันคงค่า มีกราฟเป็นเส้นตรงแนวราบตามแนวแกน จะได้


ดังนั้น ทุกค่าของ

จากทฤษฎี 4.1 ถ้าเปลี่ยน เป็น เพียงพอที่จะได้ข้อสรุปว่า


“จะมี อย่างน้อยหนึ่งค่าใน ที่ท่าให้ ”
ทฤษฎี 4.2 ทฤษฎีบทค่ามัชฌิม (Mean-Value Theorem)

ให้ เป็นฟังก์ชันที่ต่อเนื่องบน และหาอนุพันธ์ได้บน แล้วจะมีจ่านวนจริง อย่างน้อย


หนึ่งค่า โดย ที่ท่าให้

ทฤษฎี 4.3 (Intermediate Value Theorem)

ถ้า เป็นฟังก์ชันที่ต่อเนื่องบน และ เป็นจ่านวนใดๆ ระหว่าง และ แล้วจะมีค่า


อย่างน้อยหนึ่งค่าในช่วง ที่ซึ่ง

ตัวอย่าง 4.1 จงใช้ทฤษฎีบทของโรลล์ตรวจสอบว่าสมการ มีรากที่


เป็นจ่านวนจริงทั้งหมดกี่ราก

ท่า ให้

เนื่องจาก เป็นฟังก์ชันพหุนามที่มีความต่อเนื่องทุกค่า ดังนั้น มีความต่อเนื่องใน –


จากทฤษฎีค่าระหว่างกลาง จะมี อย่างน้อยหนึ่งค่าที่ท่าให้ ดังนั้น
มีรากเป็นจ่านวนจริงอย่างน้อย 1 ราก ให้ เป็นรากหนึ่งของสมการ

สมมุติว่ามี เป็นอีกรากหนึ่งของสมการ จะได้ ซึ่งจากทฤษฎีบทของโรลล์เราจะ


ได้ว่าจะต้องมีจ่านวนจริง ซึ่ง \

ส่าหรับทุกค่า

ดังนั้นจึงไม่มีจ่านวนจริง ที่ท่าให้

นั่นคือสมการ มีรากที่เป็นจ่านวนจริงเพียงรากเดียว
ตัวอย่าง 4.2 จงหาค่า ที่สอดคล้องตามทฤษฎีของโรลล์หรือทฤษฎีค่ามัชฌิม
1.
2.
บทแทรก 4.1 ถ้า ทุกค่าของ ในช่วงหนึ่งแล้วจะได้ว่า เป็นฟังก์ชันคงค่าตลอด
ช่วงนั้น

บทแทรก 4.2 ถ้า ทุกค่าของ ในช่วงหนึ่งแล้ว ค่าคงที่ทุกค่า


ของ ในช่วงนั้น

นิยาม 4.1 ฟังก์ชัน เป็นฟังก์ชันเพิ่ม ถ้า มีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อ มีค่าเพิ่มขึ้น กล่าวคือ


ถ้า แล้ว

นิยาม 4.2 ฟังก์ชัน เป็นฟังก์ชันลด ถ้า มีค่าลดลงเมื่อ มีค่าเพิ่มขึ้น กล่าวคือ ถ้า


แล้ว

บทแทรก 4.3 ถ้า เป็นฟังก์ชันที่มีความต่อเนื่องบน และมีค่าอนุพันธ์เป็นบวกบน


แล้ว จะเป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง ถ้า เป็นฟังก์ชันที่มีความต่อเนื่องบนช่วง
และมีค่าอนุพันธ์เป็นลบบนช่วง แล้ว จะเป็นฟังก์ชันลดในช่วง

4.1.1 จุดวิกฤต, จุดสูงสุดสัมพัทธ์, จุดต่่าสุดสัมพัทธ์, จุดสูงสุดสัมบูรณ์ และจุด


ต่่าสุดสัมบูรณ์
นิยาม 4.3 จุดวิกฤต คือจุด ซึ่ง หรือ หาค่าไม่ได้
นิยาม 4.4 จุดสูงสุดสัมพัทธ์ คือจุด ซึ่งมีช่วง , และ
ทุกค่าของ

นิยาม 4.5 จุดต่่าสุดสัมพัทธ์ คือจุด ซึ่งมีช่วง , และ


ทุกค่าของ

นิยาม 4.6 จุดสูงสุดสัมบูรณ์ คือจุด ซึ่ง ทุกค่าของ

นิยาม 4.7 จุดต่่าสุดสัมบูรณ์ คือจุด ซึ่ง ทุกค่าของ

ทฤษฎี 4.4 First Derivative Test


ให้ หาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิดที่คลุม ยกเว้นที่ เมื่อ เป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง
a) ถ้า เปลี่ยนจากบวกไปเป็นลบที่จุด แล้ว จะมีค่าสูงสุดสัมพัทธ์ที่
b) ถ้า เปลี่ยนจากลบไปเป็นบวกที่จุด แล้ว จะมีค่าต่า่ สุดสัมพัทธ์ที่

ตัวอย่าง 4.3 ให้ จงวาดรูปกราฟของ คร่าวๆ


ทฤษฎีบท 1 Second Derivative Test
สมมุติว่า
a) ถ้า แล้ว เป็นจุดสูงสุดสัมพัทธ์ของ
b) ถ้า แล้ว เป็นจุดต่่าสุดสัมพัทธ์ของ
ถ้า จะไม่สามารถสรุปได้ว่าฟังก์ชัน ที่จุด ให้ค่าสูงสุดหรือต่่าสุด

ตัวอย่าง 4.4 จงใช้ First Derivative Test เพื่อหาค่าสูงสุดหรือต่่าสุดสัมพัทธ์ของ


1.
2.
3.
4.
ตัวอย่าง 4.5 จงใช้ First Derivative Test หรือรวมทั้ง Second Derivative Test หาจุดสูงสุดและ
ต่่าสุดสัมพัทธ์ พร้อมวาดรูปประกอบคร่าวๆ
1.
2.
3.
4.
4.1.2 ความเว้าของเส้นโค้ง และจุดเปลีย่ นเว้าบนเส้นโค้ง

นิยาม 4.8 จุดที่เชื่อมระหว่างเส้นโค้งเว้าขึ้น กับเส้นโค้ง เว้าลง เราเรียกจุดนี้ว่า “จุดเปลี่ยนเว้า”

นิยาม 4.9 ให้ หาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิด กราฟของ จะ”เว้าขึ้น(concave upward)”


เมื่อ มีค่าเพิ่มขึ้นบนช่วงเปิด กราฟของ จะ”เว้าลง(concave
downward)” เมื่อ มีค่าลดลงบนช่วงเปิด

ทฤษฎี 4.5 ให้ หาค่าได้บนช่วงเปิด


ถ้า ส่าหรับทุก แล้วกราฟจะ”เว้าขึ้น”บนช่วงเปิด
ถ้า ส่าหรับทุก แล้วกราฟจะ”เว้าลง”บนช่วงเปิด

ทฤษฎี 4.6 ถ้ากราฟของ มีจุดเปลี่ยนเว้า และที่จุดเปลี่ยนเว้านี้หาค่าอนุพันธ์อันดับ


สองได้ค่าอนุพันธ์อันดับสอง ณ จุดนี้จะมีค่าเป็นศูนย์

คุณสมบัติที่ส่าคัญที่ช่วยในการเขียนกราฟ
คุณสมบัติ วิธีท่าสอบ
จุดตัดแกน ที่
จุดตัดแกน ที่
กราฟมีสมมาตรแกน
กราฟมีสมมาตรจุดก่าเนิด
มีจุดสูงสุดสัมพัทธ์ที่ และ เปลี่ยนจากค่าบวกเป็นลบเมื่อผ่าน
หรือ และ
มีจุดต่่าสุดสัมพัทธ์ที่ และ เปลี่ยนจากค่าลบเป็นบวกเมื่อผ่าน
หรือ และ
เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง ส่าหรับทุก
เป็นฟังก์ชันลดบนช่วง ส่าหรับทุก
กราฟ เว้าขึ้นบนช่วง ส่าหรับทุก
กราฟ เว้าลงบนช่วง ส่าหรับทุก
เป็นจุดเปลี่ยนเว้า เปลี่ยนเครื่องหมายเมื่อผ่าน ( )
มีเส้นก่ากับแนวตั้งที่ หรือ
มีเส้นก่ากับแนวราบที่ หรือ
ตัวอย่าง 4.6 ให้ จงวาดกราฟของ
ตัวอย่าง 4.7 ให้ จงวาดกราฟของ
4.2 บทประยุกต์ปัญหาค่าสูงสุด-ต่่าสุด (Applied Maximum and
Minimum Problems)
ตัวอย่าง 4.8 จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมที่มากที่สุดที่ล้อมรอบด้วยเชือกยาว 100 เมตร

x
เส้นรอบรูป
y y
Area
x

ขั้นตอนของการแก้ปัญหาปัญหาค่าสูงสุด-ต่่าสุด
1. วาดรูปแทนความสัมพันธ์ต่างๆในปัญหา
2. หาสูงที่จะใช้ในการหาค่าสูงสุดหรือต่่าสุด
3. ลดจ่านวนตัวแปร โดยพิจารณาจากเงื่อนไขของปัญหา แปลงปัญหาให้เป็นฟังชันตัวแปรเดียว
4. หาช่วงของค่าที่เหมาะสมที่ขึ้นกับปัญหา
5. ใช้อนุพันธ์เพื่อหาค่าสูงสุด ต่่าสุด
ตัวอย่าง 4.9 กล่องเปิดด้านบน สร้างจากวัสดุสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาว 30 นิ้ว กล้าง 16 นิ้ว โดยการตัดมุม
ทั้งสี่แล้วพับขึ้น จงหาความยาวที่เหมาะสมในการตัดมุม เพื่อให้ได้ปริมาตรกล่องมาก
ที่สุด

x x
x x
16 in.
x x
x x
30 in.
ตัวอย่าง 4.10 จงหารัศมีและความสูงของทรงกระบอกที่มีปริมาตรมากที่สุดที่บรรจุอยู่ภายในทรง
กรวยรัศมี 6 นิ้ว สูง 10 นิ้ว

10 - h
r 10 in. r

h h

6 in.
6 in.

ให้ แทน รัศมีทรงกระบอก และ แทนความสูงทรงกระบอก

ปริมาตรของทรงกระบอก

Relationship between and using similar triangles or


4.3 กฎของโลปิตาล
ในการหาลิมิต ถ้าแทนค่า ลงใน แล้ว อยู่ในรูปใดรูปหนึ่งต่อไปนี้
คือ

ไม่สามารถบอกค่าลิมิตได้ทันที กล่าวว่า มี “รูปแบบที่ยังไม่ก่าหนด(Indeterminate


Form)” ที่ จะเห็นว่ากรณีนี้ หาค่าไม่ได้

ทฤษฎี 4.7 ให้ และ เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิดที่มี อยู่ โดยที่ ไม่เป็น


ศูนย์ทุกค่าของ ในช่วงเปิดนี้ยกเว้นที่ ถ้า ,
และ แล้ว

ทฤษฎี 4.8 ให้ และ เป็นฟังก์ชันที่หาอนุพันธ์ได้บนช่วงเปิดที่มี อยู่ ถ้า


(หรือ ), (หรือ ) และ แล้วจะได้ว่า

วิธีในการพิจารณาการใช้กฏโลปิตาล เมื่อลิมิตอยู่ในรูปแบบไม่ก่าหนด
รูปแบบไม่ก่าหนด วิธีท่า
1. ใช้ ทฤษฎี 4.8 โดยตรง
2. รวมสองเทอมเข้าด้วยกัน แล้วจัดรูปเป็นแบบ 1
3. แปลง เป็น หรือ

4. หา และค่าตอบคือ

หมายเหตุ ลิมิตที่อยู่ในรูปแบบของ ไม่จัดอยู่ในรูปแบบไม่ก่าหนด

ตัวอย่าง 4.11 จงหาลิมิตของ


1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
4.4 การประยุกต์อัตราสัมพัทธ์ (Related Rates)
เราจะประยุกต์เอาอนุพันธ์มาใช้ในการหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรต่างๆที่มีความสัมพันธ์กัน
และทั้งหมดขึ้นอยู่กับเวลา

ขั้นตอนในการท่าโจทย์
1. วาดรูป และก่าหนดตัวแปรต่างๆ ลงบนรูป โดยเฉพาะที่โจทย์ให้มา และค่าที่ต้องการหา
2. สร้างสมการความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆที่เราทราบอัตราการเปลี่ยนแปลงกับตัวแปรที่เรา
ต้องการหาความสัมพันธ์เหล่านี้ อาจจะเป็นไปตามกฏสามเหลี่ยมคล้าย (Similar Triangles)
ทฤษฎีพิธาโกรัส (Pythagorean Theorem) หรือ สมบัติทางตรีโกณมิติ (Trigonometric
Identity)
3. หาอนุพันธ์ทั้งสองข้างของสมการเทียบกับเวลา ( )
4. แก้สมการหาอัตราส่วนการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรที่ต้องการ

ตัวอย่าง 4.12 สมมุติว่าลูกบอลลูนถูกปั้มให้พองด้วยอัตรา 10 cm.3/min. จงหาอัตราการ


เปลี่ยนแปลงของรัศมี เมื่อบอลลูนมีรัศมีเท่ากับ 5 cm.
ตัวอย่าง 4.13 สมมุติต่อไปว่า ถ้าบอลลูนลูกเดียวกัน เมื่อมีปริมาตรมากกว่า 10 cm.3 จะลดอัตราการ
เปลี่ยนแปลงของปริมาตรลงเป็น cm.3/min. รัศมีของลูกบอลลูนจะเพิ่มขึ้นด้วย
อัตราเท่าไร เมื่อรัศมีเท่ากับ 2 cm.
ตัวอย่าง 4.14 บันไดยาว 13 ฟุต วางพาดก่าแพง โดยที่ก่าแพงกับพื้นตั้งฉากกัน ถ้าปลายบันไดด้านที่
สัมผัสพื้นขยับออกจากก่าแพงด้วยอัตรา 3 ฟุต/วินาที จงหาอัตราความเร็วของปลาย
บันไดที่สัมผัสก่าแพงที่ก่าลังเลื่อนลง เมื่อปลายด้านสัมผัสพื้นห่างจากก่าแพง 5 ฟุต
ตัวอย่าง 4.15 เปิดก๊อกน้่าให้น้่าไหลลงถ้วยทรงกรวยกลม โดยอัตราการไหลของน้่าเป็น นิ้ว3/วินาที
ถ้าถ้วยนี้สูง 6 นิ้ว และปากถ้วยมีรัศมี 2 นิ้ว จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของความสูง
ของระดับน้่า เมื่อน้่าสูง 4 นิ้วจากก้นถ้วย
ตัวอย่าง 4.16 วิลลี่เดินเข้าหาเสาไฟโคมด้วยอัตราความเร็ว 5 ฟุต/วินาที ถ้าเสาไฟสูง 20 ฟุต และวิล
ลี่สูง 6 ฟุต จงหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของความยาวเงาของวิลี่ เมื่อวิลลี่อยู่ห่างจาก
เสาไฟ 24 ฟุต
ตัวอย่าง 4.17 น้่าไหลออกจากถังน้่าทรงกรวยกลมสูง 50 นิ้ว รัศมีปากด้านบน 30 นิ้ว ตกลงในถัง
สี่เหลี่ยมลูกบาศก์ ที่มีพื้นที่ฐาน 400 ตร.นิ้ว อัตราการปล่อยน้่าถูกควบคุมจะแปรผัน
ตรงกับระดับน้่าจากปลายด้านล่างของกรวย (ให้เป็น นิ้ว) โดยความสูงของน้่าจะ
ลดลงด้วยอัตรา นิ้ว/นาที จงหาว่า น้่าในถังสี่เหลี่ยมลูกบาศก์จะสูงขึ้นด้วย
อัตราเท่าไร เมื่อน้่าในกรวยสูง 10 นิ้ว
4.5 บทประยุกต์อนุพันธ์ทางการเงิน
4.5.1 การวิเคราะหส่วนเพิ่ม (Marginal Analysis)
ในทางเศรษฐศาสตร์ สิ่งที่เป็นที่สนใจคือ การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรต้น เช่น สินค้าคงคลัง ผลผลิต
อุปทาน การโฆษณา และราคา ซึ่งมีผลกระทบกับตัวแปรอื่น เช่น ก่าไร รายได้ อุปสงค์ เงินเฟ้อ และการ
จ้างงาน ปัญหาเหล่านี้เป็นเรื่องของการศึกษาโดยใช้การวิเคราะหส่วนเพิ่ม (Marginal Analysis) ค่าว่า
“Marginal” ในทางเศรษฐศาสตร์ ก็คือ อัตราการเปลี่ยนแปลง หรือ อนุพันธ์ นั่นเอง

ให้ แทน ต้นทุนสุทธิ (TC) ในการผลิตสินค้า หน่วย ที่ผลิตในช่วงเวลาหนึ่ง

แทน รายได้สุทธิ (TR) ในการขายสินค้า หน่วย ที่ผลิตในช่วงเวลาหนึ่ง

แทน ก่าไรสุทธิ (TP) จากการขายสินค้า หน่วย ที่ผลิตในช่วงเวลาหนึ่ง

โดยที่

อนุพันธ์ และ จะถูกเรียกว่า ต้นทุนหน่วยสุดท้าย หรือต้นทุนส่วนเพิ่ม


(Marginal Cost), รายรับหน่วยสุดท้าย หรือรายรับส่วนเพิ่ม (Marginal Revenue), ก่าไรหน่วย
สุดท้าย หรือก่าไรส่วนเพิ่ม (Marginal Profit) ตามล่าดับ ซึ่งค่าของอนุพันธ์ และ
จะแทนอัตราการเปลี่ยนแปลงของก่าไร รายได้ และต้นทุน ในขณะหนึ่ง

ในทางปฏิบัติ มักถูกใช้ในการอธิบายต้นทุนของการผลิตสินค้าชิ้นที่ แม้ว่าค่าที่ได้จะไม่


แม่นตรง แต่ก็เป็นการประมาณที่ดี การอธิบายนี้ใช้เมื่อจ่านวน มีค่ามากๆ ดังนั้น สามารถ
พิจารณาเทียบกับการหาค่าลิมิตของ ซึ่ง

ดังนั้น ค่า หมายถึง ต้นทุนหน่วยสุดท้าย มีค่าประมาณ ต้นทุนจริงของ


การผลิตสินค้าชิ้นต่อไป ซึ่งเป็น ต้นทุนโดยประมาณของการผลิตสินค้าชิ้นที่ ท่านองเดียวกัน
มักถูกใช้ในการอธิบายรายได้จากการขายสินค้าชิ้นที่ และ เป็นก่าไรโดยประมาณ
จากการผลิตและขายสินค้าชิ้นที่

ปกติแล้ว ต้นทุนการผลิตจะเท่ากับ โดยที่ แทน ค่าใช้จ่ายในการด่าเนินการ


(Overhead) และ แทนฟังก์ชันต้นทุนการผลิตสินค้า (Manufacturing Cost)

ค่าใช้จ่ายในการด่าเนินการ (Overhead) จะรวมถึง ต้นทุนคงที่ เช่น ค่าเช่า และค่าประกัน ซึ่งไม่ขึ้นกับ


จ่านวนการผลิตสินค้า ( ) ส่วน จะรวมถึงค่าวัสดุ ค่าแรง ในการผลิตสินค้าแต่ละชิ้น

Maximum Profit จะเกิดขึ้นเมื่อ Marginal Cost = Marginal Revenue


ตัวอย่าง 4.18 โรงงานผลิตสีได้ค่านวณหาต้นทุน (หน่วยเป็นดอลลาร์) ของการผลิตสีจ่านวน
แกลลอนต่อวัน ได้เป็น
1. จงหาต้นทุนหน่วยสุดท้าย เมื่อมีการผลิตสีจ่านวน 500 แกลลอนต่อวัน
ต้นทุนหน่วยสุดท้าย ดังนั้น
USD
2. จงใช้การวิเคระห์ต้นทุนส่วนเพิ่มประมาณต้นทุนของการผลิตสีแกลลอนที่ 501
เนื่องจาก ดังนั้นต้นทุนการผลิตสีแกลลอนที่ 501 เท่ากับ 2 USD
3. จงหาต้นทุนที่แท้จริงของการผลิตสีแกลลอนที่ 501
USD
USD
ดังนั้น ต้นทุนที่แท้จริงของการผลิตสีแกลลอนที่ 501 คือ USD

ตัวอย่าง 4.19 บริษัทผลิตครีมถนอมผิวยี่ห้อหนึ่งจ่าหน่ายครีมที่เขาผลิตในราคาขวดละ 200 บาท ถ้า


ต้นทุนในการผลิตครีม ขวดคือ และถ้า
บริษัทนี้มีขีดจ่ากัดในการผลิตอยู่ที่ 30,000 ชิ้นต่อช่วงเวลาหนึ่ง บริษัทจะต้องผลิต
และจ่าหน่ายครีมถนอมผิวจ่านวนเท่าไรจึงจะได้ก่าไรสูงสุด

หาจุดวิกฤต โดยก่าหนดให้ นั่นคือ

หรือ เราได้

ซึ่งบริษัทมีก่าลังในการผลิตในช่วง เมื่อตรวจสอบค่าที่จุดวิกฤตและค่าขอบของช่วง จะ
ได้ผลดังตาราง

0 20,000 30,000

-500,000 700,000 400,000


ตัวอย่าง 4.20 ฝ่ายวิจัยตลาดได้ท่าการวิจัยตลาดของเครื่องเล่น MP3 และเสนอสมการราคาอุปสงค์
เป็น หรือเขียนในตัวแปร ได้เป็น

เมื่อ เป็นจ่านวนสินค้าที่ผู้ซื้อต้องการซื้อที่ราคา ยูโรต่อชิ้น


ฝ่ายการเงินได้ค่านวณต้นทุนการผลิตเครื่องเล่น MP3 ซึ่งแทนด้วยสมการ

เมื่อ ค่าใช้จ่ายคงที่ในการเริ่มผลิตเป็น 7,000 ยูโร ค่าวัสดุและค่าแรงมีต้นทุน 2 ยูโรต่อ


ชิ้น
1. จงหาโดเมนของฟังก์ชันที่นิยามราคาอุปสงค์
2. จงหาฟังก์ชันต้นทุนหน่วยสุดท้าย (Marginal Cost function) และจงอธิบายผล
3. จงหาฟังก์ชันรายได้ในตัวแปรต้น และหาโดเมนของฟังก์ชันรายได้
4. จงหารายได้หน่วยสุดท้ายที่ และ จงอธิบายผล
5. จงวาดรูปกราฟต้นทุนและรายได้และหาจุดตัดของกราฟ และอธิบายผล
6. จงหาฟังก์ชันก่าไรและโดเมนของฟังก์ชัน
7. จงหาก่าไรหน่วยสุดท้ายที่ และ จงอธิบายผล
1. เนื่องจาก
นั่นคือ หรือ
ดังนั้นโดเมนของราคาอุปสงค์คือ
2. ต้นทุนหน่วยสุดท้ายเท่ากับ เป็นค่าคงที่ นั่นหมายความว่า การผลิตเครื่องเล่น MP3
เพิ่มจะมีค่าใช้จา่ ยคงที่ ที่ 2 ยูโร ต่อชิ้น
3. รายได้ ที่บริษัทผู้ผลิตจะได้รับ ในการขายผลิตภัณฑ์จ่านวน ชิ้น ในราคา ยูโร คือ
ซึ่งราคาถูกก่าหนดโดยราคาอุปสงค์ ดังนั้นฟังก์ชันรายได้จะเป็น

และเนื่องจากโดเมนของฟังก์ชันราคาอุปสงค์คือ ดังนั้นโดเมนของฟังก์ชัน
รายได้เท่ากับ
4. รายได้หน่วยสุดท้าย คือ
ดังนั้นเมื่อผลิตสินค้าจ่านวน และ จะได้
และ
นั่นหมายความว่า ที่การผลิต และ ชิ้น การเปลี่ยนแปลงรายได้ต่อการ
เปลี่ยนแปลงหน่วยสินค้าในการผลิตคือ 6 ยูโร 0 ยูโรและ -4 ยูโร ตามล่าดับ นั่นคือ ที่ 2,000 ชิ้น
รายได้จะเพิ่มขึ้นเมื่อมีการผลิตเพิ่มขึ้น ที่ 5,000 ชิ้น รายได้จะไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อการผลิตเพิ่ม และ
ที่ 7,000 ชิ้น รายได้จะลดลงเมื่อมีการผลิตเพิ่มขึ้น
5. จุดตัดของกราฟรายได้และกราฟต้นทุนคือ Break-Even Points หรือ จุดคุ้มทุน ส่าหรับฟังก์ชัน
รายได้และฟังก์ชันต้นทุนในตัวอย่างนี้จะได้ว่า

และ
ดังนั้นที่จุดคุ้มทุน และ เป็นจุดคุ้มทุน จากรูปกราฟจะเห็นว่า
ระหว่าง 0 ถึง 1000 ค่าใช้จ่ายส่าหรับต้นทุนจะสูงกว่ารายได้ เช่นเดียวกับช่วงที่มีการผลิต-ขาย
มากกว่า 7000 และช่วงที่มีรายได้มากกว่าต้นทุนคือ การผลิตระหว่าง 1000 กับ 7000 ชิ้น

6. ฟังก์ชันก่าไร คือ

โดเมนของฟังก์ชันต้นทุนคือ และโดเมนของฟังก์ชันรายได้คือ ดังนั้น


โดเมนของฟังก์ชันก่าไรคือ จากรูปกราฟ จะสังเกตได้ว่า จุดที่เป็นจุดคุ้มทุน
ในกราฟก่อนหน้า ก็คือจุดตัดแกน ของกราฟก่าไร นั่นคือ เมื่อรายได้สูงกว่าต้นทุน กราฟก่าไรก็
จะเป็นบวก และเมื่อรายได้น้อยกว่าต้นทุน กราฟก่าไรจะมีค่าเป็นลบนั่นเอง
7. ก่าไรหน่วยสุดท้าย คือ

ส่าหรับการผลิตที่ 1,000 ชิ้น 4,000 ชิ้น และ 6,000 ชิ้น เราได้


และ

นั่นหมายความว่า การผลิตที่ 1,000 ชิ้น 4,000 ชิ้น และ 6,000 ชิ้น มีการเปลี่ยนแปลงก่าไรต่อหน่วย
เทียบกับการเปลี่ยนแปลงจ่านวนการผลิตอยู่ที่ 6 ยูโร 0 ยูโร และ -4 ยูโร ตามล่าดับ นั่นคือ ที่ 1,000
ชิ้น ก่าไรจะเพิ่มขึ้นเมื่อมีการผลิตเพิ่มขึ้น ที่ 4,000 ชิ้น ก่าไรจะไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อการผลิตเพิ่ม
และที่ 7,000 ชิ้น ก่าไรจะลดลงเมื่อมีการผลิตเพิ่มขึ้น

4.5.2 ต้นทุนเฉลี่ยส่วนเพิ่ม รายได้เฉลี่ยส่วนเพิ่ม และก่าไรเฉลี่ยส่วนเพิ่ม


(Marginal Average Cost, Revenue and Profit)
Marginal Average Cost, Revenue and Profit
ถ้าให้ คือจ่านวนหน่วยของสิ้นค้าที่ผลิตในช่วงเวลาหนึ่ง

ต้นทุนต่อหน่วย ต้นทุนเฉลี่ย Average Cost (AC)

ต้นทุนเฉลี่ยหน่วยสุดท้าย Marginal Average Cost (MAC)

รายได้ต่อหน่วย รายได้เฉลี่ย Average Revenue (AR)

รายได้เฉลี่ยหน่วยสุดท้าย Marginal Average Revenue (MAR)

ก่าไรต่อหน่วย ก่าไรเฉลี่ย Average Profit (AP)

ก่าไรเฉลี่ยหน่วยสุดท้าย Marginal Average Profit (MAP)

ตัวอย่าง 4.21 โรงงานผลิตดอกสว่านที่ใช้ในอุตสาหกรรมปิโตรเลียม มีต้นทุนการผลิตดอกสว่านต่อ


วันอยู่ที่ ดอลลาร์
ก. จงหา และ
ข. จงหา และ และจงอธิบายผล
ค. จงใช้ผลในข้อ ข. ประมาณค่าต้นทุนเฉลี่ยต่อการผลิตดอกสว่าน ที่การผลิตระดับ 11 ดอกต่อวัน
ก. (AC function)
(MAC function)
ข. ดอลลาร์
ดอลลาร์
ที่การผลิตดอกสว่าน 10 ดอกต่อวัน ค่าเฉลี่ยของต้นทุนการผลิตต่อชิ้นอยู่ที่ 124 ดอลลาร์ และ
ต้นทุนนี้จะลดลงในอัตรา 10.10 ดอลลาร์เมื่อมีการผลิตเพิ่มขึ้นแต่ละชิ้น
ค. ถ้าการผลิตเพิ่มขึ้น 1 ชิ้น ค่าเฉลี่ยของต้นทุนจะลดลง 10.10 ดอลลาร์ ดังนั้น เมื่อมีการผลิตชิ้นที่ 11
ก็จะท่าให้ค่าเฉลี่ยต่อชิ้นของดอกสว่านเป็น ดอลลาร์

ลองเปรียบเทียบ 2 ตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง 4.22 บริษัทผลิตระบบเกียร์รถยนต์ มีค่าใช้จ่ายในการผลิตระบบเกียร์ต่อสัปดาห์เป็น


จงหา
ก. ฟังก์ชันต้นทุนหน่วยสุดท้าย
ข. จงหา และอธิบายผลที่ได้
ค. จงหาราคาที่แท้จริงในการผลิตระบบเกียร์ชิ้นที่ 201 จงอธิบายผลเทียบกับผลที่ได้ในข้อ ข.
ก.
ข. ในการผลิตระบบเกียร์ที่ระดับ 200 ต้นทุนรวมจะเพิ่มขึ้นในอัตรา 300 ดอลลาร์
ต่อชิ้น ดังนั้น ค่าประมาณของการผลิตระบบเกียร์ชิ้นที่ 201 คือ 300 ดอลลาร์
ค. ซึ่งจะเห็นว่า ต้นทุนหน่วยสุดท้ายในข้อ ข. จะให้ค่าประมาณที่
ใกล้เคียงกับต้นทุนจริงในการผลิตระบบเกียร์ชิ้นที่ 201

ตัวอย่าง 4.23 จงพิจารณาฟังก์ชันต้นทุนสุทธิของการผลิตเครื่องเล่น MP3 ในตัวอย่าง 4.20

ก. จงหา และ
ข. จงหา และ และอธิบายผลที่ได้
ค. จงใช้ผลในข้อ ข. ประมาณค่าต้นทุนเฉลี่ยต่อการผลิตเครื่องเล่น MP3 ที่การผลิตที่ระดับ 101
ชิ้นต่อวัน
ก. และ
ข. และ อธิบายได้ว่า ที่การผลิตเครื่องเล่น MP3 ในระดับ 100
ชิ้น มีต้นทุนเฉลี่ยต่อชิ้นเท่ากับ 72 ดอลลาร์ และต้นทุนเฉลี่ยนี้จะลดลงในอัตรา 0.70 ดอลลาร์ต่อ
การผลิตแต่ละชิ้นต่อไป
ค. มีค่าประมาณ ดอลลาร์

You might also like