Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 29

ปฏิบัติการที่ 2

การทดลองการไหลของน้ำในระบบท่อ
(Test of flow in pipe)

จัดทำโดย
นางสาวรัตยาภรณ์ คำสุขขา 6180100021
นายคณิศร เรืองฉาย 6180100071
นายชลทิตย์ ณ ป้ อมเพ็ชร์
6180100233
นายดนุสรณ์ อุ่นจิตสกุล
6180100314
นางสาวสิวนารถ อยู่นาน 6180100641
เสนอ
อาจารย์กัญญา อินทร์เกลีย
้ ง

รายงานนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา 01209312


Laboratory for Fluid Mechanics
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2562
วิทยาลัยการชลประทาน

คำนำ
รายงานฉบับ นีเ้ ป็ นส่ว นหนึ่ง ของรายวิช า Laboratory for
Fluid Mechanics (01209312) โ ด ย ม ีจ ุด ป ร ะ ส ง ค ์ เ พ ่ อ
ื ศ ึก ษ า
หาความรู้ท ี่ไ ด้จ ากปฏิบ ัต ิก ารที่ 2 การทดลองการไหลของน้ำใน
ระบบท่อ (Test of flow in pipe) เพื่อ ศึก ษาพฤติก รรมการไหล
ของน้ำผ่า นท่อ การหาพลัง งานสูญ เสีย (headloss, hf) ความ
สัมพันธ์ระหว่างพลังงานสูญเสีย (hf) กับอัตราการไหลของน้ำในท่อ
(Q) และความสัม พัน ธ์ร ะหว่า งความเร็ว น้ำในท่อ (V) กับ ค่า
สัมประสิทธิแ์ รงเสียดทานภายในท่อ (f)
ในรายงานประกอบด้วยทฤษฎี เนื้อหา อุปกรณ์การทดลอง
ขึน
้ ตอนการทดลองพร้อมภาพประกอบ รวมถึงผลการทดลอง สรุป
ผลการทดลอง
ผู้จัดทำหวังว่ารายงานฉบับนีจ
้ ะให้ความรู้ และเป็ นประโยชน์
แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่าน หากมีข้อเสนอแนะประการใดก็ข อรับไว้ด ้วย
ความขอบพระคุณ ยิ่ง และถ้า หากรายงานฉบับ นีม
้ ีข ้อ ผิด พลาด
ประการใดผู้จัดทำต้องขออภัยไว้ ณ ที่นด
ี ้ ้วย

คณะผู้จัดทำ

สารบัญ
เรื่อง

หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
ปฏิบัติการที่ 2 การทดลองการไหลของน้ำในระบบท่อ (Test of
flow in pipe)
1. วัตถุประสงค์ 1
2. ทฤษฎี 1
3. เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง 7
4. วิธีการทดลอง 7
5. ตัวอย่างการคำนวณ 9
6. ผลการทดลอง 11
7. สรุปผลการทดลอง 15
8. ปั ญหาและข้อเสนอแนะ 15
ภาคผนวก 16
1

ปฏิบัตก
ิ ารที่ 2
ทดลองการไหลของน้ำในระบบท่อ
(Pipe Network)
1. วัตถุประสงค์ของการทดลอง
เพื่อศึกษาพฤติกรรมการไหลของน้ำผ่านท่อ ดังนี ้
1. หาพลัง งานสูญ เสีย (head loss,hf) ของการไหลของน้ำ
จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
2. หาความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานสูญเสีย (hf) กับอัตราการ
ไหลของน้ำในท่อ (Q)
3. หาความสัม พัน ธ์ร ะหว่า งความเร็ว น ้ำในท่อ (V)กับ ค่า
สัมประสิทธิแ์ รงเสียดทานภายในท่อ (f)
2. ทฤษฎี
เมื่อของไหลไหลผ่านท่อจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งจะมีการ
สูญเสียพลังงานไปส่วนหนึ่ง ซึ่งพลังงานส่วนที่เสียไปนี ้ คือพลังงานที่
ใช้หักลบกับความเสียดทานในท่อระหว่างจุดสองจุดนัน

การไหลในท่อส่วนใหญ่เป็ นการไหลแบบเต็มท่อ ซึ่งกฎเกณฑ์
ในการคำนวณแตกต่างจากการไหลนางน้ำปิ ด ลักษณะการไหลใน
ท่ออาจจะจำแนกออกได้โดยพิจารณาจาก
1.การเปลี่ยนแปลงความเร็วของการไหลเทียบกับเวลา, สถาน
ที่
2.การเปลี่ยนแปลงความเร็วของการไหลเทียบกับแรงเฉื่อยกับ
แรงหนืด
2

1. ลักษณะการไหลในท่อ เมื่อจำแนกพิจาณาตามการเปลี่ยนแปลง
ความเร็วเทียบกับเวลาและสถานที่ มีดังนี ้
1.1 การไหลแบบ Steady Flow คือ การไหลที่ม ีค วามเร็ว
ของการไหลที่จุดใดจุดหนึ่งไม่
เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา
1.2 การไหลแบบ Unsteady Flow คือ การไหลที่มีความเร็ว
ของการไหลที่จุดใดจุดหนึ่ง
เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา
1.3 การไหลแบบ Uniform Flow คือ การไหลที่มีค วามเร็ว
ของการไหลขณะใดขณะหนึ่งไม่
เปลี่ยนแปลงทัง้ ขนาดและทิศทางตลอดระยะทางการไหล
1.4 การไ หลแบบ Non-Uniform Flow คือ การไ หล ที่ม ี
ความเร็วของการไหลขณะใด
ขณะหนึ่งเปลี่ยนแปลงทัง้ ขนาดและทิศ ทางตลอดระยะ
เวลาการไหล
2. ลัก ษณะการไหลในท่อ เมื่อ พิจ ารณาจากการเปลี่ย นแปลง
ความเร็ว เมื่อเทียบกับแรงเฉื่อยและแรงหนืดซึ่งเป็ นลักษณะสำคัญ
ของการไหลในท่อ มี 2 แบบ คือ
1. การไหลแบบเอื่อย (Laminar Flow) คือ การไหลที่มี
อนุภาคของของไหลจะไหลเป็ นทาง
ขนานกันและขนานกับท่อ (แรงหนืดมีค่าสูงกว่าแรงเฉื่อย)
2. การไหลแบบปั่ นป่ วน (Turbulent Flow) คือ การไหลที่มี
อนุภาคของของไหลจะไหลอย่าง สับ สน แต่ท ิศ ทางของการ
3

เคลื่อนเฉลี่ยของการไหลทัง้ หมดก็ยังขนานไปกับท่อ ฉะนัน



ลักษณะการไหลแบบนีจ
้ ะสูญเสียพลังงานมาก

การไหลทัง้ ส อง นีก
้ ำหนดไ ด้ด ้ว ยค ่า เรโนลด์ (Reynolds
Number , Re) กล่าวคือ ถ้าค่าเรโนลด์น้อยกว่า 2000 (Re<2000)
การไหลนีเ้ ป็ นการไหลแบบ Laminar Flow แต่ถ้าการไหลใดมีค่าเร
โนลด์มากกว่า 4000 (Re>4000) การไหลนัน
้ เป็ นแบบ Turbulent
Flow ส่วนการไหลใดๆมมีค ่าเรโนลด์อยู่ระหว่าง 2000 และ 4000
(2000<Re<4000) การไหลแบบนัน
้ เป็ นการไหลแบบแปรเปลี่ย น
Transition Flow

การสูญเสียพลังงาน
การสูญเสียพลังงานในท่อมี 2 แบบ คือ
1) การสูญเสียหลัก (Major losses)
2) การสูญเสียรอง (Minor losses)
 การสูญเสียหลัก คือ การสูญเสียที่เกิดจากแรงเสียดทาน
เนื่องจากความหนืดของของไหล
และแรงเสียดทานที่เกิดขึน
้ ระหว่างของไหลกับผนังท่อ ซึ่งเป็ นการ
สูญเสียที่เกิดขึน
้ ในเส้นท่อ การสูญเสียพลังงานของการไหลในท่อขึน

อยู่กับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางความยาวท่อ ความขรุขระของผนัง
ท่อ ความหนืดของของไหล และความเร็วในการไหล
4

การสูญเสียพลังงานของของไหลในท่อเนื่องจากแรงเสียดทาน
สามารถ อธิบายได้
ด้วย สมการ
ของแบนู ลี

(Bernoulli Equation) ดังนี ้

รูปที่ 1 Friction Loss in Pipe


จากรูป ที่ 1 ใช้ส มการของ Bernoulli เมื่อ น้ำไหลผ่า นท่อ
ระหว่างจุดที่ 1 และจุดที่ 2 จะได้
2 2
v 1 P1 v2 P2
+ + Z1 = + + Z2 + energy loss (1)
2g γ 2g γ
5

เนื่อ งจากท่อ วางอยู่ใ นแนวราบ และมีเ ส้น ผ่า นศูน ย์ก ลาง
สม่ำเสมอ
Q
Z1 = Z2 และ V1 = V2 (จาก A )
P1 P2
ดังนัน
้ การสูญเสียพลังงาน (Energy loss) = γ - γ

กำหนดให้การสูญเสียพลังงาน แทนด้วย hf
P 1−P2
hf = γ

(2)

โดยที่ P1 , P2 คือ ความดันของของไหลในท่อจุดที่ 1 และ 2


ตามลำดับ
γ คือ น้ำหนักจำเพาะของไหล , γ =ρg

การสูญเสียพลังงานเนื่องจากแรงเสียดทาน (Friction loss) การ


สูญเสียพลังงานเนื่องจากแรงเสียดทานในเส้นท่อตรง (hf) คำนวณ
ได้จากสูตรของ Darcy-Welsbach คือ
2
L V
h f =f ∙ ∙
D 2g (3)

โดยที่ hf คือ การสูญ เสีย พลัง งานเนื่อ งจากแรงเสีย ดทาน บอก


เป็ นความสูงของของเหลว (m.)
f ค ือ ส ัม ป ร ะ ส ิท ธ ิข์ อ ง แ ร ง เ ส ีย ด ท า น (Friction
Coefficient)
L คือ ความยาวท่อ (m.)
6

D คือ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายในท่อ (m.)


V คือ ความเร็วของการไหลในท่อ (m/s)
2
g คือ ควาเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก (m/s )

ค่า f จะขึน
้ อยู่กับ
1. คุณสมบัติของท่อ เช่น วัสดุที่ใช้ทำท่อ ขนาดของท่อ
2. ลัก ษณะการไหลของของไหลเป็ นแบบ Laminar Flow
หรือ Turbulent Flow
สัมประสิทธิข์ องแรงเสียดทานหาได้จาก
1. กรณีที่เป็ นการไหลแบบ Laminar Flow ได้จากสูตร
64
f= ℜ (4)
2. กรณีที่เ ป็ นการไหลแบบ Turbulent Flow ผนัง ท่อ เรีย บ
จากสูตร
1 ℜ
= 2log (( )¿ √ f ) ¿ (5)
√f 2.51

3. กรณีที่เป็ นการไหลแบบ Turbulent Flow ผนังท่อขรุขระ


มาก
1
√f
= 2log (3.7D
ε ) (6)

4. กรณีท ี่เ ป็ นการไหลแบบ Turbulent Flow ผนัง ท่อ เรีย บ

และขรุขระ
1
√f
= -2 log
ε
(( ) ( ))
3.7D
+
2.51
Re √ f (7)
7

การคำนวณหา f ของการไหลแบบ Turbulent Flow ทัง้ 3


สูตรยุ่งยากมาก จึงนิยมหาค่า f จาก Moody Diagram ดังรูปที่ 2
โดยใช้ร่วมกับค่าความขรุข ระของผนังท่อ(ε) ในกรณีที่เป็ นท่อใหม่
สำหรับค่าความขรุขระของท่อเมื่อใช้งานไปนานๆ ค่าความขรุขระ
จะมากขึน
้ คำนวณหาได้จากสูตร

ε = ε0 + αt
โดยที่ ε คือ ความขรุขระของท่อ เมื่ออายุใช้งาน t ปี
ε0 คือ ความขรุขระของท่อ เมื่อเริ่มใช้งาน
α คือ สัมประสิทธิ ์ มีค่าอยู่ระหว่าง 0.0002-0.0007
 การสูญเสียรอง (Minor Losses)
การสูญเสียรอง (Minor Losses) คือ การสูญเสียอันเนื่องมา
จากส่วนประกอบของท่อ เช่น ข้องอ ข้อต่อ ประตูน้ำ ข้อลด และ
ข้อ ขยาย เป็ นต้น ขนาดของการสูญ เสีย รองนีข
้ น
ึ ้ อยู่ก ับ ชนิด และ
จำนวนอุปกรณ์ประกอบท่อ ซึ่งมีค่าไม่มากนักเมื่อเทียบกับการสูญ
เสียหลักในกรณีที่มีการต่อท่อที่ยาวมากๆ โดยทั่วไปแล้วการสูญเสีย
รองจะเป็ นปฏิภาคโดยตรงกับหัวความเร็ว ดังสมการ
2
v
h m=K
2g

เมื่อ hm คือ การสูญเสียรอง


K คือ ค่าคงที่ ซึง่ หาได้จากการทดลองหรือการ
วิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์
สำหรับการสูญเสียรองที่มักจะพบในงานระบบท่อ
V คือ ความเร็วกระแสน้ำในท่อ
8

ตารางที่ 1 ความขรุขระเฉลี่ยของผนังท่อใหม่

ชนิดของท่อ เป็ น ฟุต เป็ น มม.


ท่อแก้ว ท่อรีดจากทองเหลือง ทองแดง -6
5×10 0.0015
และตะกั่วท่อเรียบ ท่อ PVC
-4
ท่อเหล็กเหนียว 1.5×10 0.045
-4
ท่อเหล็กหล่ออาบยางมะตอย 0.4×10 0.120
-4
ท่อเหล็กชุบสังกะสี 5.0×10 0.150
-4
ท่อเหล็กหล่อธรรมดา 8.5×10 0.260
-4
ท่อไม้ 2.0×10 0.610
-3
ท่อคอนกรีต 4.0×10 1.220
-3
ท่อเหล็กม้วนต่อด้วยหมุดย้ำ 6.0×10 1.830
ท่อโลหะลูกฟูก 0.10-0.20 30.0-60.0
อุโมงค์ขนาดใหญ่ดาดด้วยคอนกรีต 0.002-
0.60-1.20
หรือเหล็ก 0.004
อุโมงค์ที่เจาะด้วยการระเบิดหิน 1.0-2.0 300-600
9
10
11

รูปที่ 2 Moody Diagram สำหรับหาค่า


12

3. เครื่องมือและอุปกรณ์การทดลอง ดังรูปที่ 3 ประกอบด้วย


1. เครื่องสูบน้ำแบบหอยโข่ง
2. ถังเก็บน้ำ
3. มาโนมิเตอร์
4. อุปกรณ์วัดอัตราการไหลของน้ำแบบ Rota Meter
5. ชุด ท่อทดลอง
ประกอบ
ด้วย
 ท่อ PVC
ขนาดเส้น
ผ่า
ศูนย์กลาง
ภายใน ¾ นิว้ ( 1.9 ซม. )
 ท่อ PVC ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายใน ½ นิว้ ( 1.27
ซม. )
 ท่อเหล็กขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายใน ½ นิว้ ( 1.27
ซม. )
13

รูปที่ 4

4. วิธีการทดลอง
1. ติดตัง้ มาโนมิเตอร์ ( Manometer) กับท่อดังรูปที่ 4
2. เดินเครื่องสูบน้ำ
3. ทดลองท่อขนาด 1.91 ซม. ก่อน (PVC)
4. เปิ ดวาล์วให้น้ำไหลผ่านท่อช่วงที่ทดลองยาว , L = 125 cm.
โดยปิ ดวาล์วท่อที่เหลือไม่ให้น้ำไหลผ่าน
5. เมื่อน้ำไหลอัตราคงที่แล้ว วัดความแตกต่างระดับน้ำในสายยาง
มาโนมิเตอร์, hf (cm)
6. วัดปริมาณน้ำโดยใช้ Rota Meter (ลิตร/นาที)
7. ปรับวาล์วให้น้ำไหลในท่อได้มากขึน
้ หรือน้อยลง แล้วทดลองตาม
ข้อ 5 และ 6 ให้ได้ข้อมูลหลายๆค่า
8. เมื่อทดลองท่อขนาด 1.91 cm. แล้ว ก็ทดลองท่อขนาด 1.27
cm. (Steel) และ 1.27 cm. (PVC) ตามลำดับ ตามข้อ 4 ถึงข้อ
7
14

ถังน้ำ

รูปที่ 3 PIPING L
TEST SET
15

5. ตัวอย่างการคำนวณ

1. คำนวณอัตราการไหลในท่อ , Q วัดจาก Rota Meter


Q = 10 L/min
3
10 x 1000 cm 3
Q= 60 s = 166.67 cm /s

2. คำนวณความเร็วน้ำในท่อ , V
Q
V=
A

2
A = พื้นที่หน้าตัดการไหลของท่อที่ทดลอง (cm )
Π ⅆ2 Π (1.91)2 2
A= 4 = 4 = 2.87 cm
166.67
V= 2.87 = 58.07 cm/s

3. คำนวณ Reynolds Number, Re


VD
Re =
v

V = ความเร็วกระแสน้ำ (cm/s)
D = เส้นผ่าศูนย์กลางภายในท่อ (cm)
2
v = Kinematic Viscosity ของของไหล (cm /s)
58.07 x 1.91 3
Re = 1.004 x 10−2 = 11.05 x 10

4. คำนวณค่า Friction Factor , f

กรณีที่ 1 Re < 2000 Laminar Flow


64
f=

16

กรณีที่ 2 Re > 4000 Turbulent Flow


2

คำนวณจากสูตร hf = f L V
D 2g
2 gD
f= h
2 f
LV

(ผลการทดลองส่วนใหญ่ Re จะมากกว่า 4000 ซึง่ เป็ นการ


ไหลแบบ Turbulent Flow)
2 ( 9.81 ) ( 1.91 ) -3
f= 2
(0.7) = 6.22 x 10
( 1.25 )( 58.07 )
17

6. ผลการทดลอง
DATA SHEET
Friction Loss in Pipeline
๐ 3 3
Water 20 C, Density ( ρ ) = 0.99829 g/cm ≈ 1,000 kg/m
-3 -3
Dynamic viscosity (µ) = 10.02 x 10 g/cm.s = 1.002 x 10
kg
s
m
-2 2 -6
Kinematic viscosity (v) = 1.004 x 10 cm /s = 1.004 x 10
2
m /s

1. Major losses การหาแรงเสียดทานในท่อ (Friction losses


in pipeline)

Pipe Area Test Q V Re hf f Remark


2 3 3 -3
dia. (cm ) No. (cm (cm/ x 10 (cm x 10
ID /s) s) )
(cm)
18

PVC 2.87 1 166. 58.0 11.0 0.7 6.22 hr : Major


1.91 67 7 5 Loss
L V2
2.87 2 250. 87.1 16.5 2.1 8.29 hf = f .
D 2g
00 1 7
2 gD
f= hf
2.87 3 333. 116. 22.0 4.3 9.56 LV 2

33 14 9
2.87 4 416. 145. 27.6 7.6 10.81
67 18 2
2.87 5 500. 174. 33.1 11. 11.36
00 22 4 5
Steel 1.27 1 166. 131. 16.6 4.1 4.74
1.72 67 23 0
1.27 2 250. 196. 24.9 12. 6.33
00 85 0 3
1.27 3 333. 262. 33.2 26. 7.73
33 46 0 7
1.27 4 416. 328. 41.5 52. 9.70
67 09 0 4
1.27 5 500. 393. 49.8 71. 13.22
00 70 0 4
PVC 1.27 1 166. 131. 16.6 2.0 2.31
1.27 67 23 0
1.27 2 250. 196. 24.9 5.3 2.73
19

00 85 0
1.27 3 333. 262. 33.2 11. 3.44
33 46 0 9
1.27 4 416. 328. 41.5 19. 3.67
67 09 0 8
1.27 5 500. 393. 49.8 27. 3.54
00 70 0 5

ผลการทดลองการไหลผ่านอุปกรณ์ท่อ

2. Minor losses

อุปกรณ์ท่อ Test Q V hm (m) k Remark


3
(m /s) (m/s)
-6
x 10
PVC ¾” 1 166.67 0.58 0.005 0.29 Minor Loss
2
V
2 250.00 0.87 0.009 0.23 hm = k
2g
3 333.33 1.16 0.021 0.31 2 g hm
4 416.67 1.45 0.036 0.34 K= V2

5 500.00 1.74 0.049 0.32


Elbow 1 166.67 0.58 0.007 0.35

90 ¾” 2 250.00 0.87 0.025 0.56
20

3 333.33 1.16 0.040 0.50


4 416.67 1.45 0.074 0.60
5 500.00 1.74 0.102 0.57
Elbow 1 166.67 0.58 0.005 0.29

45 ¾” 2 250.00 0.87 0.014 0.36
3 333.33 1.16 0.030 0.44
4 416.67 1.45 0.050 0.47
5 500.00 1.74 0.072 0.47
Elbow 1 166.67 0.58 0.003 0.17

90 x 2 2 250.00 0.87 0.012 0.31
¾” 3 333.33 1.16 0.024 0.35
4 416.67 1.45 0.037 0.35
5 500.00 1.74 0.054 0.35
Gate 1 166.67 0.58 0.004 0.23
value 2 250.00 0.87 0.013 0.34
3 333.33 1.16 0.034 0.50
4 416.67 1.45 0.043 0.40
5 500.00 1.74 0.079 0.51
ผลการทดลองการไหลผ่านอุปกรณ์ท่อ

อุปกรณ์ท่อ Test Q V hm (m) k Remark


3
(m /s) (m/s)
-6
x 10
Globe 1 83.335 0.29 0.008 1.87 Minor Loss
21

V2
value 2 166.67 0.58 0.064 3.73 hm = k
2g
3 250.01 0.87 0.251 6.50
2 g hm
4 333.34 1.16 0.450 6.56 K= V2

5 416.68 1.45 0.739 6.90


Ball value 1 250.01 0.87 0.005 0.13
2 33.34 1.16 0.011 0.16
3 416.68 1.45 0.014 0.13
4 500.01 1.74 0.024 0.16
5 583.35 2.03 0.036 0.17
Check 1 166.67 0.58 0.006 0.35
value 2 333.34 1.16 0.056 0.82
3 500.01 1.74 0.128 0.83
4 666.68 2.32 0.286 1.04
5 750.02 2.61 0.373 1.07
22

1. Plot หาความสัมพันธ์ระหว่าง hf กับ Q

ั ันธ์ระหว่าง hf ก ับ Q
กราฟแสดงความสมพ
600

500

400
Q (cm3/s)

300 PVC 1.91


Steel 1.27
PVC 1.27
200

100

0
0 10 20 30 40 50 60 70 80

hf (cm)

2. Plot หาความสัมพันธ์ระหว่าง f กับ V

ั ันธ์ระหว่าง f ก ับ V
กราฟแสดงความสมพ
450

400

350

300
V (cm/s)

250 PVC 1.91


Steel 1.27
200 PVC 1.27
150

100

50

0
0 2 4 6 8 10 12 14

f x 10-3
23

7. สรุปผลการทดลอง
จากผลการทดลอง ได้ว่า
- PVC 1.91 มีค่า hf เฉลี่ย 5.24 cm.
- Steel 1.27 มีค่า hf เฉลี่ย 33.38 cm.
- PVC 1.27 มีค่า hf เฉลี่ย 13.30 cm.
- PVC ¾" มีค่า hm เฉลี่ย 2.40 cm.
- Elbow90°¾" มีค่า hm เฉลี่ย 4.96 cm.
- Elbow45°¾" มีค่า hm เฉลี่ย 3.42 cm.
- Elbow90°×2¾" มีค่า hm เฉลี่ย 2.60 cm.
- Gate value มีค่า hm เฉลี่ย 3.46 cm.
- Globe value มีค่า hm เฉลี่ย 30.24 cm.
- Ball value มีค่า hm เฉลี่ย 1.80 cm.
- Check value มีค่า hm เฉลี่ย 16.98 cm.

ถ้าจะนำไปใช้งาน ควรใช้ท่อที่มี loss น้อยๆ เช่น ท่อ PVC


1.91 ที่มีค่า hf เฉลี่ย 5.24 cm.

8. ปั ญหาและข้อเสนอแนะ

ในการทดลอง ผู้ท ำการทดลองควรมีค วามรู้ค วามเข้า ใจ มี


ความระมัดระวังในการใช้อุปกรณ์เครื่องมือและตรวจสอบอุปกรณ์
24

ให้พร้อมสำหรับการใช้งาน เนื่องจากเครื่องมือมีราคาแพง มีความ


ซับซ้อนมากและผ่านการใช้งานมาพอสมควร

ภาคผนวก
25

You might also like