การหมุน

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 40

177

บทที่ 8
การหมุน
การเคลื่อนทีข่ องวัตถุตามสภาพจริง
ค่อนข้างซับซ้อน เนื่องเพราะขณะเคลื่อนทีว่ ตั ถุ
อาจเปลีย่ นแปลงรูปร่างได้ ตัวอย่างเช่น ยุบ แตก
และร้าว ฯลฯ หรืออาจจะหมุนและเคลื่อนย้าย
ตาแหน่งไปพร้อมกัน บททีผ่ ่านมาเราพยายามลด
ขนาดของวัตถุให้เป็ นเพียงจุด เพื่อหลีกเลีย่ งผล
เหล่านี้
สาหรับบทนี้เราจะเริม่ ต้นอธิบาย
การหมุนและการเลื่อนตาแหน่ง อย่างไรก็ตามยัง
จากัดไม่ให้วตั ถุเปลีย่ นรูปร่างขณะเคลื่อนที่ ซึง่
เราเรียกวัตถุแบบนี้ว่า วัตถุแข็งเกร็ง พร้อมกับ
เพิม่ แนวคิดใหม่ เช่น ทอร์ค, โมเมนต์ความ
เฉื่อย และโมเมนตัมเชิงมุม

ไจโรสโคปเป็ นอุปกรณ์ทน่ี ่าพิศวงงงงวยเป็ นอย่างยิง่ เพราะการหมุนของมันค่อนข้าง


แปลก และคล้ายกับว่า มันท้าท้ายกับแรงโน้มถ่วงได้ คุณสมบัตอิ นั พิเศษนี้ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้
ตัง้ แต่รถจักรยาน จนถึงยานขนส่งอวกาศ เครื่องบินโดยสารทุกประเภทมีไจโรสโคป ไว้สาหรับทาเป็ นเข็ม
ทิศ และระบบนาร่องอัตโนมัติ สถานีอวกาศ Mir ของรัสเซีย ใช้ไจโรสโคปจานวน 11 อัน เพื่อบังคับให้
แผงโซลาร์เซลล์หนั ไปในทิศทางเดียวกับดวงอาทิตย์ตลอดเวลา การหมุนแบบไจโร จะเกิดกับมวลทุกชนิด
ในโลกทีม่ กี ารหมุน ฟิสกิ ส์ราชมงคลจะไขปริศนานี้ให้ โดยจะโยงให้คุณได้ทราบเหตุและผลทีเ่ กิดจากการ
หมุนแบบนี้ ซึง่ จะทาให้คุณยิง่ มหัศจรรย์เพิม่ ขึน้ ไปอีก เพราะการประยุกต์ของไจโรมีมากมายนับไม่
ถ้วน ทัง้ ๆ ทีค่ วามรูพ้ น้ื ฐานนัน้ ง่ายแสนจะง่าย กดทีน่ ่เี พื่อดูรายละเอียดทัง้ หมด

วีดีโอเพื่อการศึกษา

ดูวดี โี อการควงของล้อจักรยาน เป็ น


เวลา 30 วินาที คลิกทีน่ ่ีครับ

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
178

8-1 ความเร็วเชิ งมุม______________________________________________

รูป 8-1 a) เวลาเปิ ดประตูทุกอนุภาคบนประตูจะมีความเร็ว และความเร่งเชิงมุม


เท่ากัน แต่ความเร็วและความเร่งเชิงเส้นแตกต่างกันขึน้ อยู่กบั ระยะที่
ห่างจากแกนหมุน
b) ภาพด้านบนของบานประตู จุด P ห่างจากจุดหมุนเท่ากับ R เคลื่อนที่
เป็ นส่วนโค้งของวงกลม S

พิจารณาวัตถุแข็งเกร็งหมุนรอบจุดคงทีห่ นึ่ง ดังรูป 8-1 เวลาเปิ ดบานประตู OP คือแนวเส้นบน


ขอบประตูทเ่ี ราจะศึกษาการเคลื่อนที่  คือมุมทีท่ ากับระดับมีหน่วยเป็ นเรเดียน เรเดียนคือ ส่วนโค้งของ
วงกลมหารด้วยรัศมี ดังนัน้ 1 เรเดียน (rad) คือส่วนโค้งของวงกลม (S) ทีม่ ขี นาดเท่ากับรัศมี

2  rad (1 รอบ) = 360o


360 o
1 rad = = 57.3o
2
360o = 2 rad = 6.28 rad
180o =  rad = 3.14 rad

90o = rad = 1.57 rad
2

60o = rad = 1.05 rad
3

45o = rad = 0.79 rad
4

รูป 8-2 R กับ S สามารถเขียนเป็ นความสัมพันธ์ได้ดงั นี้ S = R

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
179

 มีช่อื เรียกเฉพาะว่า ตาแหน่ งเชิ งมุม (Angular position)  มีเครื่องหมายเป็ นบวกเมื่อวัด


ทวนเข็มนาฬิกา และเป็ นลบเมื่อวัดตามเข็มนาฬิกา
จากนิยามของตาแหน่งเชิงมุม
S
 = ; S = R ................... (8-1)
R
ถ้า  = 2 rad ก็แสดงว่า S คือเส้นรอบวงของวงกลม

เรเดียนเป็ นอัตราส่วนระหว่างความยาวต่อความยาว ดังนัน้ จึงไม่มหี น่วย ถ้า S = 1.5 m และ


R = 1 m จะได้มุม  = 1.5 rad นิยมเขียน  = 1.5 ไม่ตอ้ งมีหน่วยกากับก็เข้าใจ

รูป 8-3 ระยะกระจัดเชิงมุม  ของวัตถุทก่ี าลังหมุน


การหมุนสามารถอธิบายได้ดว้ ยอัตราการเปลีย่ นระยะกระจัดต่อเวลา ดังรูป 8-3 ให้เวลา t
ตาแหน่งเชิงมุมของแนวเส้น OP อยู่ท่ี 1 วัดจากแกน OX เวลาผ่านไปเป็ น t2 ตาแหน่งเชิงมุมของแนวเส้น
OP อยู่ท่ี 2 ความเร็วเชิงมุมเฉลีย่ จะเป็ น
 2  1 
av = 
t 2  t1 t

ความเร็วเชิงมุมชัวขณะ
่ เป็ น
 d
 = im  ................... (8-2)
t0 t dt

หน่วยของความเร็วเชิงมุม คือ เรเดียนต่อวินาที ( 1 rad s-1 หรือ 1 s-1) บางครัง้ นิยมใช้รอบ


ต่อนาที (revmin-1) rev เป็ นตัวย่อของ revolution
1 revs-1 = 2 rads-1 และ
1 revmin-1 = 1 rpm = (2/60) rads-1

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
180

8-2 ความเร่งเชิ งมุม______________________________________________


ถ้าความเร็วเชิงมุมไม่คงที่ แสดงว่าอนุภาคมีความเร่งเชิงมุม
ให้ 1 และ 2 เป็ นความเร็วเชิงมุมชัวขณะที
่ เ่ วลา t1 และ t2
ความเร่งเชิงมุมเฉลีย่ จะเป็ น
2  1 
av = 
t 2  t1 t

ความเร่งเชิงมุมชัวขณะจะเป็
่ น
 d
 = im  ................... (8-3)
t0 t dt

หน่วยของความเร่งเชิงมุม คือ เรเดียนต่อวินาที2 (1 rads -2 หรือ 1 s-2)


d
เพราะ  = ความเร่งเชิงมุมจึงสามารถเขียนอยู่ในรูปของอนุพนั ธ์อนั ดับทีส่ องได้เป็ น
dt
d d d2
 = = ................... (8-4)
dt dt dt 2
เปรียบเทียบกับการเคลื่อนทีเ่ ชิงเส้น
 คือตาแหน่งเชิงมุม x คือระยะกระจัดเชิงเส้น
 คือความเร็วเชิงมุม เปรียบเทียบกับ v คือความเร็วเชิงเส้น
 คือความเร่งเชิงมุม a คือความเร่งเชิงเส้น

8-3 การหมุนด้วยความเร่งเชิ งมุมคงที่_______________________________


เราสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่างระยะกระจัดเชิงมุม อัตราเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุมได้
ในกรณีทค่ี วามเร่งเชิงมุมคงที่ โดยใช้วธิ เี ดียวกันกับการหาความสัมพันธ์ระหว่างระยะกระจัดเชิงเส้น
ความเร็วเชิงเส้น และความเร่งเชิงเส้นในกรณีทค่ี วามเร่งคงที่ ดังทีไ่ ด้วเิ คราะห์มาแล้วในบทที่ 2
d
=  = คงที่
dt

อินทิเกรตจะได้  d =  dt ,  = t + C1
C1 เป็ นค่าคงทีท่ ไ่ี ด้จากอินทิเกรต
ให้เวลาเริม่ ต้น t = 0 อนุภาคมีความเร็วเชิงมุม 0 แทนค่าลงในสมการบน จะได้ C1 = 0
ดังนัน้  = 0 + t ................... (8-5)

d
แทน  = และอินทิเกรตอีกครัง้ จะได้
dt
1 2
 d =  0 dt +  tdt,  = 0t + t + C2
2

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
181

C2 เป็ นค่าคงทีท่ ไ่ี ด้จากการอินทิเกรต


ให้เวลาเริม่ ต้น t = 0 อนุภาคมีตาแหน่งเชิงมุม 0 แทนค่าลงในสมการบน จะได้ C2 = 0
1 2
ดังนัน้  = 0 + 0t + t ................... (8-6)
2

  0
จากสมการ (8-5) จะได้ t = แทนค่าลงไปในสมการ (8-6)

2 = 2

0  2   -  0  ................... (8-7)

ตาราง 8-1 เปรียบเทียบสูตรทีไ่ ด้จากสมการ (8-5) (8-6) และ (8-7) สาหรับการหมุนด้วยความเร่งเชิงมุม


คงที่ กับสูตรทีไ่ ด้จากการเคลื่อนทีเ่ ชิงเส้นทีม่ คี วามเร่งคงที่

ตาราง 8-1
การเคลื่อนทีเ่ ชิงเส้นทีม่ คี วามเร่งคงที่ การหมุนทีม่ คี วามเร่งเชิงมุมคงที่
a = คงที่  = คงที่
v = v0 + at  = 0 + t
1 1 2
x = x0 + v0 t + 2 at2  = 0 + 0t + 2 t
v2 = v 02  2a(x  x 0 ) 2 = 02  2(  0 )

ตัวอย่าง 8-1 ล้อจักรยานหมุนด้วยความเร่งเชิงมุมคงที่ 2 rads-2 ให้เวลาเริม่ ต้น t = 0 ซีล่ อ้ OP อยู่


ในแนวระดับ มีความเร็วเชิงมุม = 4 rad.s-1
ก) ณ เวลา t = 3.0 s ซีล่ อ้ จะทามุมกับแนวระดับเท่าไร
ข) ความเร็วเชิงมุม
หลักการคานวณ
ก) จากสมการ (8-6)
1 2
 = 0 + 0t + t
2
1
t = 3.0 s,  = 0 + (4.0 rad.s-1) (3.0 s) + (2.0 rads-2)(3.0 s)2
2
21
= 21 rad = รอบ = 3.34 รอบ
2

ซีล่ อ้ จะหมุนไป 3 รอบ บวกกับอีก 0.34 รอบ หรือ (0.34 รอบ)(2 radrev-1) = 2.15 rad = 123o

ข) จากสมการ (8-5)
 = 0 + t
t = 3.0 s , = 4.0 rads-1 + (2.0 rads-2)(3.0 s) = 10 rads-1

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
182

หรือใช้สมการ (8-7)
2 = 02  2  0 
= (4 rads-1)2 + 2(2 rads-2)(21 rad)
 =
2
100 rad2s-2
 = 10 rads-1
คาตอบเท่ากัน

บทความออนไลน์

เมื่อแมวตกลงจากทีส่ งู มันมีความสามารถทีจ่ ะลง


บนพืน้ โดยใช้เท้าได้ ทัง้ ๆทีต่ อนเริม่ ต้นตกมันหงายท้องเก๋ง
ลงมา การถ่ายภาพความเร็วสูงเป็ นช็อตๆ ในปจั จุบนั ช่วย
ให้เราเห็นขัน้ ตอนต่างๆ ขณะทีแ่ มวกาลังตกลงมาได้ อ่าน
ต่อครับ

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
183

8-4 ความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณเวกเตอร์ของการเคลื่อนที่เชิ งเส้นและการ


เคลื่อนที่เชิ งมุมของอนุภาคที่เคลื่อนที่เป็ นวงกลม____________________

รูป 8-4 S = r

a= r

P
a

r a= 2r

O x

รูป 8-5 ถ้าวัตถุหมุนด้วยความเร็วไม่สม่าเสมอรอบจุด O จะเกิดความเร่งขึน้ 2 แนวคือ


ความเร่งแนวสัมผัสทีจ่ ุด P = r ; และแนวตัง้ ฉาก = 2r

จุด P ห่างจากจุดหมุนเป็ นระยะ r เคลื่อนทีเ่ ป็ นวงกลม โดยมีตาแหน่งกระจัดเชิงมุมเริม่ ต้น


เท่ากับ  เพิม่ ขึน้ เป็ น  ในช่วงเวลา t อนุภาคทีจ่ ุด P จะเคลื่อนทีเ่ ป็ นส่วนโค้งของวงกลม s = r
อัตราเร็วเฉลีย่ ของอนุภาคหาได้จาก
s 
vav = = r .................. (8-8)
t t

ให้ t เข้าใกล้ศนู ย์ จะได้


d
v = r = r .................. (8-9)
dt

ความเร็ว v สัมผัสกับเส้นทางการเคลื่อนที่
ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วของอนุภาคทีเ่ ปลีย่ นไป v กับความเร็วเชิงมุมทีเ่ ปลีย่ นไป
  เขียนได้ดงั นี้
v = r

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
184

v 
หาร t ทัง้ 2 ข้าง = r
t t
ให้ t เข้าใกล้ศนู ย์จะได้
d
a = r = r ................... (8-10)
dt

a คือ ความเร่งในแนวเส้นสัมผัสกับเส้นทางการเคลื่อนที่


v2
ความเร่งในแนวตัง้ ฉาก หรือรัศมี แทนด้วย a = จากสมการ (8-9) เขียนใหม่ได้เป็ น
r
v2
a = = 2r ................... (8-11)
r

ถ้าวัตถุหมุนด้วยความเร็วทีไ่ ม่สม่าเสมอรอบจุด O จะเกิดความเร่งขึน้ 2 แนว คือ a กับ a


ความเร่งลัพธ์หาได้จาก
a = a 2  aII2

ตัวอย่าง 8-2 นักขว้างจานโอลิมปิคเหวีย่ งจานข้าวออกไปด้วยความเร่งเชิงมุม  = 50 rads-2 จงหา


ความเร่งแนวสัมผัสและตัง้ ฉากขณะทีค่ วามเร็วเชิงมุม = 10 rads-1 กาหนดให้ แขนของนักขว้างยาว 0.80 m
หลักการคานวณ จากสมการ (8-10) และ (8-11)
a = 2r = (10s-1)2(0.80 m) = 80 ms-2
a = r = (0.80 m)(50s-2) = 40 ms-2

ขนาดของความเร่ง
a = a 2  aII2
= 89 ms-2

8-5 พลังงานจลน์ ของการหมุน_____________________________________


ขณะทีว่ ตั ถุหมุน อนุภาคต่าง ๆ ทีป่ ระกอบขึน้ เป็ นวัตถุกห็ มุนพร้อมไปกับวัตถุด้วย
สมมติให้อนุภาคตัวหนึ่งมวล mi อยู่ห่างจากจุดหมุนเป็ นระยะทาง ri
ความเร็วเชิงเส้นของอนุภาคจะเป็ น vi = ri และมีพลังงานจลน์เป็ น
1 2 1 2 2
Ki = 2 m i v i  2 m i ri 

เนื่องจากพลังงานจลน์เป็ นปริมาณสเกลาร์ พลังงานจลน์รวมของวัตถุจะเท่ากับผลรวม


พลังงานจลน์ของแต่ละอนุภาค
1 2 2 1 2 2 1 2 2
K = m1r1   m 2 r2   m 3 r3   .....
2 2 2

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
185

อนุภาคภายในวัตถุกอ้ นเดียวกัน จะมี  เท่ากัน จึงแยก  ออกมาเป็ นตัวร่วมได้

1 2
K = (m1r1  m 2 r22  m 3 r32  ...)2
2
1
= (  m i ri 2 ) 2
2

mi ri 2 คือผลบวกมวลของอนุภาคคูณด้วยระยะทางกาลังสองจากมวลไปยังจุดหมุน ถ้าแทน


ด้วยปริมาณ  จะได้
 = mi ri 2 .................... (8-12)

เรียกค่า  ว่าเป็ นความเฉื่อยของการหมุน หรือโมเมนต์ความเฉื่อยของวัตถุ สัมพัทธ์กบั แกน


หมุน ค่า  ของวัตถุจะขึน้ กับแกนหมุน รูปร่างของวัตถุ และลักษณะการเรียงตัวของวัตถุ รอบแกนหมุน
มีหน่วยเป็ น กิโลกรัม-เมตร2 (kgm2)
ค่าพลังงานจลน์สามารถเขียนใหม่ได้ว่า
1 2
K =  ................... (8-13)
2

1 2
เปรียบเทียบกับการเคลื่อนทีเ่ ชิงเส้น K = Mv
2

สมการ (8-12) และ (8-13) แสดงให้เห็นว่าพลังงานการหมุนของวัตถุ สาหรับความเร็วเชิงมุม


ค่าหนึ่ง ๆ นัน้ ไม่เพียงแต่ขน้ึ อยู่กบั ขนาดของมวลเท่านัน้ แต่ยงั ขึน้ อยู่กบั การกระจายของมวลนัน้ ๆ รอบ
แกนหมุน ดังรูป 8-6 เส้นลวดอลูมเิ นียมซึง่ มีขนาดเท่ากันและเหมือนกันทัง้ สามเส้น แต่ ละเส้นมีวตั ถุมวล M
ทาด้วยตะกัวผู
่ กติดอยู่ รูป (a) มวลอยู่ใกล้กบั แกนหมุนมากทีส่ ดุ ดังนัน้ ค่า ri ในสมการ (8-12) จึงมีค่าน้อย
ส่วนรูป (b) อนุภาคอยู่ห่างจากแกนหมุนแต่ยงั น้อยกว่ารูป (c)

รูป 8-6 จากการทดลองพบว่า a < b < c วัตถุตะกัวทั


่ ง้ สามมีมวลเท่ากัน
แต่การกระจายของมวลรอบแกนหมุนต่างกัน

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
186

ให้มวลทัง้ สามหมุนด้วยความเร็วเชิงมุม  เท่ากัน พบว่ารูป a ใช้งานน้อยทีส่ ดุ และรูป c ใช้


1
งานมากทีส่ ดุ เนื่องจากงานทีใ่ ห้วตั ถุแต่ละอันมีค่าเท่ากับพลังงานจลน์ 2 ของวัตถุนนั ้ ๆ ทาให้ค่า
2
Ka < Kb < Kc และเนื่องจากแต่ละอันมีค่า  เท่ากัน ดังนัน้ ค่า a < b < c จากนิยามของสมการ (8-13)
จึงอาจเรียก M ว่าเป็ นค่าความเฉื่อยเนื่องจากการเคลื่อนทีแ่ บบเลื่อนตาแหน่ง (translational inertia) ซึง่ เป็ น
การวัดความต้านทานของวัตถุทม่ี ตี ่อการเปลีย่ นแปลงการเคลื่อนทีใ่ นแนวเส้นตรง และเรียก  ว่าเป็ นความ
เฉื่อยเนื่องจากการหมุน (rotational inertia) ซึง่ เป็ นการวัดความต้านทานของวัตถุทม่ี ตี ่อการหมุน

ตัวอย่าง 8-3 โมเมนต์ความเฉื่อยของส่วนประกอบชิน้ หนึ่งของเครื่องจักร ดังรูป 8-7 จะเป็นเท่าไร

รูป 8-7 ส่วนประกอบชิน้ หนึ่งของเครื่องจักร


(ก) รอบแกนหมุน A ตัง้ ได้ฉากกับระนาบ ABC
(ข) ให้ BC เป็ นแกนหมุน
(ค) จากข้อ (ก) ถ้ามีความเร็วเชิงมุม  = 40 rads-1 พลังงานจลน์การหมุนจะเป็ นเท่าไร
หลักการคานวณ
(ก) มวลทีจ่ ุด A อยู่ทแ่ี กนหมุนพอดี ระยะจากจุดหมุนเป็ นศูนย์ โมเมนต์ความเฉื่อยของมวล
ทีจ่ ุดนี้จงึ เป็ นศูนย์ จากสมการ (8-12)
A = miri = (0.10 kg)(0.50 m) + (0.20 kg)(0.40 m)
2 2 2

= 0.057 kgm2

(ข) มวลทีจ่ ุด B และ C อยู่ทแ่ี กนหมุนพอดี ระยะจากจุดหมุนเป็ นศูนย์ โมเมนต์ความเฉื่อย


บนแกนนี้จงึ เป็ นศูนย์ จากสมการ (8-12)
BC = miri
2
= (0.30 kg)(0.40 m)2
= 0.048 kgm2
สรุปได้ว่า โมเมนต์ความเฉื่อยขึน้ อยู่กบั แกนหมุน แกนหมุนเปลีย่ นค่าก็เปลีย่ น

(ค) จากสมการ (8-13)


1 1
K = 2 = (0.057 kgm2)(40 rads-1)2
2 2
= 45.6 J

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
187

การคานวณหาค่าโมเมนต์ความเฉื่อยของตัวอย่างทีผ่ ่านมา มวลมีลกั ษณะเป็ นจุด แต่ถา้ วัตถุมี


รูปทรงขนาดใหญ่ มวลกระจายอย่างต่อเนื่องเช่นทรงกระบอกหรือจาน การหาโมเมนต์ความเฉื่อย จะต้องใช้
วิธกี ารอินทิเกรต ตัวอย่างการคานวณจะอธิบายในหัวข้อถัดไป รูป 8-8 คือตารางโมเมนต์ความเฉื่อยของ
มวลรูปทรงต่าง ๆ

1 2 1 2 2 1 2 2 1 2 2
m(a  b ) 2
ml m(R 1  R 2 ) mR 2
mR mR
12 12 2 2 5
รูป 8-8 โมเมนต์ความเฉื่อยของมวลรูปทรงต่าง ๆ รอบแกนหมุนทีผ่ ่านจุดศูนย์กลางมวล
ข้อสังเกต การหาโมเมนต์ความเฉื่อยโดยใช้มวลคูณกับระยะจุดศูนย์กลางมวลห่างจากจุดหมุน ยกกาลัง
สอง เพราะคิดว่าจุดศูนย์กลางมวลเป็ นตัวแทนของมวลทัง้ ก้อน แต่จริง ๆ แล้วผิด ตัวอย่างเช่นแท่งกลม
ขนาดเล็กยาว L มีมวล M ให้จุดหมุนอยู่ทป่ี ลายของแท่งโลหะ โมเมนต์ความเฉื่อยของแท่งโลหะทีจ่ ุดหมุนนี้
ML2 L
(จากตาราง) คือ ถ้าใช้มวลคูณกับระยะจากจุดศูนย์กลางมวลถึงจุดหมุนซึง่ เท่ากับ สามารถ
3 2
ML2
คานวณหา I ได้เท่ากับ ML2  
2
ค่าทีไ่ ด้ไม่ตรงกัน การหาด้วยวิ ธีนี้จึงทาไม่ได้
4

ตัวอย่าง 8-4 ลูกรอกมวล 50 kg เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.12 m หมุนอยู่รอบแกนได้โดยไม่มคี วามฝืด พัน


เชือกรอบลูกรอก ดึงปลายเชือกด้วยแรงคงที่ 9 N เป็ นระยะ 2 m ถ้าลูกรอกเริม่ ต้นจากหยุดนิ่ง จงหาความเร็ว
เชิงมุมและเชิงเส้นของเชือกทีร่ ะยะนี้
หลักการคานวณ
พลังงานจลน์ของลูกรอกทีเ่ พิม่ ขึน้ = งานทีก่ ระทากับลูกรอก
1 2
 = Fd
2
= (9.0 N)(2.0 m)
= 18 J
จากรูป 8-8 โมเมนต์ความเฉื่อยของลูกรอก
1 2
 = MR
2
1
= (50 kg)(0.060 m)2
2
= 0.090 kgm2
แทนลงไปในสมการบน จะได้
1
(0.090 kgm2) 2 = 18 J
2

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
188

 = 20 rads-1
ความเร็วเชิงเส้นของเชือกจะเท่ากับความเร็วสัมผัสของลูกรอก จากสมการ (8-9)
v = r = (0.060 m)(20 rads-1)
= 1.2 ms-1

ตัวอย่าง 8-5 ลูกรอกมวล M หมุนรอบแกนโดยไม่มคี วามฝืด พันเชือกรอบลูกรอก ให้ปลายเชือกข้างหนึ่ง


ผูกติดกับมวล m ในแนวดิง่ ปล่อยมวล m จากความสูง h จงหาความเร็วเชิงมุมและเชิงเส้นของลูกรอก
ขณะทีม่ วล m ถึงพืน้

รูป 8-9
หลักการคานวณ
เริม่ ต้นปล่อยมวล m พลังงานจลน์ยงั เป็ นศูนย์ (K1 = 0) มีแต่พลังงานศักย์ U1 = mgh
ขณะทีม่ วล m ถึงพืน้ พลังงานจลน์ของการเคลื่อนทีเ่ ชิงเส้นเป็ น K2 พลังงานศักย์เป็ นศูนย์ (U2 = 0) แต่
เนื่องจากลูกรอกหมุนจึงมีพลังงานจลน์ของการหมุนบวกเพิม่ เข้ามา
1 2 1 2
K2 = mv +  ................... (8-14)
2 2
จากรูป 8-8 โมเมนต์ความเฉื่อยของลูกรอก
1 2
 = MR
2
จาก  = R ความเร็วเชิงเส้นของมวล m จะเท่ากับความเร็วสัมผัสของลูกรอก
จากกฎการคงตัวของพลังงาน จะได้

K1 + U1 = K2 + U2
1 2 1 2
mgh + 0 = mv +  + 0
2 2
1 2 1 1 2  v 2
mgh = mv + ( MR )  
2 2 2 R
1 1 2
= (m + M)v
2 2

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
189

2gh
v = M
1
2m
วิ เคราะห์โจทย์
ถ้ามวลของลูกรอก M มากกว่า m มาก ๆ v จะมีค่าน้อย ในทางกลับกัน M น้อยกว่า m มาก ๆ
v ของมวล m จะเกือบเท่ากับความเร็วของการตกอย่างอิสระทีร่ ะยะความสูง h ดังนัน้ โจทย์ทม่ี รี อกประกอบ
จากบททีผ่ ่านมา จึงต้องกาหนดให้มวลของรอกน้อยมาก เพื่อหลีกเลีย่ งผลของการหมุนนันเอง

8-6 วิ ธีคานวณหาโมเมนต์ความเฉื่ อย________________________________


 = mi ri2 เป็ นสมการทีห่ าโมเมนต์ความเฉื่อยในกรณีทม่ี วลเป็ นจุด ดังตัวอย่าง 8-3 แต่ถา้
มวลมีรปู ทรงขนาดใหญ่ และเนื้อวัตถุกระจายอย่างสม่าเสมอ จะต้องใช้วธิ กี ารอินทิกรัลแทน โดยแบ่งมวล
ของวัตถุออกเป็ นชิน้ เล็ก ๆ มีค่า dm อยู่ห่างจากแกนหมุนเป็ นระยะ r โมเมนต์ความเฉื่อยของอนุ ภาคเล็กๆ นี้
จะเป็ น
d = r2dm
โมเมนต์ความเฉื่อยของวัตถุทงั ้ ก้อน
2
 =  r dm ................... (8-15)
ถ้า  เป็ นความหนาแน่นของวัตถุ และ dV เป็ นปริมาตรเล็ก
dm = dV แทนในสมการบน จะได้
2
 =  r ρ dV
การกระจายของมวลเป็ นเนื้อเดียวสม่าเสมอ ความหนาแน่นจะคงที่ สามารถนาออกนอกเครื่องหมาย
อินทิกรัลได้
 =   r 2 dV ................... (8-16)

dV คือปริมาตรเล็ก ๆ ของมวล dm จึงมีลกั ษณะเหมือนจุด

ตัวอย่าง 8-6

รูป 8-10 วิธคี านวณหาโมเมนต์ความเฉื่อยของแท่งกลมขนาดเล็ก ส่วนทีแ่ รเงาคือ


มวล dm เล็ก ๆ ทีแ่ บ่งในช่วง dx

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
190

แท่งกลมขนาดเล็ก มวล M ยาว  เนื้อวัตถุกระจายสม่าเสมอ แกนหมุนตัง้ ฉากกับจุด O ห่าง


จากปลายแท่งข้างหนึ่งเป็ นระยะ h แบ่งแท่งกลมเป็ นช่วงเล็ก ๆ dx ห่างจากจุด O เป็ นระยะ x อัตราส่วน
ของมวลก้อนเล็ก ๆ dm ต่อมวลทัง้ ก้อน M จะเท่ากับ อัตราส่วนของ dx กับความยาวทัง้ หมด  ดังนี้
dm dx
=
M 
Mdx
dm =

แทนค่า dm ลงในสมการ (8-15) และอินทิเกรตบนแกน x จาก -h ถึง  -h ดังนี้
2
0 =  x dm
M-h2
=  x dx
 h
M x 3  h
= h
 3
1 2
= M( -3h+3h2)
3
สมการบนทีไ่ ด้ สามารถหาโมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกนหมุนได้ทุก ๆ แกน ตัวอย่างเช่น
ถ้าแกนหมุนอยู่ทป่ี ลายแท่งด้านซ้าย, h = 0 จะได้
1 2
 = M ................... (8-17)
3
แกนหมุนอยู่ทป่ี ลายแท่งด้านขวา , h =  จะได้
1 2
 = M
3
เท่ากันเพราะมวลมีลกั ษณะสมมาตร ทัง้ ซ้ายขวา
ถ้าแกนหมุนผ่านจุดศูนย์กลางมวล h = /2
1 2
I = M ................... (8-18)
12
ตรงกับรูป 8-8

ตัวอย่าง 8-7 ทรงกระบอกกลวง ยาว  มีเส้นผ่าศูนย์กลางในและนอกเป็น R1 และ R2 ตามลาดับ ให้แกน


หมุนผ่านจุดศูนย์กลางมวลของทรงกระบอก แบ่งปริมาตรของทรงกระบอกกลวงเป็ นเปลือกเล็ก ๆ dV ห่าง
จากแกนหมุนเป็ นรัศมี r หนา dr ยาว  (บริเวณแรเงาในรูปภาพ) ปริมาตรของเปลือกเล็ก ๆ dV =
2rdr มวลของเปลือกเล็ก ๆ dm = dV = 2rdr

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
191

หลักการคานวณ
r
dr

รูป 8-11 วิธคี านวณหาโมเมนต์ความเฉื่อยของทรงกระบอกกลวง ส่วนทีแ่ รเงาคือปริมาตร


ของเปลือกเล็ก ๆ dV = 2 rdr
แทนค่า dm ในสมการ (8-15) และอินทิเกรตในแนวรัศมีจาก R1 ถึง R2 ดังนี้
 =  r 2 dV
R2
= 2  r 3 dr
R1
 4
= R 2  R14 
2
 2
= R 2  R12 R 22  R12  ................... (8-19)
2
ปริมาตรทัง้ หมดของทรงกระบอก V = ( R 22  R12 )
มวลทัง้ หมดของทรงกระบอก M = ( R 22  R12 )
แทน ( R 22  R12 ) ด้วย M ลงในสมการ (8-19) จะได้
1 2
 = M(R1  R 22 ) ................... (8-20)
2
ถ้าเป็ นทรงกระบอกตัน R1 = 0 ให้ R2 = R ดังนัน้
ตรงกับรูป 8-8
1 2
โมเมนต์ความเฉื่อยของทรงกระบอกตัน รัศมี R = MR .................... (8-21)
2
ตรงกับรูป 8-8
หรือถ้าเป็ นทรงกระบอกกลวงบาง R1 และ R2 เกือบจะเท่ากัน ให้แทน R1 = R2 = R
 = MR2
ตรงกับรูป 8-8
ข้อสังเกต โมเมนต์ความเฉื่อยของทรงกระบอกไม่ว่าจะกลวงหรือตัน ไม่ขน้ึ อยู่กบั ความยาว  ตัวอย่างเช่น
ทรงกระบอกทีท่ าจากไม้หรือทองเหลืองมีมวลเท่ากัน ถ้ามีรศั มีนอก และในเท่ากัน จะมี  เท่ากันด้วย
ถึงแม้ว่าจะมีความยาวไม่เท่ากันก็ตาม สรุปได้ว่าโมเมนต์ความเฉื่อยขึน้ อยู่กบั การกระจายของมวลแนวรัศมี
รอบแกนหมุน ไม่ใช่แนวเดียวกับแกนหมุน

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
192

ตัวอย่าง 8-8

รูป 8-12 วิธคี านวณหาโมเมนต์ความเฉื่อยของทรงกลม ; ส่วนทีแ่ รเงาคือ ปริมาตรของจานหนา dx

ทรงกลมรัศมี R ให้แกนหมุนผ่านจุดศูนย์กลางมวล
แบ่งปริมาตรของทรงกลมให้เป็ นรูปจานหนา dx รัศมี r ดังรูป 8-12
r = R2  x2
ปริมาตรของจาน คือ
dV = r2dx =  (R2 - x2)dx ;
มวลของจาน คือ
dm = dV
1 2
จากรูป 8-8 โมเมนต์ความเฉื่อยของทรงกระบอกตัน รัศมี R = MR
2
นามาใช้กบั จานได้ จากข้อสังเกตในตัวอย่าง 8-7
ดังนัน้ โมเมนต์ความเฉื่อยของจาน คือ
 2 2 2
d = (R  x ) dx
2

อินทิเกรต จาก O ถึง R ได้ดงั นี้


(2)  R 2 2 2
 =  (R  x ) dx
2 0

หลังจากอินทิเกรตจะได้
8R 5
 =
15
มวลทัง้ หมดของทรงกลม
4 R 3
M = v =
3
แทนลงในสมการบนจะได้
2 2
 = MR
5
ตรงกับรูป 8-8

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
193

การทดลองเสมือนจริ ง

การทดลองนี้เป็ นการหาโมเมนต์ความเฉื่อยโดยการหมุนมวล คุณสามารถวางมวลบน


กลางโต๊ะ หรือมุมของโต๊ะก็ย่อมได้ และทาการทดลองหาความเร่งของระบบ เมื่อได้
ความเร่งแล้ว นาไปหาโมเมนต์ความเฉื่อยได้จากสูตร

m = มวลทีใ่ ช้แขวนในระบบ R = คือรัศมีของโต๊ะหมุน ในห้องทดลองเสมือนจริง


นี้ R = 0.25 เมตร เมื่อคานวณหาโมเมนต์ความเฉื่อยได้แล้ว ให้นาค่า 0.03 kg.m2
ซึง่ ก็คอื โมเมนต์ความเฉื่อยของโต๊ะ ลบออก ค่าทีไ่ ด้กค็ อื โมเมนต์ความเฉื่อยของมวลที่
นาไปหมุน กดทีร่ ปู ภาพหรือทีน่ ่เี พื่อเข้าสูก่ ารทดลอง

8-7 ทฤษฎีแกนขนาน_____________________________________________
รูป 8-8 เป็ นโมเมนต์ความเฉื่อยของวัตถุรปู ทรงต่าง ๆ รอบแกนทีผ่ ่านจุดศูนย์กลางมวล
แทนด้วย cm แต่ถา้ เราต้องการหาโมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกนหมุนใหม่ทข่ี นานกับแกนหมุนเดิมเป็ นระยะ d
ก็สามารถคานวณหาได้ โดยใช้ทฤษฎีของสไตเนอร์ (steiner’s theorem) หรือทฤษฎีแกนขนาน (parallel
axis theorem) ซึง่ เขียนเป็ นรูปของสมการได้ว่า
2
 = cm + Md ................... (8-22)

cm คือโมเมนต์ความเฉื่อยของวัตถุมวล M รอบแกนหมุนทีผ่ ่านจุดศูนย์กลางมวล


 คือ โมเมนต์ความเฉื่อยของวัตถุรอบแกนซึง่ ขนานกับแกนทีผ่ ่านจุดศูนย์กลางมวล
และห่างเป็ นระยะ d

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
194

Y
mi
P(Xcm + a, Ycm + b)
yi
d
a b
Ycm C
(Xcm ,Ycm)
xi

X
o Xcm

รูป 8-13 การพิสจู น์ทฤษฎีแกนขนาน ถ้าทราบค่าโมเมนต์ของความเฉื่อยทีผ่ ่านจุด C


ก็จะสามารถหาค่าโมเมนต์ของความเฉื่อยทีผ่ ่านจุด P ได้

การพิสจู น์หาความสัมพันธ์ของสมการ (8-22) เราจะกาหนดให้จุด C เป็ นจุดศูนย์กลางมวลของ


วัตถุรปู ใด ๆ มีพน้ื ทีภ่ าคตัดขวางดังรูป 8-13 มีพกิ ดั ที่ (xcm , ycm , zcm = 0) ให้แกนหมุนทีผ่ ่านจุด C มีทศิ
ตัง้ ฉากกับระนาบของกระดาษและแกนหมุนทีจ่ ุด P ซึง่ มีแกนขนานกับแกนทีผ่ ่านจุดศูนย์กลางมวล P จะมีจุด
พิกดั อยู่ท่ี (xcm+a ; ycm+b , zcm = 0) และระยะระหว่างแกนทัง้ สองมีค่า d ซึง่ เท่ากับ a 2  b 2 อนุภาคมวล
mi อยู่ห่างจากจุด C = x i2  y i2 และจุด P = (x i  a) 2  (y i  b) 2 ค่าโมเมนต์ของความเฉื่อยรอบ
แกนทีผ่ ่านจุด P มีค่าเท่ากัน
 = mi {(xi -a)2 + (yi - b)2}
= mi (x i2  y i2 ) - 2amixi - 2bmiyi + (a2 + b2)mi

เนื่องจาก ค่า xcm และ ycm เป็ น 0 เพราะเป็ นจุดศูนย์กลางมวล ดังนัน้


mixi = xcmmi = 0
miyi = ycmmi = 0
 = mi (x i2  y i2 )(a 2  b 2 ) m i
2
 = cm + Md
พิสจู น์สมการ (8-22) ตามต้องการ

ตัวอย่าง 8-9 จงหาโมเมนต์ความเฉื่อยของแท่งกลม ให้แกนหมุนอยู่ทป่ี ลายแท่ง


1
หลักการคานวณ จากรูป 8-10 แกนหมุนอยู่ทป่ี ลายแท่ง  = M2 ซึง่ ได้มาจากการอินทิเกรต อย่างไร
3
ก็ตามเราสามารถใช้สมการ (8-22) ได้โดยไม่ตอ้ งผ่านการอินทิเกรตก็ได้
M 2 
จากรูป 8-8 cm = และ d = แทนลงในสมการ (8-22) จะได้
12 2

M 2  2  M 2
 = + M  =
12  4  3

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
195

ตัวอย่าง 8-10 จงหาโมเมนต์ความเฉื่อยของจานบางสม่าเสมอ แกนหมุนอยู่ในแนวตัง้ ฉากกับ


ขอบจาน
MR 2
หลักการคานวณ cm = และ d = R ดังนัน้
2
MR 2
 = + MR2
2
3MR 2
=
2
8-8 ทอร์ค______________________________________________________
ทอร์ค คือแรงทีก่ ระทาให้วตั ถุหมุน ขึน้ อยู่กบั ขนาดของแรงและตาแหน่งทีแ่ รงกระทา
ตัวอย่างเช่น มันง่ายกว่ากันมากทีจ่ ะออกแรงผลักประตู F
ทล่ี กู บิดมากกว่าทีบ่ านพับ
1

แขนโมเมนต์ของ F1 ทิศทางของแรง F1
1
O
2
แขนโมเมนต์ของ F2 B

ทิศทางของแรง F2
F2

รูป 8-14 แรง F1 และ F2 กระทาบนระนาบของวัตถุ ทาให้วตั ถุหมุนได้รอบจุด O


ในรูป 8-14 แรง F1 ทาให้วตั ถุหมุนรอบแกน O อัตราการหมุนจะขึน้ อยู่กบั ขนาดของแรง F1
และระยะทีต่ งั ้ ฉากกับแรง 1 แต่ถา้ 1 = 0 วัตถุจะไม่มกี ารหมุน ระยะ 1 เปรียบเทียบได้กบั ด้ามจับของ
ประแจเราสามารถขันน็อตด้วยประแจทีม่ ดี า้ มยาวได้ง่ายกว่าด้ามทีม่ ขี นาดสัน้ ระยะ 1 จึงมีช่อื เรียกว่า
แขนโมเมนต์ของแรง F1 และ F1 1 เรียกว่า ทอร์คหรือโมเมนต์ของแรงรอบจุด O แทนด้วยอักษรกรีก 
(แกมม่า)
 = F ................... (8-23)
แขนของโมเมนต์ F1 คือ ระยะทีล่ ากจากจุดหมุนตัง้ ฉากกับแรง F1 แทนด้วย 1
แขนของโมเมนต์ F2 คือ ระยะทีล่ ากจากจุดหมุนตัง้ ฉากกับแรง F2 แทนด้วย 2
แรง F1 ทาให้วตั ถุหมุนทวนเข็มนาฬิการอบจุด O ขณะทีแ่ รง F2 ทาให้วตั ถุหมุนตามเข็ม
นาฬิการอบจุด O ถ้ากาหนดให้ทอร์คหมุนทวนเข็มเป็ นบวก และตามเข็มเป็ นลบ ดังนัน้
1 = +F1 1
และ 2 = -F2 2

ถ้าแรงทีก่ ระทาผ่านแกนหมุน แขนของโมเมนต์จะเป็ นศูนย์ ทอร์คก็จะเป็ นศูนย์ดว้ ย หน่วยของ


ทอร์คคือ นิวตัน-เมตร (Nm)

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
196

F1
F

F2
r

รูป 8-15  = r  F รูปนี้ทศิ ทางของ  ชีล้ งไปในกระดาษ

แรง F สามารถแตกออกเป็ น 2 แนว คือ F1 ในแนวขนานกับ r และ F2 ในแนวตัง้ ฉากกับ r ;


F1 = Fcos ไม่เกิดทอร์ค เพราะแขนโมเมนต์ผ่านจุดหมุน ส่วน F2 = F sin ทาให้เกิดทอร์ค ขนาดของ
 = rF2 = rFsin สามารถเขียนอยู่ในรูปของสมการทางเวกเตอร์ได้ดงั นี้
 = rF ................... (8-24)
r sin =  ดังนัน้ ขนาดของ  เท่ากับ F  จากรูป 8-15 ทอร์คมีทศิ ชีล้ งไปในกระดาษ
ซึง่ เราสามารถหาได้จากกฎของมือขวา

8-9 ทอร์คและความเร่งเชิ งมุม______________________________________


ให้อนุภาคมวล m อยู่ห่างจากแกนหมุนเป็ นระยะ r แรงสุทธิทก่ี ระทาต่ออนุภาคเท่ากับ F แยก
ออกเป็ น 2 แรงคือ F ในแนวตัง้ ฉาก หรือรัศมี และ F สัมผัสกับเส้นทางการเคลื่อนที่
จากกฎข้อทีส่ องของนิวตัน จะได้

F = ma ................... (8-25)

จากสมการ (8-10) a = r แทนลงในสมการ (8-25) คูณสมการทัง้ 2 ข้างด้วย r จะได้


Fr = mr2 ................... (8-26)

Fr คือทอร์ค และ mr2 คือโมเมนต์ความเฉื่อยของอนุ ภาค เขียนใหม่ได้เป็ น


 = อนุภาค

สมการบนเป็ นทอร์คของอนุภาคเพียงตัวเดียว ถ้าต้องการหา  ของอนุภาคทุกตัวบนวัตถุ


ก็ตอ้ งบวกทอร์คของแต่ละอนุภาค ซึง่ แต่ละอนุภาคทีอ่ ยู่ในวัตถุแข็งเกร็งเดียวกันจะมีความเร่งเชิงมุม 
เท่ากันหมด ดังนัน้ ทอร์ครวมจะได้ว่า

 = วัตถุ ................... (8-27)


 คือ ทอร์ครวมทีเ่ กิดจากแรงกระทาจากภายนอก ส่วนทอร์คทีเ่ กิดจากแรงภายในจะ
หักล้างกันหมด เพราะเป็ นแรงคู่กริ ยิ าและปฏิกริ ยิ า สมการ (8-27) ใช้สาหรับกรณีของการหมุน ซึง่ ทีจ่ ริง
ก็มาจากกฎข้อทีส่ องของนิวตัน F = ma รูปลักษณะของสมการจึงคล้าย ๆ กัน

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
197

การทดลองเสมือนจริ ง

การทดลองเรื่องทอร์ค กดทีร่ ปู ภาพหรือทีน่ ่เี พื่อเข้าสูก่ ารทดลอง

ตัวอย่าง 8-11 ลูกกลิง้ มวล 50 kg รัศมี 0.1 m หมุนรอบแกนได้โดยไม่มคี วามฝืด พันเชือกรอบ


ลูกกลิง้ ทรงกระบอกตัน จงหาความเร่งเชิงมุม เมื่อดึงปลายเชือกด้วยแรงคงที่ 20 N
หลักการคานวณ  = (20 N)(0.1 m)
= 2.0 Nm

ความเร่งเชิงมุม  =

2.0 N  m
= 1 = 8 rads-2
(50 kg)(0.1 m) 2
2

ตัวอย่าง 8-12 จงหาความเร่งของมวล m และความเร่งเชิงมุมของลูกกลิง้

รูป 8-16 แผนภาพแทนแรงของตัวอย่าง 8-12


หลักการคานวณ
เขียนแผนภาพแทนแรงของวัตถุทงั ้ สองอิสระจากกัน ดังรูป 8-16
จากกฎข้อทีส่ อง
mg – T = ma
จากสมการ (8-27) จะได้
1 2
RT = ลูกกลิง้  = MR 
2

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
198

ความเร็วลงของมวลจะเท่ากับความเร็วแนวเส้นสัมผัสของลูกกลิง้ เช่นเดียวกัน ความเร่งของ


มวล m ก็จะเท่ากับ ความเร่งแนวเส้นสัมผัสของลูกกลิง้ จากสมการ (8-10) จะได้ a = R แทนลงไปใน
1
สมการทีส่ อง จะได้ RT = MRa , T = Ma แทนลงไปในสมการแรกจะได้
2
1
mg - Ma = ma
2
mg
a =
M
m
2
g
= M
1
2m
ข้อสังเกต แรงตึง T จะไม่เท่ากับน้าหนัก mg และความเร่ง a ก็น้อยกว่า g
แต่ถา้ M = 0 , T = 0 และ a = g มวล m จะตกลงมาแบบอิสระ

มวล m เริม่ ตกจากทีร่ ะดับความสูง h ความเร็ว v หาได้จากสมการ


v 2  v 02 = 2ah

กรณีน้ี ความเร็วต้น v0 = 0 จะได้

v = 2ah

2gh
= M
1
2m
เท่ากับตัวอย่างที่ 8-5

ตัวอย่าง 8-13 มวล m1 คล้องผ่านรอกผูกติดเข้ากับมวล m2 ทาให้มวล m1 ไถลไปบนพืน้ ทีไ่ ม่มแี รงเสียด


ทาน กาหนดให้รอกทาจากทรงกระบอกกลวงบางมีมวล M รัศมี R ขณะหมุนเชือกไม่ไถล จงหาความเร่ง
ของมวลแต่ละก้อน ความเร่งเชิงมุมของรอก และความตึงของเส้นเชือก

หลั
รูปก8-17
กา (a) ระบบในตัวอย่าง 8-13
(b) แผนภาพแยกแรง

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
199

หลักการคานวณ
รูป 8-17 (b) ใส่แรงทุกแรง ตัง้ แกนพิกดั และกาหนดทิศทางบนมวลแต่ละก้อนให้ครบ สังเกตว่า
T1 และ T2 ไม่เท่ากัน แม้จะเป็ นเส้นเชือกเส้นเดียวกัน เหตุผลเนื่องจากรอกมีมวล
จากกฎข้อทีส่ อง สมการการเคลื่อนทีบ่ นมวล m1 และ m2
T1 = m1a1 .................. (8-28)
และ m2g - T2 = m2a2 .................. (8-29)

แรงปฏิกริ ยิ า N2 กระทาผ่านจุดศูนย์กลางมวลของรอก ดังนัน้ จึงไม่มที อร์คเกิดขึน้ สมการ


การเคลื่อนทีแ่ บบหมุนบนรอกก็คอื
T2R - T1 R =  = (MR2) .................. (8-30)
เพราะเชือกไม่ล่นื ไถล ดังนัน้
a1 = a2 = R ................... (8-31)
แทนลงในสมการ (8-30) จะได้
T2R - T1R = MRa1

T2  T1  Ma1 

จากสมการ (8-29) และ (8-30) T1  m1a1  3 สมการ 3 ตัวแปร
mg  T2  m 2 a1 

จากสมการทัง้ 3 มีตวั แปร 3 ตัว จานวนสมการเท่ากับจานวนตัวแปรจึงสามารถแก้สมการหา T1 , T2 และ a1


ได้ดงั นี้
m2g
a1 =
m1  m 2  M

แทนค่ากลับลงไปในสมการ (8-28) และ (8-29) จะได้


m1m 2 g
T1 =
m1  m 2  M

(m1  M) m 2 g
T2 =
m1  m 2  M

วิ เคราะห์โจทย์
ถ้ามวล m1 หรือ M มวลใดมวลหนึ่งมากกว่า m2 มาก ๆ ความเร่งจะมีค่าน้อย และ T2 ก็จะมี
ขนาดเกือบเท่า m2g ในทางกลับกันถ้า m2 มากกว่า m1 หรือ M มวลใดมวลหนึ่งมาก ๆ ความเร่งของ m2
เกือบจะเท่ากับ g หรือเหมือนกับการตกแบบอิสระ

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
200

8-10 งานและกาลังของการหมุน___________________________________

รูป 8-18 งานของลูกกลิง้ ทีเ่ กิดจากการกระทาของแรง F

แรง F ทาให้ลกู กลิง้ รัศมี R เคลื่อนทีไ่ ด้ระยะกระจัดเชิงมุม  ถ้ามุมนี้มขี นาดเล็กมาก ๆ แรง


จะคงทีใ่ นช่วงเวลาสัน้ ๆ งานทีท่ าโดยแรง F คือ
dW = Fds
แต่ ds = Rd ดังนัน้

dW = FRd
FR คือทอร์ค ( ) แทนลงไปเราจะได้
dW = d ................... (8-32)

ให้ทอร์คคงทีร่ ะหว่างทีล่ กู กลิง้ หมุนจาก 1 ไป 2 จะได้


W = (2 - 1) =  ................... (8-33)

สรุปได้ว่า งานทีท่ าโดยทอร์คคงทีจ่ ะเท่ากับผลคูณของทอร์คกับระยะกระจัดเชิงมุม


ทอร์ค  มีหน่วยเป็ น Nm

แรงในรูป 8-18 ถ้าเป็ นแรงในแนวสัมผัส จะทาให้เกิดงานได้ แต่ถา้ เป็ นแรงในแนวรัศมีจะไม่มี


งานและทอร์ค เพราะไม่มรี ะยะกระจัดและแขนของโมเมนต์ในแนวรัศมี
จากสมการ (8-32) หารสมการทัง้ 2 ข้างด้วย dt จะได้
dW d
=   
dt  dt 
dW
คืออัตราการทางาน หรือกาลัง (P)
dt
d
คือความเร็วเชิงมุม () ดังนัน้
dt
P =  ................... (8-34)
เป็ นสูตรสาหรับการเคลื่อนทีแ่ บบวงกลม เปรียบได้กบั P = Fv ซึง่ เป็ นกรณีการเคลื่อนที่
แบบเชิงเส้น

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
201

ตัวอย่าง 8-14 เพลาของเครื่องยนต์หมุนด้วยความเร็ว 3,600 rpm ขณะส่งกาลัง 80 hp ไปยังล้อหลัง จง


คานวณหาทอร์ค
หลักการคานวณ
(3600 rev.min1 )(2  rad.rev - 1 )
 =
60 s.min1
= 120. rads-1
80hp = (80hp)(746 Whp-1)
= 59,700 W
แทนลงในสมการ(8-34)  = P/
= 59700 W/120 rads-1
= 158 Nm

ตัวอย่าง 8-15 มอเตอร์ไฟฟ้าขับหินเจียรโดยให้ทอร์ค 10 N.m โมเมนต์ความเฉื่อยของใบเจียร = 2


kg.m2 ถ้าเริม่ หมุนจากหยุดนิ่ง จงหางาน พลังงานจลน์ และกาลังเฉลีย่ ของมอเตอร์หลังจากหมุนไปได้
8 วินาที
หลักการคานวณ
จาก  = 
คานวณหาความเร่งเชิงมุมได้เท่ากับ 5 s-2
ความเร็วเชิงมุมหลังจาก 8 s หาจาก
 = t = (5s-2)(8s)
= 40 s-1
1 2
พลังงานจลน์ของการหมุน K = 
2
1
= (2 kgm2)(40 s-1)2 = 1,600 J
2
ระยะกระจัดเชิงมุมเมื่อหมุนไปได้ 8 s คือ
1 2 1 -2 2
 = t = (5s )(8s) = 160 rad
2 2

งานของมอเตอร์คอื W = 

= (10 Nm) (160 rad)


= 1,600 J
1,600J
กาลังเฉลีย่ Pav =
8s
= 200 Js-1
= 200 W
ข้อสังเกต ใช้สมการ P =  ไม่ได้เนื่องเพราะ  ไม่คงที่

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
202

อย่างไรก็ตาม สามารถคานวณหางานทัง้ หมดได้ โดยวิธกี ารอินทิเกรต กาลัง P จาก 0 ถึง 8 s


ดังนี้
W =  Pdt

=  dt
=  (t)dt
8s
2
=  (10 N  m)(5 s )tdt
0
= 1,600 J
กาลังชัวขณะ
่ ณ เวลา 8s คือ  = (10 Nm)(40 s-1) = 400 W
เนื่องเพราะความเร็วเชิงมุมเพิม่ ขึน้ เป็ นเชิงเส้น ดังนัน้ กาลังเฉลีย่ เป็ นครึง่ หนึ่งของค่าสูงสุด
400
= = 200 W
2

วีดีโอเพื่อการศึกษา

ไจโรสโคป มีคุณสมบัตชิ ไ้ี ปในทิศทางเดียว


ตลอดเวลา โดยไม่ตอ้ งคานึงถึงตาแหน่งของฐานว่า
จะเอียงไปอย่างไร ในวีดโี อมีการทดลองให้เห็น
อย่างชัดเจน บนกระสวยอวกาศจึงใช้ไจโรสโคปนา
วิถี เพื่อนายานกลับสูโ่ ลก คลิกครับ

8-11 แกนหมุนคงที่______________________________________________
ถ้าแกนหมุนไม่ได้หยุดนิ่งอยู่กบั ที่ เพราะมีการเลื่อนตาแหน่งและหมุนไปพร้อม ๆ กัน
ตัวอย่างเช่น ลูกบอลไหลลงมาตามพืน้ เอียงโดยไม่ไถล เป็ นต้น
การเคลื่อนทีใ่ นลักษณะนี้ พลังงานจลน์ทงั ้ หมดของวัตถุจะเท่ากับพลังงานจลน์เลื่อนตาแหน่ง
บวกกับพลังงานจลน์ของการหมุน กาหนดให้มวล M กลิง้ ไปด้วยความเร็ว v และหมุนด้วยความเร็วเชิงมุม
 พลังงานจลน์ทงั ้ หมด
1 2 1 2
K = Mv + c
2 2
c คือ โมเมนต์ของความเฉื่อยของทรงกระบอกรอบแกนหมุนผ่านจุดศูนย์กลางมวล

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
203

ตัวอย่าง 8-16 พันเชือกรอบทรงกระบอกหลายรอบ ยึดปลายเชือกไว้ ปล่อยให้ทรงกระบอกตกลงมา จง


หาความเร่งและความตึงในเส้นเชือกของทรงกระบอก

รูป 8-19 ปล่อยให้ทรงกระบอกตกลงมา โดยจับปลายเชือกไว้ดา้ นหนึ่ง

หลักการคานวณ
จากกฎข้อที่ 2 (เคลื่อนย้ายตาแหน่ง) F = ma
Mg - T = Ma ................... (8-35)
สมการการหมุน  = 
1
TR =  (MR2) ................... (8-36)
=
2
ถ้าเชือกไม่ล่นื ไถลขณะคลายตัวออก ความเร่งเชิงเส้น
a = R ................... (8-37)
a
แทน  = ลงไปในสมการ (8-36) แก้สมการหา a และ T ได้ดงั นี้
R
2
a = g
3
1
T = Mg
3
ตัวอย่าง 8-17 โบว์ลงิ่ ลูกหนึ่งกาลังกลิง้ ลงมาโดยไม่มกี ารลื่นไถลบนพืน้ เอียงทามุม  กับระดับ จงหา
ความเร่งของลูกโบว์ลงิ่ ตามแนวพืน้ เอียง

รูป 8-20 แผนภาพแทนแรงของลูกโบว์ลงิ่ ขณะทีก่ าลังกลิง้ ลงมาบนพืน้ เอียง

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
204

หลักการคานวณ
จากกฎข้อที่ 2 mg sin -f = ma
จากสมการการหมุน
fR =   2 mR 2  
=  
5 

ถ้าลูกโบว์ลงิ่ ไม่ล่นื ไถล จาก a = R แทน  = a/R ลงในสมการบน แก้สมการหา a และ f


ได้ดงั นี้
5
a = g sin
7
2
f = mg sin
7
5
วิ เคราะห์โจทย์ ความเร่งทีค่ านวณได้เทียบได้กบั เท่าของมวลทีไ่ ถลลงบนพืน้ เอียง ทามุม  กับระดับ
7
โดยทีไ่ ม่มแี รงเสียดทาน ถึงกระนัน้ ทีบ่ อลกลิง้ ได้โดยไม่ล่นื ไถลก็เพราะพืน้ มีแรงเสียดทาน และสัมประสิทธิ ์
2
mgsin
f 7 2
ความเสียดทาน (s) จะต้องมีค่าเท่ากับ   tan เป็ นอย่างน้อย ดังนัน้ ถ้าพืน้ เอียง
N mgcos 7
มาก s ก็จะต้องมากตามเพื่อป้องกันการลื่นไถล

8-12 โมเมนตัมและการดลเชิ งมุม___________________________________

รูป 8-21 โมเมนตัมเชิงมุม

พิจารณามวล m เคลื่อนทีบ่ นระนาบด้วยความเร็ว v รอบแกนหมุน O มีโมเมนตัมเชิงเส้น = mv


เราจะนิยามโมเมนตัมเชิงมุม L ของอนุภาค รอบแกนหมุน O มีทศิ ทางตัง้ ฉากกับระนาบ เป็ นผลจากการคูณ
ของโมเมนตัมเชิงเส้นกับระยะจากแกนหมุนตัง้ ฉากกับเส้นทางการเคลื่อนทีข่ องอนุภาค
โมเมนตัมเชิงมุม = L = mvr ................... (8-38)

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
205

ในทานองเดียวกับทอร์ค อาจเรียกโมเมนตัมเชิงมุมว่า เป็ นโมเมนต์ของโมเมนตัมเชิ งเส้น


ให้อนุภาคมวล m ภายในก้อนวัตถุกาลังหมุนรอบจุด O ดังรูป 8-21b ด้วยความเร็วเชิงเส้น v
ซึง่ ความเร็วเชิงเส้นมีความสัมพันธ์กบั ความเร็วเชิงมุม  ดังนี้ v = r แทนค่าลงไปในสมการ (8-38) จะได้

L = mr2 เป็ นโมเมนตัมเชิงมุมของอนุภาคเดียว

จะหาโมเมนตัมเชิงมุมของอนุภาคทัง้ หมดได้จากผลรวมของอนุภาคทัง้ หมดในวัตถุ แต่อนุภาค


ภายในวัตถุกอ้ นเดียวกัน จะมี  เท่ากัน จึงแยก  ออกเป็ นตัวร่วมได้
mr2 = mr2

mr2 คือโมเมนต์ความเฉื่อยของวัตถุรอบแกนหมุน (  ) จะได้


L =  เป็ นโมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุ ................... (8-39)

เมื่อเทียบกับโมเมนตัมเชิงเส้น P = mv มีสว่ นคล้ายกัน


้ L จะมีทศิ ทางเดียวกับ 
 มีค่าเป็ นบวกเสมอ ดังนัน
ทอร์คคงทีก่ ระทาบนวัตถุทม่ี โี มเมนต์ความเฉื่อย  ในช่วงเวลา t1 ถึง t2 ทาให้ความเร็วเชิงมุม
เปลีย่ นจาก 1 ไปเป็ น 2 จะได้
(2  1 )
 =  = 
(t 2  t 1 )
จัดรูปสมการใหม่

(t2 - t1) = 2 - 1 = L2 - L1 = L ................... (8-40)

ทอร์คคูณกับเวลาเรียกว่า การดลเชิ งมุม แทนด้วยสัญลักษณ์ J


การดลเชิงมุม = J = (t2 - t1) ................... (8-41)
การดลเชิงมุม คือการเปลีย่ นแปลงของโมเมนตัมเชิงมุม
ในกรณีทท่ี อร์คไม่คงที่
t2
J =  dt ................... (8-42)
t1

จากสมการ (8-40) สรุปความสัมพันธ์ได้ดงั นี้

J = 2 - 1 = L2 - L1 ................... (8-43)

จากสมการ (8-39) สามารถเขียนอยู่ในรูปของสมการอนุพนั ธ์

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
206

dL d
=  = 
dt dt
เทียบกับสมการ (8-27)
dL
 = ................... (8-44)
dt

L = rx p

รูป 8-22 อธิบายโมเมนตัมเชิงมุมในรูปของเวกเตอร์

L = r  p = r  mv ................... (8-45)

r เป็ นเวกเตอร์บอกตาแหน่งของอนุภาคเทียบกับจุด O
L เป็ นเวกเตอร์ตงั ้ ฉากกับระนาบของรูป มีขนาดเท่ากับ mvr

8-13 การคงตัวของโมเมนตัมเชิ งมุม________________________________

รูป 8-23 การดลเชิงมุมของจานหมุนแต่ละใบ คือการเปลีย่ นแปลงของโมเมนตัม

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
207

จานหมุน 2 ใบดังรูป 8-23 มีโมเมนต์ความเฉื่อย  และ และมีความเร็วเชิงมุมเริม่ ต้น 0 และ


0 ตามลาดับ ประกบจานทัง้ สองเข้าหากันด้วยแรงในแนวระดับ แรงนี้จะไม่ทาให้เกิดทอร์ค เพราะว่าอยู่
แกนเดียวกันกับแกนหมุน รอสักครู่จานทัง้ สองจะมีความเร็วเชิงมุมเท่ากับ 
ขณะทีจ่ านประกบกัน จานใบใหญ่ให้ทอร์ค  กับจานใบเล็ก ส่วนจานใบเล็กก็จะให้  กับ
จานใบใหญ่ หลังจากทีจ่ านมีความเร็วเชิงมุมร่วมกัน ทอร์ครวมเป็ นศูนย์ ซึง่ ก็เป็ นไปตามกฎข้อทีส่ ามของ
นิวตัน เหตุผลก็เพราะว่า เป็ นแรงกิรยิ าและคู่กริ ยิ า กระทาทีจ่ ุดเดียวกัน มีขนาดเท่ากันแต่ทศิ ทางตรงกันข้าม
กัน ดังนัน้ ทอร์คของจานใบใหญ่จะเท่ากับทอร์คของจานใบเล็ก แต่ทศิ ทางแตกต่างกัน  = - หรือเขียน
อยู่ในรูปของการดลเชิงมุม J = - J
จากสมการ (8-43)
J =  - 0
J =  - 0

เพราะ J = - J ดังนัน้


 - 0 = -( - 0)
จัดรูปใหม่ 0 + 0 = (+)  ................... (8-46)
ข้างซ้ายของสมการ (8-46) เป็ นโมเมนตัมเชิงมุมรวมก่อนประกบจาน ส่วนสมการด้านขวาเป็ น
โมเมนตัมเชิงมุมรวมหลังประกบจาน ไม่มที อร์คภายนอกมากระทากับระบบ สามารถสรุปได้ว่า ถ้าไม่มี
ทอร์คภายนอกกระทากับระบบหรือทอร์คสุทธิของระบบเป็ นศูนย์ โมเมนตัมเชิงมุมของระบบจะคงที่ เรา
เรียกว่า กฎการคงตัวของโมเมนตัมเชิ งมุม

รูป 8-24 พิสจู น์กฎการคงตัวของโมเมนตัมเชิงมุม


รูป 8-24 นักกายกรรมปล่อยมือจากเชือก ตีลงั กากลางอากาศ ขาและแขนของเขาเหยียดตรง
ถ้าขณะนัน้ เขาหดตัวลงโดยย่อเข่าและมือ ทาให้โมเมนต์ความเฉื่อยรอบจุดหมุนของตัวเขาลดลง เมื่อระบบ
ไม่มที อร์คกระทาจากภายนอก โมเมนตัมเชิงมุมของระบบจะคงที่ และความเร็วเชิงมุมจะเพิม่ ขึน้ นันคื
่ อ
นักกายกรรมจะหมุนตัวกลางอากาศได้เร็วขึน้

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
208

วีดีโอเพื่อการศึกษา

การทดลองกฎการคงตัวของโมเมนตัม
เชิงมุมบนเก้าอีห้ มุน คลิกครับ

ตัวอย่าง 8-18 จากรูป 8-23 กาหนดให้จานใบแรกมีมวล 2 kg มีรศั มี 0.2 m ความเร็วเชิงมุม


เริม่ ต้น 50 rads-1 จานใบทีส่ องมีมวล 4 kg มีรศั มี 0.1 m ความเร็วเชิงมุมเริม่ ต้น 200 rads-1 จงหา
ความเร็วเชิงมุมสุดท้ายหลังจากจานประกบกัน อยากจะทราบว่าพลังงานจลน์ของระบบอนุรกั ษ์หรือไม่
หลักการคานวณ
1
โมเมนต์ความเฉื่อยของจานใบแรก  = (2 kg)(0.2 m)2 = 0.04 kgm2
2
1
โมเมนต์ความเฉื่อยของจานใบทีส่ อง  = (4 kg)(0.1 m)2 = 0.02 kgm2
2
จากกฎการคงตัวของโมเมนตัมเชิงมุม จะได้
(0.04 kgm2)(50 rads-1) + (0.02 kgm2)(200 rads-1)
= (0.04 kgm2 + 0.02 kgm2) 
 = 100 rads-1
พลังงานจลน์เริม่ ต้นก่อนประกบ
1 1
K0 = (0.04 kgm2)(50 rads-1)2 + (0.02 kgm2)(200 rads-1)2
2 2
= 450 J
พลังงานจลน์สดุ ท้ายหลังประกบ
1
K = (0.04 kgm2 + 0.02 kgm2)(100 rads-1)2
2
= 300 J
ข้อสังเกต พลังงานจลน์สญ ู เสียไป 150 J ระหว่างการประกบ สรุปได้ว่าพลังงานจลน์อาจจะไม่คงที่ ถึงแม้ว่า
ไม่มแี รงและทอร์คจากภายนอกมากระทากับระบบ

ตัวอย่าง 8-19 นักกล้ามหุ่นงามคนหนึ่งนังอยู


่ ่บนจุดศูนย์กลางของเก้าอีห้ มุน กางแขนออกไปในแนวระดับ
มือแต่ละข้างถือมวล 5 kg เก้าอีห้ มุน 1 รอบในเวลา 2 วินาที จงหาความเร็วเชิงมุมเมื่อเขาหุบแขนเข้าหาตัว
กาหนดให้นกั กล้ามผูน้ ้มี โี มเมนต์ความเฉื่อยเท่ากับ 6 kg.m2 ระยะวัดจากน้าหนักถึงแกนหมุนขณะเหยียด
แขนคือ 1 m และหุบแขนคือ 0.2 m

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
209

หลักการคานวณ

รูป 8-25
ถ้าเก้าอีห้ มุนไม่มแี รงเสียดทาน ทอร์คจากภายนอกระบบไม่มจี ะเป็ นศูนย์โมเมนตัมเชิงมุมคงตัว
หรืออนุรกั ษ์ นันคื
่ อ
โมเมนตัมเชิงมุมเริม่ ต้น = โมเมนตัมเชิงมุมสุดท้าย
ii = ff
i และ i คือโมเมนต์ความเฉื่อย และความเร็วเชิงมุมเริม ่ ต้น
f และ f คือโมเมนต์ความเฉื่อยและความเร็วเชิงมุมสุดท้าย
โมเมนต์ความเฉื่อยรวม
 = คน + น้าหนัก
i = 6 kgm2 + 2(5 kg)(1.0 m)2 = 16 kgm2
f = 6 kgm2 + 2(5 kg)(0.2 m)2 = 6.4 kgm2
1
i = 2 ( rads-1)
2
i
f = i
f

16 kg  m 2
=  rads -1
6.4 kg  m 2
= 2.5 rads-1
= 7.85 rads-1
ความเร็วเชิงมุมสุดท้ายมากกว่าเริม่ ต้น
1
พลังงานจลน์เริม่ ต้น K0 = (16 kgm2)( rads-1)2
2
= 79 J
1
พลังงานจลน์สดุ ท้าย K = (6.4 kg.m2)(2.5 rads-1)2
2
= 197 J

คาถาม พลังงานจลน์สดุ ท้ายมากกว่าเริม่ ต้นถูกต้องหรือไม่

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
210

ตัวอย่าง 8-20 ประตูกว้าง 1 m มวล 1.5 kg หมุนไปมารอบบานพับโดยไม่มแี รงเสียดทาน ยิงลูกปืนมวล


10 กรัม ด้วยความเร็ว 400 ms-1 ตัง้ ฉากกับบานประตู ฝงั เข้าไปบริเวณจุดกึง่ กลางของประตู จงหาความเร็ว
ของประตูหลังจากถูกยิง อยากทราบว่าพลังงานจลน์ของระบบอนุรกั ษ์หรือไม่
หลักการคานวณ
โมเมนตัมเชิงมุมเริม่ ต้น
L = mvr
= (0.01 kg)(400 ms-1)(0.5 m)
= 2.0 kgm2s-1
โมเมนตัมเชิงมุมสุดท้าย รวม โดยที่ รวม = ประตู + ลูกปืน

ML2
ประตู =
3
(15 kg)(1.0 m) 2
=
3
= 5.0 kgm2

ลูกปืน = mr2
= (0.01 kg)(0.5 m)2
= 0.0025 kgm2
ไม่มที อร์คกระทาจากภายนอก ดังนัน้ โมเมนตัมเชิงมุมของระบบคงที่
mvr = รวม
2.0 kgm2s-1 = (5.0 kgm2 + 0.0025 kgm2) 
 = 0.4 rads-1
ลูกปื นฝงั ลงไปในบานประตู ลักษณะแบบนี้พลังงานจะไม่อนุรกั ษ์
1 2
พลังงานจลน์เริม่ ต้น Ki = mv
2
1
= (0.01 kg)(400 ms-1)2
2
= 800 J
1 2
พลังงานจลน์สดุ ท้าย Kf = 
2
1
= (5.0025 kgm2)(0.4 rads-1)2
2
= 0.4 J

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
211

8-14 เวกเตอร์เชิ งมุม_____________________________________________


ทิ ศทางการหมุน

รูป 8-26 เวกเตอร์ทศิ ทางของความเร็วเชิงมุม

รูป 8-27 เวกเตอร์ L คือการเปลีย่ นแปลงของโมเมนตัมเชิงมุมในช่วงเวลา t เนื่องจาก


มีทอร์คซึง่ เกิดจากน้าหนักมากระทากับระบบ ; เวกเตอร์ L มีทศิ เดียวกับ 

ความเร็วเชิงมุม โมเมนตัมเชิงมุม และทอร์ค ปริมาณเหล่านี้สามารถแสดงด้วยสัญลักษณ์


เวกเตอร์ ส่วนทิศทางหาได้จากกฎของมือขวา ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการทราบทิศทางของความเร็วเชิงมุมก็ให้
ใช้มอื ขวาหรือสกรู การอบแกนหมุน หมุนมือตามทิศทางการหมุน นิ้วโป้งและสกรูจะชีไ้ ปในทิศทางของ 
ไจโรสโคป ดังรูป 8-27 สามารถหมุนรอบแกนหมุน O ได้อย่างอิสระ แรงทีก่ ระทาบนไจโรส
โคป มีอยู่เพียงแรงเดียว คือ น้าหนักของลูกข่าง w มีทศิ ลงทีจ่ ุดศูนย์กลางมวลของไจโรสโคป ทอร์ค  จาก
น้าหนัก w มีทศิ ทางตามรูป ขณะทีล่ กู ข่างหมุน(วิธจี ะทาให้ลกู ข่างหมุน ให้พนั เชือกบนแกนของลูกข่างหลาย
ๆ รอบ ดึงลง ลูกข่างก็จะหมุนด้วยความเร็วเชิงมุม ) ไจโรสโคบจะมีโมเมนตัมเชิงมุมเริม่ ต้น L = 
ทอร์คสุทธิจะทาให้โมเมนตัมเชิงมุมเปลีย่ นแปลงไป (L) และทาให้ไจโรหมุนไปเป็ นมุม  ดังสมการ 
L
= การเคลื่อนทีข่ องลูกข่างรอบแกน O เรียกว่า การควง (precession)
L

เรียกว่า ความเร็วเชิงมุมของการควง ใช้สญ ั ลักษณ์  (โอเมก้า) แทน
t

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
212

 L / L  wR
 = = = = ................... (8-47)
t t L 

ความเร็วเชิงมุมของการควง  เป็ นสัดส่วนกลับกับความเร็วเชิงมุมของลูกข่าง ถ้าลูกข่างหมุน


เร็ว การควงจะช้า แต่ถา้ ลูกข่างหมุนช้าการควงจะเร็ว อย่างไรก็ตามถ้าลูกข่างไม่หมุน ก็ไม่มโี มเมนตัมเชิงมุม
L ตัง้ แต่เริม่ ต้นแล้ว ไจโรสโคปก็จะไม่มกี ารควง

ตัวอย่าง 8-21 จากรูป 8-27 ลูกข่างหมุนรอบตัวเองในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ด้วยอัตราเร็ว 30 รอบ


ต่อวินาที มวลของลูกข่าง 0.5 kg มีโมเมนต์ความเฉื่อย = 5  10-4 kgm2 จุดศูนย์กลางมวลของลูกข่างห่าง
จากจุดหมุน 4 cm จงคานวณหาความเร็วเชิงมุมของการควง
หลักการคานวณ จากสมการ (8-47)

wR mgR
 = =
 

(0.5 kg)(9.8 m  s 2 )(4x10 - 2 m)


 =
(5  10 4 kg  m 2 )(30 rev  s 1  2 rad  rev 1 )

= 2.1 rads-1
ตามกฎมือขวา  จะมีทศิ ทวนเข็มนาฬิกา เมื่อมองจากด้านบน

บรรยายลงในกระดานฟิ สิ กส์ราชมงคล

เมื่อไม่มแี รงบิดหรือทอร์คกระทาจากภายนอก
โมเมนตัมเชิงมุมทัง้ ขนาดและทิศทางจะคงที่ ดังเช่น
เข็มทิศไจโรสโคปทีห่ มุนอยู่ในเรือ ถ้าไม่มที อร์ค
ภายนอกไปกระทามันจะไม่เปลีย่ นทิศทาง แม้ว่าเรือลา
นัน้ จะเคลื่อนทีร่ อบโลกไปทีใ่ ดก็ตามดังรูป เข็มทิศไจโร
จึงนาไปใช้ในระบบนาร่อง ปจั จุบนั มีระบบคอมพิวเตอร์
ในการคานวณ ดังนัน้ เมื่อเรือเปลีย่ นตาแหน่งไป
คอมพิวเตอร์จะคานวณเทียบกับตาแหน่งของเข็มทิศไจ
โร พร้อมไปกับข้อมูลจากตัววัดความเร่ง คอมพิวเตอร์
จะคานวณหาระยะทางจากจุดเริม่ ต้นได้ แม่นยาไม่มี
ผิดพลาด ให้นกั ศึกษาวิจารณ์ภาพนี้ลงใน กระดาน
ฟิสกิ ส์ราชมงคล

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
213

ทดสอบก่อนและหลังเรียน

วิธที า ให้ ใส่ช่อื สกุล เลือกวิชาทีส่ อบ และจานวนข้อ แต่ตอ้ งไม่เกินจากทีก่ าหนดไว้ เช่น
กาหนดไว้ 10 ข้อ เวลาเลือกจานวนข้อ ให้เลือก 5 และ 10 ข้อไม่เกินจากนี้ เป็ นต้น เมื่อ
ทาเสร็จสามารถดูคะแนนจากรายละเอียดผูท้ าข้อสอบได้ทนั ที
เรื่อง การหมุน
คลิกเข้าสู่ ทดสอบก่อนและหลังเรียน

แบบฝึ กหัดท้ายบทพร้อมเฉลย

แบบฝึกหัดท้ายบทพร้อมเฉลย คลิกครับ

แบบฝึ กหัดเรื่องการหมุน

1. ก) จงหามุมในหน่วยเรเดียนทีส่ ว่ นโค้งยาว 1.50 m บนเส้นรอบวงของวงกลมรัศมี 2.50 m รองรับทีจ่ ุด


ศูนย์กลาง มุมนี้มคี ่าเท่าใดในหน่วยองศา [ ตอบ 0.600 rad = 34.4 องศา ]
ข) ส่วนโค้งยาว 14.0 cm บนเส้นรอบวงของวงกลมวงหนึ่งรองรับมุม 128 องศา ทีจ่ ุดศูนย์กลาง วงกลม
นี้มรี ศั มีเท่าใด [ ตอบ 6.27 cm ]
ค) มุมระหว่างเส้นรัศมีสองเส้นของวงกลมรัศมี 1.50 m มีค่าเท่ากับ 0.700 rad จงหาความยาวของส่วน
โค้งบนเส้นรอบวงของวงกลมระหว่างตาแหน่งทีเ่ ส้นรัศมีสองเส้นนี้ตดั กับเส้นรอบวง [ ตอบ 1.05 m ]

2. มุม  ทีล่ อ้ รถจักรยานล้อหนึ่งหมุนไปมีค่า  (t )  a  bt 2  ct 3 โดยที่ a , b และ c เป็ นค่าคงตัว


บวกทีท่ าให้  มีหน่วยเป็ นเรเดียนเมื่อเวลา t มีหน่วยเป็ นวินาที
ก) จงคานวณความเร่งเชิงมุมล้อในรูปของฟงั ก์ชนั ของเวลา [ ตอบ  (t )  2b  6ct ]
ข) ทีเ่ วลาใดความเร็วเชิงมุมของล้อมีค่าไม่เปลีย่ นแปลงชัวขณะ
่ [ ตอบ b / 3c ]
3. ล้อจักรยานล้อหนึ่งกาลังถูกทดสอบทีร่ า้ นซ่อม ความเร็วเชิงมุมของ
ล้อมีค่า 4.00 rad/s ทีเ่ วลา t = 0 และ ความเร่งเชิงมุมของล้อมีค่าคง
ตัว -1.20 rad/s2 ซีล่ อ้ OP ซีห่ นึ่งของล้อทับซ้อนกับแกน +x ที่ t = 0
ดังรูป
ก) ความเร็วเชิงมุมของล้อที่ t = 3.00 s มีค่าเท่าใด
[ ตอบ 0.40 rad/s ]
ข) ซีล่ อ้ OP ทามุมเท่าใดกับแกน +x ทีเ่ วลานี้
[ ตอบ 6.60 rad ]

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
214

ั่
4. ใบมีดปนอาหารเครื ่องหนึ่งหมุนด้วยความเร่งเชิงมุมคงตัว 1.50 rad/s2
ก) ถ้าใบมีดเริม่ หมุนจากหยุดนิ่ง นานเท่าใดใบมีดจึงจะมีความเร็วเชิงมุม 36.0 rad/s [ ตอบ 24.0 s]
ข) ใบมีดหมุนไปได้กร่ี อบในช่วงเวลานี้ [ ตอบ 68.8 รอบ ]

5. ที่ t = 0 ล้อฝนมีดล้อหนึ่งมีความเร็วเชิงมุม 24.0 rad/s ล้อฝนมีดมีความเร่งเชิงมุมคงตัว 30.0 rad/s2


จนกระทังอุ ่ ปกรณ์ตดั ไฟทางานที่ t = 2.00 s จากนัน้ ล้อหมุนทีอ่ ตั ราเร่งเชิงมุมคงตัวไปเป็ นมุม 432 rad
เมื่อหยุด
ก) ล้อหมุนไปเป็ นมุมทัง้ หมดเท่าใดในระหว่าง t = 0 จนกระทังหยุ ่ ด [ ตอบ 540 rad ]
ข) ล้อหยุดหมุนทีเ่ วลาเท่าใด [ ตอบ 12.3 s ]
ค) ความเร่งในขณะทีล่ อ้ หมุนช้าลงมีค่าเท่าใด [ ตอบ -8.17 rad/s2 ]
6. ล้อๆ หนึ่งหมุนด้วยความเร็วเชิงมุมคงตัวที่ 6.00 rad/s
ก) จงหาความเร่งในแนวรัศมีของจุดๆ หนึ่งซึง่ อยู่ห่าง 0.500 m จากแกนโดยใช้ความสัมพันธ์
2
arad   2 r [ ตอบ arad = 18.0 m/s ]
ข) จงหาอัตราเร็วในแนวเส้นสัมผัสของจุดนี้และคานวณหาความเร่งในแนวรัศมีจากความสัมพันธ์
2
arad  v 2 / r [ ตอบ v = 3.00 m/s, arad = 18.0 m/s ]

7. ลูกกลมมวล 1 kg กลิง้ ไปบนพืน้ ราบด้วยความเร็ว 20 m/s แล้วเคลื่อนทีข่ น้ึ ไปบนพืน้ เอียงซึง่ ทามุม 30
องศา กับแนวระดับ
ก) พลังงานจลน์ทงั ้ หมดของลูกกลมเป็ นเท่าใดขณะอยู่บนพืน้ ราบ [ ตอบ 280 J ]
ข) ลูกกลมจะขึน้ ไปบนพืน้ เอียงได้ไกลเท่าใด [ ตอบ 57.2 m ]

8. ไม้เมตรอันหนึ่งมีมวล m ยาว ตัง้ ตรงบนพืน้ ด้วยปลายข้างหนึ่ง ถ้าปล่อยให้ไม้เมตรนี้ลม้ ลงมาโดยให้


3g
ถือว่าปลายไม้ทแ่ี ตะพืน้ คงอยู่ทต่ี าแหน่งเดิม ไม้จะฟาดพืน้ ด้วยอัตราเร็วเชิงมุมเท่าใด [ ตอบ ]
9. ไม้คทาท่อนหนึ่งทาจากทรงกระบอกโลหะเรียวมวล M และยาว L ทีป่ ลายแต่ละข้างมีปลอกยางมวล m
สวมอยู่ และแต่ละปลอกสามารถมองได้ว่าเป็ นอนุภาคในปญั หาข้อนี้ จงหาโมเมนต์ความเฉื่อยทัง้ หมด
ของไม้คทารอบแกนหมุนโดยปกติ (ตัง้ ฉากกับไม้คทาผ่านจุดกึง่ กลางของไม้)
[ ตอบ ( M /12  m / 2) L ] 2

10. ทรงกลมเหล็ก 4 ลูก แต่ละลูกมองว่าเป็ นจุดมวล 0.200 kg ได้ วางทรงกลมทัง้ สีเ่ ป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มจัตุรสั
ยาวด้านละ 0.400 m และต่อกันด้วยแท่งเบา ดังรูป จงหาโมเมนต์ความเฉื่อยของระบบรอบแกน

ก) ทีผ่ ่านจุดศูนย์กลางของสีเ่ หลีย่ มจัตุรสั และตัง้ ฉากกับระนาบสีเ่ หลีย่ ม (แกนทีผ่ ่านจุด O ในรูป)
ข) ทีแ่ บ่งครึง่ ด้านตรงข้ามสองด้านของสีเ่ หลีย่ มจตุรสั (แกนตามเส้น AB ในรูป)
ค) ทีผ่ ่านจุดศูนย์กลางของทรงกลมทีด่ า้ นบนซ้ายและด้านล่างขวาและผ่านจุด O

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
215

11. ส่วนหนึ่งของข้อต่อชิน้ หนึ่ง ดังรูป มีมวล 3.6 kg เราวัดโมเมนต์ความเฉื่อยของวัตถุรอบแกนทีอ่ ยู่ห่าง


0.15 m จากจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุได้ IP = 0.132 kg.m2 โมเมนต์ความเฉื่อย Icm ของวัตถุรอบแกน
ขนานทีผ่ ่านจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุมคี ่าเท่าใด [ ตอบ 0.051 kg.m2 ]

12. จากรูป แท่งไม้บางสม่าเสมอมวล M ยาว L แท่งนี้อาจเป็ นไม้คทาทีค่ นนาขบวนแห่ถอื (ไม่มปี ลอกยางที่


ปลายสองข้าง) จงคานวณหาโมเมนต์ความเฉื่อยของแท่งนี้รอบแกนผ่าน O ทีร่ ะยะห่าง h ใดๆ จาก
1
ปลายด้านหนึ่ง [ ตอบ M(L2 – 3Lh + 3h2) ]
3

13. ช่างประปาคนหนึ่งไม่สามารถหมุนเกลียวข้อต่อออกได้ ก็เลยเอาเศษท่อเก่า (“ตัวโกง”) สวมไปบนมือ


จับประแจของเขา แล้วเขาก็ใช้น้าหนักตัวทัง้ หมดของเขา 900 N ทาต่อปลายของตัวโกงโดยการยืนบน
ตัวโกง ระยะจากจุดศูนย์กลางของข้อต่อไปยังจุดทีน่ ้าหนักกระทาคือ 0.80 m และมือจับประแจและตัว
โกงทามุม 19 องศา กับแนวระดับ ดังรูป จงหาขนาดและทิศของทอร์คทีเ่ ขากระทาต่อข้อต่อท่อ [ ตอบ
680 N.m มีทศิ พุ่งเข้าไปในระนาบของรูป ]

14. เปลือกทรงกระบอกมวล M และรัศมี R กลิง้ โดยไม่ไถลด้วยอัตราเร็ว vcm บนผิวเรียบแบน พลังงานจลน์


ของวัตถุมคี ่าเท่าใด [ ตอบ Mvcm2 ]
15. โฆษณาชิน้ หนึ่งอ้างว่ากาลังจ่ายออกของเครื่องรถยนต์คนั หนึ่งมีค่าเท่ากับ 200 hp ที่ 6000 rpm ทอร์ค
ขณะนัน้ มีค่าเท่าใด

ฟิสกิ ส์ราชมงคล
216

16. พัดลมกังหันในเครื่องยนต์ไอพ่นเครื่องหนึ่ง ดังรูป มีโมเมนต์ความเฉื่อยขนาด 2.5 kg.m2 รอบแกนหมุน


ของเครื่อง ในขณะทีก่ งั หันเริม่ หมุน ความเร็วเชิงมุมของกังหันในรูปฟงั ก์ชนั ของเวลาคือ
3 2
 = (400 rad/s )t

ก) จงหาโมเมนตัมเชิงมุมของใบพัดในรูปของฟงั ก์ชนั ของเวลา และให้หาค่าของโมเมนตัมเชิงมุมนี้


ทีเ่ วลา t = 3.0 s [ ตอบ 9000 kg.m2/s ]
ข) จงหาทอร์คสุทธิทก่ี ระทาต่อใบพัดในรูปฟงั ก์ชนั ของเวลา และจงหาทอร์คทีเ่ วลา t = 3.0 s
[ ตอบ 6000 N.m ]

17. ประตูกว้าง 1.0 m มวล 15 kg ติดบานพับทีด่ า้ นหนึ่งทาให้สามารถหมุนโดยไม่มคี วามเสียดทานรอบ


แกนดิง่ ประตูน้ไี ม่ได้ใส่กลอนไว้ ตารวจนายหนึ่งยิงลูกปื นมวล 10 g และอัตราเร็ว 400 m/s เข้าไปทีต่ รง
กลางประตูพอดีในทิศตัง้ ฉากกับระนาบของประตู จงหาอัตราเร็วเชิงมุมของประตูหลังจากทีล่ กู ปื นฝงั
เข้าไปในประตูพอดี พลังงานจลน์มคี ่าคงตัวหรือไม่ [ ตอบ 0.40 rad/s พลังงานจลน์สดุ ท้ายมีค่าเพียง
1/2000 ของค่าเดิม ]

18. ชายคนหนึ่งยืนอยู่กลางแป้นหมุน มือทัง้ สองถือก้อนน้าหนักมือละ 2 kg และเหยียดแขนตรงให้กอ้ น


น้าหนักห่างแกนหมุน 1 m และหมุนแป้นนัน้ ด้วยอัตรา 6 รอบ/นาที โมเมนต์ความเฉื่อยเมื่อเขายื่นมือ
เปล่ารอบแกนหมุนเท่ากับ 10 kg/m2 ถ้าเขาหดแขนเข้ามาก้อนน้าหนักทัง้ สองห่างแกนหมุน 0.2 m เขา
จะหมุนในอัตรากีร่ อบ/นาที [ ตอบ 8.3 รอบ/นาที ]

19. จงคานวณหาโมเมนตัมเชิงมุมของเข็มวินาทีบนนาฬิการอบแกนทีผ่ ่านจุดศูนย์กลางของหน้าปดั นาฬิกา


เข็มนาฬิกายาว 15.0 cm และมีมวล 6.00 g ให้พจิ ารณาว่าเข็มนาฬิกาเป็ นแท่งวัตถุผอมบางซึง่ กาลัง
หมุนด้วยความเร็วเชิงมุมคงตัวรอบปลายข้างหนึ่ง [ ตอบ 4.71 x 10-6 kg.m2/s ]

20. เมื่อใช้ทอร์คลัพธ์ขนาด 20 N.m กระทาทีล่ อ้ อันหนึ่งทาให้ลอ้ นัน้ หมุน จากหยุดนิ่งเป็ น 100 รอบ/นาที ใน
เวลา 10 วินาที
ก) ให้หาโมเมนต์ความเฉื่อยของล้อนัน้ [ ตอบ 19.2 kg.m2 ]
ข) เมื่อใช้ทอร์คครบ 10 วินาที นับจากถอนทอร์คนัน้ ออก ล้อนัน้ ก็หมุนช้าลง จนหยุดนิ่งในเวลา 100
วินาที นับจากถอนทอร์ค ทอร์คเนื่องจากความฝืดในการหมุนมีค่าเท่าใด [ ตอบ 2 N.m ]
ค) หาจานวนทัง้ หมดทีล่ อ้ นัน้ หมุนได้จากเริม่ ต้นจนหยุดนิ่งสนิท [ 92 รอบ ]

ฟิสกิ ส์ราชมงคล

You might also like