Pcog Alkaloid

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 11

ปฏิบัติการที่ 7

การตรวจสอบทางเคมีเบื้องต้น
ผลิตภัณฑ์สารกลุม
่ Alkaloids
บทนำ
สารกลุ่ม Alkaloid มีความแตกต่างจากสารกลุ่มอื่นคือ มีไนโตเจนอะตอมอยูใ่ นโมเลกุล
มีคุณสมบัติเป็ นด่าง ในธรรมชาติมกั พบอยูใ่ นรู ปเกลือของกรดอินทรี ย ์ ซึ่ งละลายน้ำได้ดี แต่ในรู ปอิสระ(free
base) ละลายน้ำได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้นหรื อไม่ละลาย แต่จะละลายได้ดีในตัวทำละลายอินทรี ย ์ เช่น
dichloromethane สาร Alkaloid สามารถทำปฏิกิริยากับน้ำยาที่มีโลหะหนักได้ เกิดเป็ นเกลือโลหะที่ไม่
ละลายน้ำ ซึ่ งใช้เป็ นวิธีตรวจสอบได้
วิธีทดสอบทางเคมีเบื้องต้น
General test ด้วยปฏิกิริยาการตกตะกอน

ผงพืชที่ใช้ทดสอบ พริกไทยดำ ใบชา

วิธีทดสอบ

สารสกัด 3 มิลลิลิตร ใส่หลอดทดลองจำนวน 2 หลอด


วัด pH ของสารสกัด จดบันทึกค่าที่อ่านได้

หลอดที่ 1 ใช้เป็ น control สำหรับเทียบสี และความขุ่น

หลอดที่ 2 เติมกรด 5N HCl (ประมาณ 5-6 หยด) วัด pH ให้ได้ = 2

นำทัง้ สองหลอด วางไว้ที่หลอดทดลอง (Test tube rack)


หลอดที่ 2 เติมน้ำยาทดสอบ Dragendorff's reagent 2 หยด
ระวังอย่าให้เปื้ อนเลอะผนังข้างหลอด

ห้ามเขย่า สังเกตการเปลี่ยนแปลง (สามารถใช้แสงไฟจากโทรศัพท์ส่องให้


สังเกตง่ายขึน

ผลการทดลอง

ผงพืชที่ใช้ Dragendor Mayer’s Marme’s


Kraut’s TS
ทดสอบ ff’s TS TS TS
เกิดตะกอน เกิดตะกอน
เกิดตะกอนสี เกิดตะกอน
สีเหลือง สีขาวเหลือง
พริกไทยดำ ส้ม สีน้ำตาล
อ่อน นวล
(Positive) (Positive)
(Positive) (Positive)
ไม่เกิด ไม่เกิด ไม่เกิด เกิดตะกอน
ใบชา ตะกอน ตะกอน ตะกอน สีน้ำตาล
(Negative) (Negative) (Negative) (Positive)
เกิดตะกอนสี เกิดตะกอน ไม่เกิด เกิดตะกอน
Atropine
ส้ม สีขาว ตะกอน สีน้ำตาล
sulfate
(Positive) (Positive) (Negative) (Positive)
ตารางผลการทดลอง General test

รูปแสดงผลทดสอบการทำปฏิกิริยาตกตะกอนระหว่าง Atropine sulfate กับ test


solution 4 ชนิดคือ Kraut’s TS, Marme’s TS, Mayer’s TS และ
Dragendorff’s TS ตามลำดับจากซ้ายไปขวา (tube แรกด้านซ้ายคือ control)
รูปแสดงผลทดสอบการทำปฏิกิริยาตกตะกอนระหว่าง ใบชา กับ test solution 4
ชนิดคือ Kraut’s TS, Marme’s TS, Mayer’s TS และ Dragendorff’s TS ตาม
ลำดับจากซ้ายไปขวา (tube แรกด้านซ้ายคือ control)

อภิปรายผลการทดลอง
การทดสอบหาสารกลุ่ม Alkaloid ในพืช 2 ชนิดคือ พริกไทยดำ
และใบชาด้วยปฏิกิริยาการตกตะกอน ทำได้โดยการนำสารสกัดจากพืชมา
เติมกรด HCl ให้มีค่า pH ประมาณ 2 จากนัน
้ เติมน้ำยาทดสอบ
Dragendorff’s reagent, Mayer’s reagent, Marme’s reagent และ
Kraut’s reagent ในแต่ละหลอดแล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลง
สรุปผลการทดลอง
จากการทดสอบด้วยปฏิกิริยาการตกตะกอนในพริกไทยดำให้ผล
บวกกับทุกน้ำยาทดสอบแสดงว่าพริกไทยดำอาจมีสาร Alkaloid อยู่ และ
ในใบชาให้ผลลบกับทุกน้ำยาทดสอบยกเว้น Kraut’s reagent แสดงว่า
ใบชาอาจจะมีสาร Alkaloid อยู่เนื่องจาก น้ำยาทดสอบ Kraut’s
reagent สามารถให้ผลบวกกับสารกลุ่ม Quaternary amine ได้

การทดสอบ confirm test


ผงพืชที่ใช้ทดสอบ ใบยาสูบ, Unknown 020184, Unknown
711841 และ Unknown 616296

วิธีทดสอบ

การสกัดพืช

ใบยาสูบ 500 กรัม เติม

เขย่า 24 ชั่ว

กรองผ่านสำลี ลงในขวด และระเหย


ด้วย Rotary evaporate จนปริมาตร
ลดลงครึ่งหนึ่ง
วิธีทดสอบ

สารสกัด 20 ml ใส่

วัด pH และ

เติม 5N HCl ให้ pH=2

เติม 10% NH4OH 10 ml ให้


สกัดด้วย DCM 20 ml เก็บชัน

ไขสารสกัดใส่หลอดทดลองสอง

1.control 2.เติม 5N HCl ให้

ใช้เปรียบเทียบสีและ pH=2
ความขุ่น เติม Dragendorff’s

ผลการทดสอบ

การเปลี่ยนแปลงเมื่อหยด
ผงพืชที่ใช้ทดสอบ การแปรผล
Dragendorff’s reagent
ใบยาสูบ เกิดตะกอนสีส้มแดง Positive
Unknown 020184 ไม่เกิดการตกตะกอน Negative
Unknown 711841 ไม่เกิดการตกตะกอน Negative
Unknown 616296 ไม่เกิดการตกตะกอน Negative
รูปแสดงผลทดสอบการทำปฏิกิริยาตกตะกอนระหว่างใบยาสูบกับ test solution 4
ชนิดคือ Dragendorff’s TS, Mayer’s TS, Krout’s TS และ Marme’s TS ตาม
ลำดับจากซ้ายไปขวา (tube สุดท้ายด้านขวาคือ control)

อภิปรายและสรุปผล
จากการทดสอบ confirm test เพื่อยืนยันผลผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
กลุ่ม alkaloids โดยนำสารละลายใบยาสูบที่ผ่านการสกัดด้วย 95%เอทา
นอลมาเติม 5N HCL และ 10% NH4OH หลังจากนัน
้ นำไปสกัดด้วย
Dichloromethane และนำสารสกัดมาแบ่งแยกเป็ น 2 หลอด โดยให้
หลอดที่หนึ่งเป็ น control และนำหลอดที่สองมาเติม 5N HCL แล้ววัด
pH = 2 แล้วเติมน้ำยาทดสอบ Dragendorff’s reagent จากนัน
้ สังเกต
การเปลี่ยนแปลงเทียบกับ control พบว่าสารสกัดจากไปยาสูบเกิด
ตะกอนสีส้มขึน
้ ซี่งงเป็ นผล positive สรุปได้ว่าสารสกัดใบยาสูบเป็ นสาร
กลุ่ม Alkaloids ที่มีโครงสร้างไนโตรเจนในโมเลกุล เนื่องจากสารกลุ่ม
Alkaloid เมื่ออยู่ในสภาวะกรดจะเปลี่ยนเป็ นรูปเกลือแล้วทำปฏิกิริยากัย
น้ำยาทดสอบแล้วเกิดตะกอนที่ส้ม

สรุปผล unknown
Unknown 020184, 711841, 616296 ไม่เกิดตะกอนสีส้มแดง
เป็ น negative ซึ่งอาจแปลผลได้ว่า unknown ทัง้ 3 ชนิด มี
สารประกอบ alkaloids อยู่น้อยมาก หรือไม่มีสารประกอบ alkaloids
ใน unknown เลย หรืออาจจะเกิด false negative ซึง่ อาจเกิดจาก
สารประกอบกลุ่ม Purine alkaloids หรือกลุ่ม Non-heterocyclic
alkaloids บางตัว

รายงานปฏิบัติการเภสัชเวทสำหรับเภสัชศาสตร์ 1

ปฏิบิตที่ 7

เรื่อง การตรวจสอบทางเคมีเบื้องต้น ผลิตภัณฑ์


ธรรมชาติกลุ่ม Alkaloids
วันที่ทำการทดลอง 7 มกราคม 2563

รายชื่อผู้ทำการทดลอง
คณะเภสัชศาสตร์ สาขาบริบาลเภสัชกรรม

เสนอ

อาจารย์ศิรินทร พิศุทธานันท์

มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก

ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2562

You might also like