Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 70

คูมือ

การใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโต
ของเด็กอายุ 6 -19 ป

ÊӹѡâÀª¹Ò¡Òà ¡ÃÁ͹ÒÁÑÂ
¡ÃзÃǧÊÒ¸ÒóÊØ¢
คูมือ
การใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโต
ของเด็กอายุ 6 -19 ป

ÊӹѡâÀª¹Ò¡Òà ¡ÃÁ͹ÒÁÑÂ
¡ÃзÃǧÊÒ¸ÒóÊØ¢
3 SD

2 SD

1.5 SD

EDIAN
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

ISBN 978-616-11-4548-4

จัดทำโดย สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข


.5 SD ถนนติวานนท ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุร� 11000
โทรศัพท 0 2590 4331 โทรสาร 0 2590 4333
SD

พ�มพครั้งที่ 1 กุมภาพันธ 2564

จำนวน 1,010 เล‹ม

พ�มพที่ บร�ษัท ทำดŒวยใจ จำกัด


8/305 หมู‹บŒานชวนชื่น ถนนมาเจร�ญ แขวงหนองแขม
เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร 10160
โทร. 0 2811 0267
155 160 165 170 175 180 18
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป ก

คํานํา
สํานักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ไดแตงตั้งคณะกรรมการจัดทําเกณฑอางอิง
การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 5 - 19 ป ประกอบดวย ผูเชี่ยวชาญดานโภชนาการจากมหาวิทยาลัยตาง ๆ
และนักโภชนาการจากสํานักโภชนาการ กรมอนามัย เพื่อทบทวนเกณฑอางอิงนํ้าหนักและสวนสูง ที่ใชใน
ปจจุบนั ซึง่ เก็บขอมูลในเด็กไทยตัง้ แตป พ.ศ. 2538 โดยคณะกรรมการมีมติใหดาํ เนินการจัดทําเกณฑอา งอิง
การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป ขึน้ ใหม เพือ่ สงเสริมการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพและทราบสถานการณ
การเจริญเติบโตที่เปนจริงของเด็กไทย
การดําเนินงานดังกลาว คณะทํางานไดดําเนินการเสร็จสิ้นจนไดออกมาเปนเกณฑอางอิง
การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป โดยความรวมมืออยางดีจากสถานศึกษาตัง้ แตระดับอนุบาลจนถึงระดับ
อุดมศึกษาทัง้ ของรัฐและเอกชน ทีใ่ หคณะทํางานไดลงเก็บขอมูล สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ไดแก นครปฐม
ปทุมธานี สระบุรี สุพรรณบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครราชสีมา ขอนแกน ยโสธร นครสวรรค พิษณุโลก ลําปาง
ชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง กรุงเทพมหานคร ศูนยอนามัยที่ 1 - 12 และ สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง
ทีใ่ หความรวมมือในการประสานพืน้ ที่ รวมทัง้ ผูเ ชีย่ วชาญดานโภชนาการจากมหาวิทยาลัยตาง ๆ ทีร่ ว มกัน
ดําเนินการจนไดออกมาเปนเกณฑอา งอิงการเจริญเติบโตเปนผลสําเร็จเรียบรอย เปนแนวทางทีใ่ ชเปนเกณฑ
อางอิงและการสงเสริมการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพของเด็กไทย จึงขอขอบคุณเปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้
กรมอนามัย หวังเปนอยางยิ่งวา คูมือเลมนี้จะเปนประโยชนตอภาคีเครือขายที่นําเกณฑอางอิง
การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป ชุดใหม ไปใชในการเฝาระวังและติดตามการเจริญเติบโตของเด็ก
อายุ 6 - 19 ป เพื่อใหเด็กไทยมีการเจริญเติบโตเต็มตามศักยภาพตอไป

กรมอนามัย
กุมภาพันธ 2564
ข คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

สารบัญ
หนา
บทนํา ง
ดัชนีบงชี้ที่ใชในการประเมินการเจริญเติบโต 1
นํ้าหนักตามเกณฑอายุ (weight for age) 1
สวนสูงตามเกณฑอายุ (height for age) 2
นํ้าหนักตามเกณฑสวนสูง (weight for height) 3
การจัดทําเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของประเทศไทยที่ผานมา จนถึงปจจุบัน 6
การจัดทําเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตในอดีตที่ผานมา 6
การประยุกตใชมาตรฐานการเจริญเติบโตขององคการอนามัยโลกในประเทศไทย 7
การจัดทําเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 – 19 ป ปจจุบัน 8
- พื้นที่ดําเนินการ 9
- กลุมเปาหมาย 9
- การคัดเลือกกลุมตัวอยาง 9
- ขนาดตัวอยาง 11
- ผลการเก็บขอมูล 12
ภาคผนวก 13
การเลือกเคร�่องชั่งน้ำหนักและว�ธีการชั่งน้ำหนัก 14
การเลือกเคร�่องวัดส‹วนสูงและว�ธีการวัดส‹วนสูง 15
ความผิดพลาดที่อาจเกิดข�้นจากการประเมิน 17
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป ค

สารบัญตาราง
หนา
ตารางที่ 1 คำที่ใชŒแสดงระดับการเจร�ญเติบโตและความหมายของระดับการเจร�ญเติบโต 5
แยกตามดัชนีบ‹งชี้
ตารางที่ 2 เกณฑคัดเลือกกลุ‹มตัวอย‹าง 10
ตารางที่ 3 เกณฑการคัดออก 10
ตารางที่ 4 จำนวนกลุ‹มตัวอย‹างที่เก็บขŒอมูลในแต‹ละอายุเปšนรายเดือนแยกเพศและจังหวัด 11
ตารางที่ 5 จำนวนกลุ‹มตัวอย‹างทั้งหมด แยกตามจังหวัดและเพศ 12
ตารางที่ 6 แสดงเกณฑอŒางอิงการเจร�ญเติบโตน้ำหนักตามเกณฑอายุ 18
ตารางที่ 7 แสดงเกณฑอŒางอิงการเจร�ญเติบโตส‹วนสูงตามเกณฑอายุ 31
ตารางที่ 8 แสดงเกณฑอŒางอิงการเจร�ญเติบโตน้ำหนักตามเกณฑส‹วนสูง 44

สารบัญภาพ
หนา
ภาพที่ 1 เคร�่องชั่งน้ำหนัก 14
ภาพที่ 2 ว�ธีการวัดส‹วนสูง 16
ภาพที่ 3 ท‹ามาตรฐานในการวัดส‹วนสูง 16
กราฟแสดงน้ำหนักตามเกณฑอายุของเด็กอายุ 6 – 19 ป‚ เพศหญิง 49
กราฟแสดงน้ำหนักตามเกณฑอายุของเด็กอายุ 6 – 19 ป‚ เพศชาย 50
กราฟแสดงส‹วนสูงตามเกณฑอายุของเด็กอายุ 6 – 19 ป‚ เพศหญิง 51
กราฟแสดงส‹วนสูงตามเกณฑอายุของเด็กอายุ 6 – 19 ป‚ เพศชาย 52
กราฟแสดงน้ำหนักตามเกณฑสูงส‹วนของเด็กอายุ 6 – 19 ป‚ เพศหญิง 53
กราฟแสดงน้ำหนักตามเกณฑสูงส‹วนของเด็กอายุ 6 – 19 ป‚ เพศชาย 54
ง คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

บทนํา
อาหารและโภชนาการเปนปจจัยหลักสําหรับการเจริญเติบโตของเด็ก ซึ่งโภชนาการที่ดี
เปนพื้นฐานสําคัญของการมีสุขภาพดี ดังนั้นการประเมินภาวะโภชนาการดวยการวัดสัดสวนของรางกาย
จัดเปนสวนหนึง่ ทีจ่ าํ เปนสําหรับการประเมินสุขภาพ ไดแก นํา้ หนักและสวนสูง โดยอาศัยหลักการทีว่ า ขนาดและ
สวนประกอบของรางกายจะเปลีย่ นแปลงตามภาวะโภชนาการของบุคคล ซึง่ เปนผลมาจากลักษณะของอาหาร
ทีบ่ ริโภค และการใชประโยชนของสารอาหารในรางกายของบุคคล ดังนัน้ ผลจากการวัดสัดสวนของรางกาย
จึงสามารถใชเปนดัชนีชวี้ ดั ทีส่ ะทอนภาวะสุขภาพของบุคคล การเจริญเติบโตของเด็กทีเ่ กีย่ วของกับอาหารและ
โภชนาการของบุคคล นัน้ ๆ และสามารถแปลผลขอมูลโดยใชการเปรียบเทียบกับการเจริญเติบโตของเด็ก
ที่มีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพเปนเกณฑอางอิง
จากสภาพสังคมและเศรษฐกิจของประเทศทีไ่ ดมกี ารเปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็ว มีผลทําให
เด็กไทยมีขนาดรางกายเพิ่มขึ้นทั้งนํ้าหนักและสวนสูง ดังนั้นการสงเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กไทย
กับมาตรฐานที่นํามาใชเปนตัวเปรียบเทียบตองเหมาะสมตอการพัฒนาความเจริญเติบโต การจัดทําเกณฑ
อางอิงการเจริญเติบโตที่เปนปจจุบัน จึงมีความจําเปนเพื่อนําไปสูการพัฒนาใหเด็กไทยมีการเจริญเติบโต
เต็มตามศักยภาพ
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 1

ดัชนีชี้วัดที่ใชในการประเมินการเจริญเติบโต
การใชนํ้าหนักและสวนสูงในการประเมินภาวะการเจริญเติบโต มี 3 ดัชนี คือ นํ้าหนัก
ตามเกณฑอายุ (weight for age) สวนสูงตามเกณฑอายุ (height for age) และนํา้ หนักตามเกณฑสว นสูง
(weight for height) ดัชนีแตละตัวจะใหความหมายในการประเมินซึ่งมีขอเดนและขอดอยที่แตกตางกัน
โดยเฉพาะเมื่อนําไปใชในการสํารวจภาคตัดขวาง (cross-sectional survey) จึงมีขอพึงระวังในการแปล
ความหมายจากการประเมินไดดังนี้

นํ้าหนักตามเกณฑอายุ (weight for age)


นํา้ หนักตามเกณฑอายุ นํา้ หนักเปนผลรวมของกลามเนือ้ ไขมัน นํา้ และกระดูก นํา้ หนัก
ตามเกณฑอายุเปนดัชนีบง ชีถ้ งึ ความสัมพันธของการเจริญเติบโตของนํา้ หนักทีเ่ พิม่ ขึน้ ตามอายุของเด็ก เปนดัชนี
ที่นิยมใชแพรหลาย ในการประเมินภาวะการขาดโปรตีนและพลังงาน
ขอเดน
1. เปนดัชนีที่ใชงาย รวดเร็ว ไมจําเปนตองใชผูที่มีความชํานาญเฉพาะดานในการวัด
2. สามารถสะทอนขนาดของปญหาการขาดโดยรวม ทั้งการขาดโปรตีนและพลังงาน
แบบเฉียบพลันที่ทําใหเด็กผอม หรือการขาดโปรตีนและพลังงานแบบเรื้อรังที่ทําใหเด็กตัวเตี้ย หรือปญหา
การบกพรองทั้งสองดาน ใชสะทอนผลกระทบโดยรวมของภาวะวิกฤตฉุกเฉินได
3. มีการเปลีย่ นแปลงเร็วพอจะเห็นไดงา ย เปนประโยชนในการศึกษาติดตามการเจริญเติบโต
ของเด็ก ซึง่ มีการวัดเปนระยะ ๆ ในระบบเฝาระวังทางโภชนาการโดยเฉพาะอยางยิง่ ในทารกและเด็กกอนวัยเรียน
ขอดอย
1. ในกรณีของเด็กที่มีนํ้าหนักนอยกวาเกณฑจะไมสามารถแยกไดชัดเจนวานํ้าหนักนอย
เนือ่ งจากการขาดโปรตีนและพลังงานแบบฉับพลัน (ผอม) หรือแบบเรือ้ รัง (เตีย้ ) อยางไรก็ตามสําหรับเด็ก
อายุตาํ่ กวา 2 ป ซึง่ การขาดสารอาหารอยางเรือ้ รังยังไมปรากฏมากนัก นํา้ หนักตามเกณฑอายุทต่ี าํ่ กวาเกณฑ
อางอิงยังใชเปนดัชนีของการขาดโปรตีนและพลังงานแบบฉับพลันได
2. เด็กที่มีรูปรางคอนขางสูงหรือสูงมากเนื่องจากไดรับการเลี้ยงดูดีและมีพันธุกรรมสูง
อาจจะมีนาํ้ หนักตามเกณฑอายุมากกวาเกณฑอา งอิงและถูกเขาใจวาเปนเด็กทีม่ ภี าวะโภชนาการเกินทัง้ ๆ
ที่มีนํ้าหนักเหมาะสมกับสวนสูง (สมสวน) ดังนั้นดัชนีนํ้าหนักตามเกณฑอายุจึงเปนดัชนีบงชี้ที่ไมเหมาะสม
สําหรับการประเมินภาวะโภชนาการเกินในเด็กอายุตั้งแต 2 ปขึ้นไป
3. เด็กทีม่ อี ายุเดียวกันและมีนาํ้ หนักเทากันแตมสี ว นสูงแตกตางกัน ทําใหมภี าวะอวน - ผอม
แตกตางกันได คืออาจเปนเด็กที่มีรูปรางผอม หรือเด็กที่มีสวนสูงปกติรูปรางสมสวน หรือเด็กที่อวนเตี้ย
จะถูกประเมินวามีภาวะโภชนาการในระดับเดียวกันหมด
4. เด็กที่มีปญหาสุขภาพที่มีอาการบวม หรือเด็กที่ขาดสารอาหารโปรตีนและพลังงาน
อยางรุนแรงจะมีอาการบวม ซึ่งทําใหมีนํ้าหนักเพิ่มขึ้น อาจแปลผลผิดวาเปนเด็กปกติ
5. จําเปนตองทราบอายุที่แทจริงของเด็ก
2 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

การใชกราฟนํา้ หนักตามเกณฑอายุ เปนการนํานํา้ หนักมาเทียบกับเกณฑมาตรฐานของเด็ก


ที่มีอายุเทากัน ใชดูนํ้าหนักของเด็กวามีนํ้าหนักมากหรือนอยกวาเกณฑเมื่อเทียบกับเด็กที่มีอายุเทากัน
แตไมสามารถบอกไดวาเด็กอวนหรือไม แบงกลุมภาวะการเจริญเติบโตเปน 5 ระดับ คือ
1) นํ้าหนักมาก (มากกวา +2 SD) หมายถึง ยังบอกไมไดวาเด็กอวนหรือไม ตองประเมิน
โดยใชกราฟนํ้าหนักตามเกณฑสวนสูง
2) นํา้ หนักคอนขางมาก (อยูเ หนือเสน +1.5 SD ถึง +2 SD) หมายถึง นํา้ หนักอาจอยูใ นเกณฑ
เสี่ยงตอนํ้าหนักมาก ตองประเมินโดยใชกราฟนํ้าหนักตามเกณฑสวนสูง
3) นํา้ หนักตามเกณฑ (อยูร ะหวางเสน -1.5 SD ถึง +1.5 SD) หมายถึง นํา้ หนักเหมาะสม
กับอายุ
4) นํา้ หนักคอนขางนอย (อยูต าํ่ กวาเสน -1.5 SD ถึง –2 SD) หมายถึง นํา้ หนักอยูใ นเกณฑ
เสี่ยงตอการขาดอาหาร
5) นํ้าหนักนอย (อยูตํ่ากวาเสน –2 SD) หมายถึง นํ้าหนักอยูในเกณฑขาดอาหาร

ส‹วนสูงตามเกณฑอายุ (height for age)


สวนสูงตามเกณฑอายุ สวนสูงทีส่ มั พันธกบั อายุเปนดัชนีบง ชีภ้ าวะการเจริญเติบโตทีเ่ กิดขึน้
อยางตอเนือ่ งยาวนานในอดีต ถาเด็กไดรบั อาหารไมเพียงพอเปนเวลานาน หรือมีการเจ็บปวยบอย ๆ มีผลให
อัตราการเจริญเติบโตของโครงสรางของกระดูกเปนไปอยางเชื่องชาหรือชะงักงัน ทําใหเปนเด็กตัวเตี้ย
(stunting) กวาเด็กที่เปนเกณฑอางอิงซึ่งมีอายุเดียวกัน ดังนั้นสวนสูงตามเกณฑอายุจึงเปนดัชนีบงชี้ภาวะ
การขาดโปรตีนและพลังงานแบบเรื้อรังมาเปนระยะเวลานาน ทําใหมีความบกพรองของการเจริญเติบโต
ดานโครงสรางสวนสูงทีละเล็กละนอย ถาไมไดรับการแกไขก็จะสะสมความพรองจนตกเกณฑ
ขอเดน
1. เปนดัชนีบงชี้ภาวะการเจริญเติบโต (ของโครงสรางรางกาย) ไดชัดเจน
2. เปนดัชนีบงชี้ถึงการพัฒนาการเจริญเติบโตของเด็กในทองถิ่นวาดีเพียงใด ใชสะทอน
ระดับการพัฒนาทองถิ่นโดยรวม
ขอดอย
1. การเปลีย่ นแปลงของสวนสูงจะเปนไปอยางชา ๆ จึงไมเหมาะสมสําหรับเปนดัชนีในการ
ติดตามประเมินผลโครงการ
2. จําเปนตองทราบอายุที่แทจริงของเด็ก
การใชกราฟสวนสูงตามเกณฑอายุ เปนการนําสวนสูงมาเทียบกับเกณฑมาตรฐานของเด็ก
ทีม่ อี ายุเทากัน ใชดกู ารเจริญเติบโตไดดที สี่ ดุ และบอกลักษณะของการเจริญเติบโตไดวา เปนเด็กสูงหรือเตีย้
เมื่อเปรียบเทียบกับเด็กทั่วไปที่มีอายุเทากัน แบงกลุมภาวะการเจริญเติบโตเปน 5 ระดับ คือ
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 3

1) สูง (มากกวา +2 SD) หมายถึง สวนสูงอยูใ นเกณฑดมี าก ๆ มีการเจริญเติบโตมากกวา


เด็กทั่วไปในอายุเดียวกัน เปนสวนสูงที่จะตองสงเสริมใหเด็กมีการเจริญเติบโตอยูในระดับนี้
2) คอนขางสูง (อยูเหนือเสน +1.5 SD ถึง +2 SD) หมายถึง สวนสูงอยูในเกณฑดีมากมี
การเจริญเติบโตมากกวาเด็กทัว่ ไปในอายุเดียวกัน เปนสวนสูงทีจ่ ะตองสงเสริมใหเด็กมีการเจริญเติบโตอยูใ น
ระดับนี้เชนกัน
3) สูงตามเกณฑอายุ (อยูร ะหวางเสน -1.5 SD ถึง +1.5 SD) หมายถึง สวนสูงอยูใ นเกณฑดี
แสดงวามีสวนสูงเหมาะสมตามอายุ จะตองสงเสริมใหเด็กมีการเจริญเติบโตอยูในระดับนี้เชนกัน
4) คอนขางเตีย้ (อยูต าํ่ กวาเสน -1.5 SD ถึง –2 SD) หมายถึง สวนสูงอยูใ นเกณฑเสีย่ งตอ
การขาดอาหารแบบเรื้อรัง เปนการเตือนใหระวัง หากไมดูแลสวนสูงจะเปนเด็กเตี้ยได
5) เตีย้ (อยูต าํ่ กวาเสน –2 SD) หมายถึง สวนสูงอยูใ นเกณฑขาดอาหารแบบเรือ้ รังมีสว นสูง
นอยกวามาตรฐาน แสดงถึงการไดรบั อาหารไมเพียงพอเปนเวลานาน ขาดอาหารเรือ้ รัง มีการเจ็บปวยบอย ๆ
ซึ่งมีผลทําใหเกิดความชะงักของการเจริญเติบโต

นํ้าหนักตามเกณฑส‹วนสูง (weight for height)


นํ้าหนักตามเกณฑสวนสูง เนื่องจากนํ้าหนักเปลี่ยนแปลงไดรวดเร็วกวาสวนสูง ถาเด็ก
ไดรับอาหารไมเพียงพอจะมีนํ้าหนักลดลง มีภาวะผอม (wasting) ดังนั้นนํ้าหนักตามเกณฑสวนสูงจึงเปน
ดัชนีบงชี้ที่ไวในการสะทอนภาวะโภชนาการในปจจุบัน แมไมทราบอายุที่แทจริง และอิทธิพลจากเชื้อชาติ
มีผลกระทบนอย และเปนดัชนีบงชี้ภาวะโภชนาการเกิน (ภาวะอวน) ที่ใชกันอยูในสากล
ขอเดน
1. ไมจําเปนตองทราบอายุ
2. เปนดัชนีบง ชีท้ ใี่ ชประเมินภาวะโภชนาการทัง้ ดานขาดและเกินไดเมือ่ ใชรว มกับดัชนีสว นสูง
ตามเกณฑอายุจะสามารถแยกแยะเด็กทีม่ รี ปู รางสูงใหญแตสมสวนจากเด็กผอมทีม่ สี ว นสูงมาก และเด็กอวนเตีย้
3. เปนดัชนีที่เหมาะสมสําหรับการติดตามประเมินผลโครงการระยะสั้น เพราะนํ้าหนัก
จะสามารถปรับขึ้นมาสมดุลกับสวนสูงในระยะเวลาสั้น ใชสะทอนภาวะวิกฤตฉุกเฉินได
ขอดอย
1. ดัชนีนจี้ ะประเมินไดเพียงเด็กมีรปู รางผอมหรือสมสวนหรืออวน หากไมใชรว มกับสวนสูง
ตามเกณฑอายุ จะไมสามารถแยกแยะไดวา เด็กสมสวนนัน้ เปนเด็กเตีย้ สมสวนหรือไม และไมสามารถแยกแยะ
เด็กผอมวาเปนเด็กเตี้ยและผอม (แคระแกร็น) ซึ่งมีปญหารุนแรงที่สุดหรือเด็กที่มีปญหาผอมอยางเดียว
จึงไมควรใชเพียงลําพัง ควรใชควบคูกับสวนสูงตามเกณฑอายุ
2. การใชเฉพาะนํ้าหนักตามเกณฑสวนสูงในการประเมินภาวะการเจริญเติบโตจะได
ความชุกของเด็กขาดอาหารตํ่ากวาความเปนจริงได โดยเฉพาะในเขตชนบท หรือชุมชนที่มีฐานเศรษฐกิจ
ยากจน เพราะมักจะมีเด็กเตี้ยสมสวนอยูจํานวนหนึ่ง
4 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

การใชกราฟนํา้ หนักตามเกณฑสว นสูง เปนการนํานํา้ หนักเทียบกับมาตรฐานทีส่ ว นสูงเดียวกัน


ใชดูลักษณะการเจริญเติบโตวาเด็กมีนํ้าหนักเหมาะสมกับสวนสูงหรือไม เพื่อบอกวาเด็กมีรูปรางสมสวน
อวน หรือผอม แบงกลุมภาวะการเจริญเติบโตเปน 6 ระดับ คือ
1) อวน (อยูเ หนือเสน +3 SD) หมายถึง มีภาวะอวนชัดเจน (อวนระดับ 2) มีนาํ้ หนักมากกวา
เด็กทีม่ สี ว นสูงเทากันอยางมาก เด็กมีโอกาสทีจ่ ะเกิดโรคแทรกซอนและเปนผูใ หญอว นมากยิง่ ขึน้ ในอนาคต
หากไมควบคุมนํ้าหนัก
2) เริม่ อวน (อยูเ หนือเสน +2 SD ถึง +3 SD) หมายถึง นํา้ หนักมากกอนเกิดภาวะอวนชัดเจน
(อวนระดับ 1) มีนาํ้ หนักมากกวาเด็กทีม่ สี ว นสูงเทากัน เด็กมีโอกาสทีจ่ ะเกิดโรคแทรกซอนและเปนผูใ หญอว น
ในอนาคต หากไมควบคุมนํ้าหนัก
3) ทวม (อยูเ หนือเสน +1.5 SD ถึง +2 SD) หมายถึง นํา้ หนักอยูใ นเกณฑเสีย่ งตอการมีภาวะ
เริ่มอวน เปนการเตือนใหระวัง หากไมดูแลนํ้าหนักจะเพิ่มขึ้นอยูในระดับเริ่มอวน
4) สมสวน (อยูระหวาง -1.5 SD ถึง +1.5 SD) หมายถึง นํ้าหนักอยูในเกณฑท่ีเหมาะสม
กับสวนสูง ตองสงเสริมใหเด็กมีการเจริญเติบโตอยูในระดับนี้ แตอาจพบการแปลผลผิดในกรณีที่เด็กเตี้ย
ซึ่งมักพบวาเด็กมีรูปรางสมสวนเชนกัน ในกรณีเชนนี้ ถือวาเด็กมีภาวะขาดอาหาร (เตี้ย) แมวาเด็กจะมีรูปราง
สมสวนก็ตาม
5) คอนขางผอม (อยูตํ่ากวาเสน -1.5 SD ถึง -2 SD) หมายถึง นํ้าหนักอยูในเกณฑเสี่ยง
ตอภาวะผอม เปนการเตือนใหระวังหากไมดูแลนํ้าหนักจะไมเพิ่มขึ้นหรือลดลง อยูในระดับผอม
6) ผอม (อยูต่ํากวาเสน -2 SD) หมายถึง นํ้าหนักอยูในเกณฑขาดอาหารฉับพลัน มีนํ้าหนัก
นอยกวามาตรฐานที่มีสวนสูงเทากัน แสดงวา ไดรับอาหารไมเพียงพอ
จากความหมาย ขอเดนและขอดอยที่แตกตางกันของดัชนีแตละตัว จะเห็นไดวาการใชดัชนี
มากวา 1 ตัว รวมกันในการประเมินภาวะการเจริญเติบโต จะทําใหทราบภาวะการเจริญเติบโตของเด็ก
ไดถูกตองชัดเจนและเลือกวิธีการแกไขปญหาไดถูกตองสอดคลองกับลักษณะของปญหามากขึ้น สําหรับเด็ก
อายุ 6 - 19 ป นัน้ เราจึงนิยมใชดชั นีอยู 2 ตัว ทีใ่ ชในการประเมินการเจริญเติบโตนัน่ ก็คอื สวนสูงตามเกณฑอายุ
และนํ้าหนักตามเกณฑสวนสูง เราจึงเรียกการแปลผลดัชนีทั้งสองนี้วา “สูงดีสมสวน” คือเด็กที่มีสวนสูงอยูใน
ระดับสูงตามเกณฑขึ้นไป โดยดูจากกราฟสวนสูงตามเกณฑอายุ และมีนํ้าหนักอยูในระดับสมสวน โดยดูจาก
กราฟนํ้าหนักตามเกณฑสวนสูง (ในเด็กคนเดียวกัน)
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 5

ตารางที่ 1 คําทีใ่ ชแสดงระดับการเจริญเติบโตและความหมายของระดับการเจริญเติบโตแยกตามดัชนีบง ชี้


ดัชนีบงชี้ จุดตัด ภาวะการเจริญเติบโต การแปลผล
ยังบอกไมไดวาเด็กอวนหรือไม
>+2 SD นํ้าหนักมาก ตองประเมินโดยใช
กราฟนํ้าหนักตามเกณฑสวนสูง
นํ้าหนักอาจอยูในเกณฑเสี่ยงตอ
นํ้าหนักตามเกณฑอายุ >+1.5 SD ถึง +2 SD นํ้าหนักคอนขางมาก นํ้าหนักมาก ตองประเมินโดยใช
กราฟนํ้าหนักตามเกณฑสวนสูง
+1.5 SD ถึง -1.5 SD นํ้าหนักตามเกณฑ นํ้าหนักเหมาะสมกับอายุ
< -1.5 SD ถึง -2 SD นํ้าหนักคอนขางนอย นํ้าหนักอาจอยูในเกณฑเสี่ยงตอ
การขาดอาหาร
<-2 SD นํ้าหนักนอย นํ้าหนักอยูในเกณฑขาดอาหาร
>+2 SD สูง สวนสูงอยูในเกณฑดีมาก ๆ
>+1.5 SD ถึง +2 SD คอนขางสูง สวนสูงอยูในเกณฑดีมาก
+1.5 SD ถึง -1.5 SD สูงตามเกณฑ สวนสูงเหมาะสมกับอายุ
สวนสูงตามเกณฑอายุ < -1.5 SD ถึง -2 SD คอนขางเตี้ย สวนสูงอยูในเกณฑเสี่ยงตอ
การขาดอาหารเรื้อรัง
<-2 SD เตี้ย สวนสูงอยูในเกณฑ
ขาดอาหารเรื้อรัง
>+3 SD อวน ภาวะอวนชัดเจน
>+2 SD ถึง +3 SD เริ่มอวน นํ้าหนักมากกอนเกิด
ภาวะอวนชัดเจน
>+1.5 SD ถึง +2 SD ทวม นํ้าหนักอยูในเกณฑเสี่ยงตอ
นํ้าหนัก ภาวะเริ่มอวน
ตามเกณฑสวนสูง +1.5 SD ถึง -1.5 SD สมสวน นํ้าหนักอยูในเกณฑ
เหมาะสมกับสวนสูง
< -1.5 SD ถึง -2 SD คอนขางผอม นํ้าหนักอยูในเกณฑเสี่ยงตอ
ภาวะผอม
<-2 SD ผอม นํ้าหนักอยูในเกณฑ
ขาดอาหารฉับพลัน
6 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

การจัดทําเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของประเทศไทยที่ผานมา จนถึงปจจุบัน
การจัดทําเกณฑอŒางอิงการเจริญเติบโตในอดีตที่ผ‹านมา
ประเทศไทย ไดจัดทําเกณฑอางอิงนํ้าหนักและสวนสูงในเด็กอายุตํ่ากวา 5 ป ครั้งแรก
ในป พ.ศ. 2518 กองโภชนาการ (ในขณะนั้น) กรมอนามัย รวมกับคณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล
มหาวิทยาลัยมหิดล โดยกลุมตัวอยางเปนเด็กปกติที่มาจากครอบครัวที่มีฐานะทางเศรษฐกิจปานกลาง
ในกรุงเทพมหานคร จํานวน 7,354 คน คาเฉลี่ย (Mean) ของนํ้าหนักเปนรายเดือนไดถูกนํามาสราง
เปนเสนโคงบนกราฟ และใชวิธีการแบงระดับตามวิธีของ Gomez และไดนํามาใชในการประเมิน
ภาวะโภชนาการของเด็กอายุตํ่ากวา 5 ป โดยอาสาสมัครสาธารณสุขและเจาหนาที่สาธารณสุขทั่วประเทศ
ขอมูลทีไ่ ดนอกจากการใชในพืน้ ทีแ่ ลว ไดถกู นํามารวบรวมเพือ่ ใชประกอบการวางแผนและการประเมินผล
ในระดับประเทศดวย
ในป พ.ศ. 2528 กองโภชนาการ (ในขณะนั้น) กรมอนามัย ไดจัดทํามาตรฐานนํ้าหนัก
สวนสูง และเครื่องมือชี้วัดภาวะโภชนาการของประชาชนไทยอายุ 1 วัน - 19 ป ในกลุมตัวอยาง semi
potential group ขึน้ อีกครัง้ มีการเปรียบเทียบกันพบวาเด็กไทยในกรุงเทพมหานคร เมือ่ ป พ.ศ. 2518 และ
เด็กไทยทัว่ ประเทศ ป พ.ศ. 2528 เมือ่ อายุ 18 ป มีสว นสูงไมเปลีย่ นแปลง ดวยเหตุนแี้ บบบันทึกการเจริญเติบโต
ของเด็ก 0 – 4 ป จึงไมไดเปลี่ยนแปลง ยังคงใชขอมูลของป พ.ศ. 2518 ผลการประเมินภาวะโภชนาการ
ขึ้ น กั บ มาตรฐานที่ นํ า มาใช เ ป น ตั ว เปรี ย บเที ย บด ว ยลั ก ษณะมาตรฐานเด็ ก ไทยดั ง กล า วข า งต น
ระดับความเจริญเติบโตของเด็กชุมชนเมืองจะสูงกวามาตรฐานอยูเ สมอ ระดับมาตรฐานทีใ่ ชอยูอ าจเปนเกณฑ
ตัดสินที่ไมเหมาะสมตอการพัฒนาความเจริญเติบโตและขนาดของปญหาที่ประเมินไดอาจตํ่ากวา
ที่เปนจริง ดังนั้นประเทศไทยซึ่งมีปจจัยคอนขางพรอมที่จะพัฒนาระดับการเจริญเติบโตของเด็กไทย
และหากไดมกี ารสํารวจการเจริญเติบโตใหมในกลุม ตัวอยาง potential group เพือ่ นําไปสูก ารตัง้ เปาหมาย
ของระดับความเจริญเติบโตที่ตองการพัฒนาใหเด็กไทยไปถึงใหเหมาะสมกับศักยภาพที่แทจริง ก็จะชวย
ใหเห็นระยะทางที่จะตองดําเนินการใหเด็กไทยเจริญเติบโตไดชัดเจนขึ้น
ตอมาในป พ.ศ. 2538 กองโภชนาการ (ในขณะนั้น) กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
รวมกับสถาบันการศึกษาตาง ๆ จัดทําเกณฑอางอิงนํ้าหนัก สวนสูง และเครื่องชี้วัดภาวะโภชนาการของ
ประชาชนไทยอายุ 1 วัน - 19 ป เพื่อใชเปนเกณฑเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของเด็กไทย การจัดทํา
ขอมูลเกณฑอางอิงในครั้งนี้ใชขอมูลการวัดสวนตาง ๆ ของรางกายเด็กไทย กลุมที่มีโอกาสเจริญเติบโต
ไดเต็มศักยภาพ (full potential) ของชวงเวลาที่ทําการศึกษาจากคลินิกเด็กดี สถานรับเลี้ยงเด็กออน
โรงเรียนอนุบาล โรงเรียนระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และระดับมหาวิทยาลัย ในเขตตัวเมือง
ของ 17 จังหวัด ไดแก กรุงเทพมหานคร พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ชลบุรี ระยอง ราชบุรี นครราชสีมา
อุบลราชธานี ขอนแกน อุดรธานี เชียงใหม ลําปาง พิษณุโลก นครสวรรค สงขลา นครศรีธรรมราช และยะลา
โดยการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางเปนชวง ๆ ละ 1 เดือน ตรงกับ age of midpoint จํานวนตัวอยาง
ชวงอายุละ 100 คน ในแตละเพศใช Moving average ในการปรับคาชั่ง - วัด ตาง ๆ ใหเปนเสนตอเนื่อง
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 7

ของรูปแบบการเจริญเติบโตในวัยตาง ๆ หรือเสนโคงการเจริญเติบโต (growth curve) แลวนํามาสราง


เปนกราฟการเจริญเติบโตของนํา้ หนักตามเกณฑอายุ สวนสูงตามเกณฑอายุและนํา้ หนักตามเกณฑสว นสูง
โดยจัดแบงกราฟเปน 3 กลุมอายุ คือ อายุ 0 - 2 ป 2 - 7 ป และ 5 - 18 ป แยกเพศชายและเพศหญิง
ใชระบบ Z-scores (ระบบที่ใชคาเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับตาง ๆ เปนตัวกําหนดเกณฑตัดสิน
ภาวะการเจริญเติบโต) สําหรับการกําหนดเกณฑประเมินภาวะการเจริญเติบโต โดยดัชนีนาํ้ หนักตามเกณฑอายุ
สวนสูงตามเกณฑอายุมีจุดตัด (cut-off point) 5 จุด ไดแก +2 SD +1.5 SD Median -1.5 SD
และ -2 SD สวนนํ้าหนักตามเกณฑสวนสูงมีจุดตัดเพิ่มอีก 1 จุด คือ +3 SD รวมเปน 6 จุด
โดยเกณฑตัดสินที่คานอยกวา -2 SD แสดงภาวะทุพโภชนาการดานขาดทั้ง 3 ดัชนี
และทีค่ า มากกวา +2 SD แสดงภาวะทุพโภชนาการเกิน สําหรับดัชนีนาํ้ หนักตามเกณฑสว นสูง (ภาวะอวน)
เปนอัตราปญหาทุพโภชนาการทีต่ อ งการรายงานเขาสูร ะบบเฝาระวังการเจริญเติบโต เกณฑตดั สินดังกลาวนี้
เปนระบบเดียวกันกับทีอ่ งคการอนามัยโลกใชในเกณฑอา งอิงระหวางประเทศ และไดถกู ทดสอบเปรียบเทียบ
(โดยใชขอมูลกลุมประชากรเด็ก จากการสํารวจภาวะอาหารและโภชนาการของประเทศไทยครั้งที่ 4
พ.ศ. 2538) พบวาใหผลอัตราความชุกของปญหาโภชนาการของเด็กปฐมวัยและเด็กประถมศึกษา ใกลเคียง
กับเกณฑอางอิงระหวางประเทศและใกลเคียงกับเกณฑมาตรฐานไทยที่ใชอยูเดิมสําหรับเด็กประถมศึกษา
(จึงพอจะใชเปรียบเทียบระดับปญหาทุพโภชนาการกับนานาชาติได และในเด็กประถมศึกษาสามารถ
ประเมินตอเนื่องกับมาตรฐานชุดเดิมได) สวนเกณฑ ± 1.5 SD จะเปนจุดเตือน ซึ่งควรใชในการติดตาม
ดูแลเด็กรายบุคคล (ขณะเดียวกัน < -1.5 SD จะระบุขนาดปญหาภาวะนํ้าหนักตํ่ากวาเกณฑอายุของเด็ก
ปฐมวัยใกลเคียงพอจะเปรียบเทียบกับขนาดของปญหาที่ประเมินดวยมาตรฐานที่เคยใชในระบบเฝาระวัง
การเจริญเติบโตอยูเดิม)
การจัดแบงกราฟออกเปนกลุม อายุคอื อายุ 0 - 6 ป นําไปใชในระบบเฝาระวังและติดตาม
ทางโภชนาการของเด็กอายุตาํ่ กวา 6 ป ในหมูบ า น และไดจดั ทํากลุม อายุ 0 - 2 ป และ 2 - 7 ป เพือ่ ใหได
กราฟที่ขยายกวางขึ้น ทั้งนี้กราฟอายุ 2 - 7 ป ใชสําหรับเด็กอนุบาล และกราฟอายุ 5 - 18 ป ใชสําหรับ
เด็กประถมศึกษาและมัธยมศึกษา

การประยุกตใชŒมาตรฐานการเจริญเติบโตขององคการอนามัยโลกในประเทศไทย
องคการอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) ไดพยายามทีจ่ ะทํามาตรฐาน
การเจริญเติบโตที่ดีที่สุดหรือที่พึงปรารถนา (optimal growth) สําหรับเด็กปฐมวัยทั่วโลก โดยลาสุด
ในป ค.ศ. 2006 ไดจดั ทํากราฟการเจริญเติบโตมาตรฐานจาก Multicenter Growth Reference Study วิธกี าร
และรูปแบบการเก็บขอมูลของการจัดทําเกณฑอา งอิงการเจริญเติบโตขององคการอนามัยโลก ป ค.ศ. 2006
ไดมีการเก็บขอมูลจากเด็ก ซึ่งไดรับการเลี้ยงดูดีที่สุดตามคําแนะนําขององคการอนามัยโลก กลาวคือ
การไดรบั นมแมอยางเดียวใน 6 เดือนแรก และไดรบั การสนับสนุนอยางเพียงพอในเรือ่ งของสภาพแวดลอม
และอาหารเสริม โดยเริ่มเก็บขอมูลมาตั้งแตเดือน กรกฎาคม ค.ศ. 1997 - ธันวาคม ค.ศ. 2003 โดยเก็บ
ขอมูลทั้งจากประเทศที่พัฒนาแลวและประเทศกําลังพัฒนา 5 ทวีป 6 ประเทศ ไดแก บราซิล กานา
อินเดีย นอรเวย โอมาน และสหรัฐอเมริกา
8 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

การเก็บขอมูลเด็ก แบงเปนชวงอายุตงั้ แตแรกเกิด - 24 เดือน จะเก็บขอมูลแบบระยะยาว


(longitudinal) และอายุ 18 - 71 เดือน จะเก็บขอมูลแบบตัดขวาง (cross-sectional survey) ในการศึกษา
ระยะยาว (แรกเกิด - 24 เดือน) จะมีการเก็บขอมูลโดยการเยีย่ มบานตัง้ แตแรกเกิดเปนตนไป จํานวนทัง้ หมด
21 ครั้ง ในสัปดาหที่ 1, 2, 4 และ 6 เก็บเปนรายเดือนที่ 2 - 12 จากนั้นจะเก็บขอมูลครั้งละ 2 เดือน
ในปที่ 2 สําหรับการศึกษาแบบตัดขวาง (18 - 71 เดือน) มีการประเมินเพียงครั้งเดียว ยกเวน 2 พื้นที่
(บราซิลและสหรัฐอเมริกา) ทีใ่ ชการศึกษาแบบ mixed- longitudinal ซึง่ เด็กบางคนถูกประเมิน 2 - 3 ครัง้
ในชวงเวลา 3 เดือน การประเมินจะมีการวัดความยาวและความสูงของเด็กทุกคนที่มีอายุ 18 - 30 เดือน
นอกจากนั้นยังมีการเก็บขอมูลการวัดสัดสวนของรางกาย ประเมินพัฒนาการ การฝกปฏิบัติใหอาหาร
การเจ็บปวยของเด็ก ปจจัยปริกําเนิด ขอมูลฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว และปจจัยดานสิ่งแวดลอม
จํานวนประชากรที่เก็บขอมูลเปนกลุมที่มีการเจริญเติบโตไดเต็มศักยภาพ ครอบครัว
ไมมีปญหาเรื่องภาวะทางเศรษฐกิจ ทั้งหมด 6,697 คน ในจํานวนนี้มีการคัดออกจากการสํารวจจํานวน
28 คน เนือ่ งจากมีขอ บงชีท้ างการแพทย เชน เปนโรค G6PD ภาวะขาดโปรตีนและพลังงาน ดังนัน้ จึงเหลือ
จํานวน 6,669 คน แบงเปนเพศชายจํานวน 3,450 คน และเพศหญิงจํานวน 3,219 คน เก็บขอมูล
โดยการชัง่ นํา้ หนัก วัดความยาว หรือวัดสวนสูงเด็ก และวัดรอบศีรษะ โดยการประเมินเปนเวลา 3 ครัง้ ในเวลา
3 เดือน แปลผลโดยใชเกณฑนํ้าหนักตามเกณฑสวนสูงหรือความยาว นํ้าหนักตามเกณฑอายุ สวนสูงหรือ
ความยาวตามเกณฑอายุ มีจดุ ตัด (cut-off point) 5 จุด ไดแก +3 SD +2 SD Median -1 SD และ -2 SD
ขอมูลการสํารวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจรางกาย ครัง้ ที่ 4 พ.ศ. 2551 - 2552
พบวาสวนสูงเฉลี่ยของเด็กสูงกวาคามัธยฐาน แสดงใหเห็นวาระดับเกณฑอางอิงที่ใชอยูอาจไมเหมาะสม
ตอการสงเสริมการเจริญเติบโตและขนาดของปญหาทีป่ ระเมินไดอาจตํา่ กวาทีเ่ ปนจริงในป พ.ศ. 2556 - 2557
จึงไดทบทวนเกณฑอางอิงนํ้าหนักและสวนสูงที่ใชในปจจุบันซึ่งเก็บขอมูลในเด็กไทยตั้งแตป พ.ศ. 2538
โดยกรมอนามัย รวมกับคณะกรรมการพัฒนาเกณฑอา งอิงการเจริญเติบโตของเด็กแรกเกิด - 18 ป ประกอบดวย
ผูเ ชีย่ วชาญดานโภชนาการจากมหาวิทยาลัยตาง ๆ ไดแก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยมหิดล
มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยขอนแกน และนักโภชนาการจากสํานักโภชนาการ กรมอนามัย ทีป่ ระชุม
มีมติใหเปลี่ยนมาใชมาตรฐานการเจริญเติบโตเด็กแรกเกิด - 5 ป ขององคการอนามัยโลก ป ค.ศ. 2006
ซึง่ เปนมาตรฐานสากล ในปจจุบนั ประเทศไทยไดเปลีย่ นมาใชกราฟการเจริญเติบโตขององคการอนามัยโลก
ป ค.ศ. 2006 สําหรับเด็กแรกเกิด - 5 ป เมื่อป พ.ศ. 2558 จนถึงปจจุบัน

การจัดทําเกณฑอŒางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป‚ ป˜จจุบัน
ในป พ.ศ. 2558 กรมอนามัย ไดแตงตัง้ คณะกรรมการจัดทําเกณฑอา งอิงการเจริญเติบโต
ของเด็กอายุ 5 - 19 ป ประกอบดวย ผูเ ชีย่ วชาญดานโภชนาการจากมหาวิทยาลัยตาง ๆ และนักโภชนาการ
จากสํานักโภชนาการ กรมอนามัย ที่ประชุมไดทบทวนเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 5 - 18 ป
ที่ใชในปจจุบัน ซึ่งเก็บขอมูลในเด็กไทยเมื่อป พ.ศ. 2538 โดยเปรียบเทียบคานํ้าหนักและสวนสูงระหวาง
เกณฑอางอิงการเจริญเติบโตขององคการอนามัยโลก (World Health Organization : WHO)
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 9

อายุทเี่ พิม่ ขึน้ โดยเฉพาะเมือ่ ป ค.ศ. 2007 และเกณฑอา งอิงการเจริญเติบโตของเด็กไทย พบวา คานํา้ หนัก
และสวนสูงแตกตางกัน เมือ่ เขาสูว ยั รุน ในชวงอายุ 10 - 19 ป เนือ่ งจากเกณฑอา งอิงการเจริญเติบโตของเด็ก
อายุ 5 - 19 ป ของ WHO ป ค.ศ. 2007 ถูกสรางขึน้ ใหมแตยงั คงใชขอ มูลชุดเดิมของศูนยสถิตสิ ขุ ภาพแหงชาติ
(National Center for Health Statics : NCHS) ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเปนขอมูลแบบภาคตัดขวาง
(cross-sectional study) และสํารวจจากเด็กอเมริกนั จึงมีอทิ ธิพลของพันธุกรรมเขามาเกีย่ วของ ทีป่ ระชุม
จึงมีมติใหใชเกณฑการเจริญเติบโตของเด็กไทย เพื่อลดอิทธิพลของพันธุกรรม สอดคลองกับการประชุม
The 1st Indonesian Sharing on Child Health Challenges Summit ป พ.ศ. 2557 ที่ประเทศ
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย มีขอสรุปวา การทํา National growth reference ในเด็กอายุ 5 - 19 ป นาจะใช
วินิจฉัยปญหาทุพโภชนาการของประเทศนั้น ๆ เพื่อติดตามและแกไขไดดีกวา คณะกรรมการจัดทําเกณฑ
อางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 5 - 19 ป จึงมีมติใหจัดทําเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ
5 - 19 ป ขึน้ ใหม เพือ่ สงเสริมการเจริญเติบโตใหเต็มศักยภาพและทราบสถานการณการเจริญเติบโตทีเ่ ปนจริง
พื้นที่ดําเนินการ
ดําเนินการเก็บขอมูลในโรงเรียนประถมศึกษา มัธยมศึกษา และมหาวิทยาลัย ที่อยูใน
เขตเมืองของจังหวัดเปาหมายทุกภาครวมทั้งกรุงเทพมหานคร จํานวน 16 จังหวัด ดังนี้
1. กรุงเทพมหานคร
2. ภูมภิ าค การคัดเลือกจังหวัด พิจารณาจากภาวะเตีย้ ของประชากรอายุ 4 - 19 ป จํานวนประชากร
อายุ 4 - 19 ป อัตราการศึกษาของเด็กอายุ 4 - 19 ป รายจังหวัด และรายไดเฉลี่ยตอหัวของประชากร
โดยพิจารณาจังหวัดที่มีมหาวิทยาลัยของรัฐและในกํากับของรัฐเปนหลัก
ภาคกลาง ไดแก นครปฐม ปทุมธานี สระบุรี
ภาคตะวันตก ไดแก สุพรรณบุรี
ภาคตะวันออก ไดแก ฉะเชิงเทรา ชลบุรี
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก นครราชสีมา ขอนแกน ยโสธร
ภาคเหนือ ไดแก นครสวรรค พิษณุโลก ลําปาง
ภาคใต ไดแก ชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง
กลุมเปาหมาย
เด็กอายุ 4 ป 6 เดือน - 19 ป ที่อาศัยอยูในอําเภอเมืองของจังหวัดเปาหมาย ตามเกณฑ
การคัดเลือกเขาและคัดออก เพื่อใหไดเด็กที่มีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ
การคัดเลือกกลุมตัวอยาง
การคัดเลือกเด็ก พิจารณาจากการศึกษาของพอแมหรือผูดูแลเด็ก อาชีพของพอแมหรือ
ผูปกครอง จํานวนบุตร ประวัติการเลี้ยงดู นํ้าหนักแรกเกิด สัญชาติ การเจ็บปวย โรคประจําตัว โรคอวน
อาการทางคลินกิ ดานโภชนาการ ความพิการทางรางกายและสมอง รายละเอียดแสดงในตารางที่ 2 และ 3
10 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

ตารางที่ 2 เกณฑคัดเลือกกลุมตัวอยาง
อนุบาล-ประถมศึกษา มัธยมศึกษาขึ้นไป
1. สุขภาพดี 1. สุขภาพดี
2. ครอบครัวมีภูมิลําเนาในจังหวัดเดียวกับสถานศึกษา 2. อาศัยอยูในเขตเมืองของจังหวัดเปาหมายไมนอยกวา 6 ป
3. พอแมมีสัญชาติไทย 3. พอแมมีสัญชาติไทย
4. มีบุตรในครอบครัวไมเกิน 3 คน พอและ/หรือแมเดียวกัน 4. มีบุตรในครอบครัวไมเกิน 3 คน พอและ/หรือแมเดียวกัน
5. พอแม/ผูปกครองเด็ก/ผูเลี้ยงดูเด็ก มีการศึกษาระดับ 5. พอแม/ผูปกครองเด็ก/ผูเลี้ยงดูเด็ก มีการศึกษาระดับ
มัธยมศึกษาตอนตน (ภาคบังคับ) ขึ้นไป มัธยมศึกษาตอนตน (ภาคบังคับ) ขึ้นไป
6. คลอดเดี่ยว ครบกําหนด และมีนํ้าหนักแรกเกิดระหวาง 6. คลอดเดี่ยว ครบกําหนด และมีนํ้าหนักแรกเกิดระหวาง
2,500-4,000 กรัม (ดูจากสูติบัตร) 2,500-4,000 กรัม (ดูจากสูติบัตร)
7. มีการเลี้ยงดูโดยพอแมหรือญาติ

ตารางที่ 3 เกณฑการคัดออก
อนุบาล-ประถมศึกษา มัธยมศึกษาขึ้นไป
1. มีความพิการทางรางกายและสมอง เชน โปลิโอ 1. มีความพิการทางรางกายและสมอง เชน โปลิโอ
แขนขาพิการ ตาบอด หูหนวก ปญญาออน เปนตน แขนขาพิการ ตาบอด หูหนวก ปญญาออน เปนตน
2. เด็กมีอาการปวยในวันที่เก็บขอมูล เชน มีไข 2. เด็กมีอาการปวยในวันที่เก็บขอมูล เชน มีไข
38 ํC ขึ้นไป ทองรวง เปนตน 38 ํC ขึ้นไป ทองรวง เปนตน
3. โรคเรื้อรัง/โรคประจําตัว เชน โรคเบาหวาน 3. โรคเรื้อรัง/โรคประจําตัว เชน โรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง โรคธาลัสซีเมีย โรคตับ โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคธาลัสซีเมีย โรคตับ โรคหัวใจ
โรคไต โรคภูมิแพรุนแรง (ใชยาพน) เปนตน โรคไต โรคภูมิแพรุนแรง (ใชยาพน) เปนตน
4. มีอาการแสดงทางคลินิกของภาวะทุพโภชนาการ 4. มีอาการแสดงทางคลินิกของภาวะทุพโภชนาการ
5. มีโรคอวนชัดเจน (ใชคา ratio ของรอบเอวตอสวนสูง 5. มีโรคอวนชัดเจน (ใชคา ratio ของรอบเอวตอสวนสูง
เกณฑตัดสินจะใชคามากกวา 0.5) เกณฑตัดสินจะใชคามากกวา 0.5)
6. พอแมและผูปกครองไมมีอาชีพ และไมทําอาชีพดังนี้ 6. พอแมและผูปกครองไมมีอาชีพและไมทําอาชีพดังนี้
• ผูใชแรงงาน คนงาน (รับจางรายวัน ทํานา ทําสวน • ผูใชแรงงาน คนงาน (รับจางรายวัน ทํานา ทําสวน
กรรมกร รับจางเปนแมบานทําความสะอาด / ซักรีด กรรมกร รับจางเปนแมบานทําความสะอาด / ซักรีด
เรขายของขางถนน สงขาวสาร / ขนของ ยามรักษาการณ เรขายของขางถนน สงขาวสาร / ขนของ ยามรักษาการณ
กวาดถนน เก็บขยะ ฯลฯ) กวาดถนน เก็บขยะ ฯลฯ)
• นักเรียน นักศึกษา (ยกเวนลาศึกษาตอ) • นักเรียน นักศึกษา (ยกเวนลาศึกษาตอ)
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 11

ขนาดตัวอยาง
แบงกลุมตัวอยางตามอายุเปนรายเดือน โดยอายุแตละเดือนจัดเก็บขนาดตัวอยาง
100 คนตอเพศ และเก็บขอมูลเพิม่ อีกรอยละ 20 สําหรับขอมูลนํา้ หนักและสวนสูงทีม่ คี า สูงหรือตํา่ มากเกินไป
จําเปนตองตัดทิ้ง ดังนั้น ขนาดตัวอยางจึงเทากับ 120 คนตอเพศ ของอายุแตละเดือน แลวคํานวณขนาด
ตัวอยางโดยการถวงนํ้าหนักตามจํานวนประชากรอายุ 4 ป 6 เดือน - 19 ป ในแตละภาคและจังหวัด
ที่คัดเลือกเปนพื้นที่เปาหมายรวมจํานวนตัวอยางทั้งหมด 42,000 คน แสดงในตารางที่ 4 และ 5

ตารางที่ 4 จํานวนกลุมตัวอยางที่เก็บขอมูลในแตละอายุเปนรายเดือนแยกเพศและจังหวัด
จํานวนกลุมตัวอยางตออายุรายเดือน
ภาค จังหวัด
ชาย หญิง
กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร 10 10
ภาคกลาง ปทุมธานี 6 6
สระบุรี 3 3
นครปฐม 5 5
ภาคตะวันตก สุพรรณบุรี 10 10
ภาคตะวันออก ชลบุรี 5 5
ฉะเชิงเทรา 2 2
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา 21 21
ขอนแกน 14 14
ยโสธร 4 4
ภาคเหนือ นครสวรรค 8 8
พิษณุโลก 7 7
ลําปาง 5 5
ภาคใต ชุมพร 4 4
นครศรีธรรมราช 12 12
พัทลุง 4 4
รวม 120 120
12 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

ตารางที่ 5 จํานวนกลุมตัวอยางทั้งหมด แยกตามจังหวัดและเพศ


จํานวนกลุมตัวอยางทั้งหมด
ภาค จังหวัด
ชาย หญิง รวม
กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร 1,750 1,750 3,500
ภาคกลาง ปทุมธานี 1,050 1,050 2,100
สระบุรี 525 525 1,050
นครปฐม 875 875 1,750
ภาคตะวันตก สุพรรณบุรี 1,750 1,750 3,500
ภาคตะวันออก ชลบุรี 875 875 1,750
ฉะเชิงเทรา 350 350 700
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา 3,675 3,675 7,350
ขอนแกน 2,450 2,450 4,900
ยโสธร 700 700 1,400
ภาคเหนือ นครสวรรค 1,400 1,400 2,800
พิษณุโลก 1,225 1,225 2,450
ลําปาง 875 875 1,750
ภาคใต ชุมพร 700 700 1,400
นครศรีธรรมราช 2,100 2,100 4,200
พัทลุง 700 700 1,400
รวม 21,000 21,000 42,000

ผลการเก็บขอมูล
การดําเนินงานเก็บขอมูลตั้งแตเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 จนถึงเดือน กรกฎาคม
พ.ศ. 2562 จํานวนตัวอยางทีท่ าํ การเก็บทัง้ สิน้ 46,587 คน แบงเปนเพศชาย 21,340 คน เพศหญิง 25,247 คน
ขอมูลจากการจัดทําเกณฑอา งอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 5 ป 1 เดือน - 5 ป 11 เดือน
นําไปปรับเชือ่ มตอกับกราฟมาตรฐานการเจริญเติบโตขององคการอนามัยโลก ป ค.ศ. 2006 ในเด็กแรกเกิด - 5 ป
สําหรับดัชนีนํ้าหนักตามเกณฑอายุ สวนสูงตามเกณฑอายุ จะเชื่อมที่รอยตอที่ อายุ 5 ปเต็ม ( 60 เดือน)
สวนดัชนีนํ้าหนักตามเกณฑสวนสูงจะเชื่อมที่รอยตอที่สวนสูง 120 เซนติเมตร ซึ่งกราฟการเจริญเติบโต
จากขอมูลที่เชื่อมตอนําไปใสในสมุดบันทึกสุขภาพแมและเด็ก ป พ.ศ. 2564 และในชวงอายุ 6 - 19 ป
นําไปจัดทําเกณฑอา งอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป ใชสาํ หรับเด็กประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 13

ภาคผนวก
14 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

การเลือกเครื่องชั่งนํ้าหนักและวิธีการชั่งนํ้าหนัก
การเตรียมเครื่องชั่งนํ้าหนัก
1) เครื่องชั่งนํ้าหนักแบบดิจิตอลหรือตัวเลข ควรมีสเกลบอกคานํ้าหนักไดละเอียด
ความละเอียด ไมเกิน 100 กรัม (0.1 กิโลกรัม) สวนเครื่องชั่งแบบยืนชนิดเข็มความละเอียด ไมควรเกิน
500 กรัม (0.5 กิโลกรัม) และไดมาตรฐาน โดยมีการตรวจสอบเครื่องชั่งใหอยูในเกณฑมาตรฐานกอน
ทําการชั่งทุกครั้ง
2) วางเครื่องชั่งลงบนพื้นราบ ไมเอียง และมีแสงสวางเพียงพอสําหรับการอานตัวเลข
3) ตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องชั่งนํ้าหนัก ตองตรวจสอบกอนนํามาใชทุกครั้ง
โดยการนําลูกตุมนํ้าหนักมาตรฐานซึ่งบอกขนาดนํ้าหนัก เชน 5 กิโลกรัม หรือ 10 กิโลกรัม เปนตน หรือ
สิ่งของที่รูนํ้าหนัก เชน ดัมเบล มาวางบนเครื่องชั่งนํ้าหนัก เพื่อดูความเที่ยงตรงของเครื่องชั่งนํ้าหนัก
วาไดนํ้าหนักตามนํ้าหนักลูกตุมหรือสิ่งของนั้นหรือไม
4) หากใชเครื่องชั่งนํ้าหนักแบบเข็มควรปรับเข็มใหอยูที่เลข 0 ทุกครั้งที่มีการใชงาน
และดูใหแนใจวายังอยูที่เลข 0 กอนชั่งคนตอไป
5) ควรใชเครื่องชั่งเดิมทุกครั้งในการติดตามการเจริญเติบโต

เครื่องชั่งแบบยืนชนิดเข็ม เครื่องชั่งแบบยืนชนิดตัวเลข
แบบนี้มีความละเอียด 0.5 กิโลกรัม มีความละเอียดของนํา้ หนักหลายแบบ แต‹ควรเลือก
ซึ่งใชŒ ไดŒกับเด็กวัยเรียน ที่มีความละเอียด 100 กรัม หรือ 0.1 กิโลกรัม

ภาพที่ 1 เครื่องชั่งนํ้าหนัก
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 15

การเตรียมเด็ก
1) ควรชั่งนํ้าหนักเมื่อเด็กยังไมไดรับประทานอาหารจนอิ่ม
2) ควรชั่งนํ้าหนักในชวงเวลาเดียวกัน เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงนํ้าหนักหรือภาวะ
การเจริญเติบโตเปนรายบุคคล
3) ควรถอดเสื้อผาออกใหเหลือเทาที่จําเปน โดยเฉพาะเสื้อผาหนา ๆ รวมทั้ง รองเทา
ถุงเทา เข็มขัด และนําของเลน/สิ่งของ เชน สรอยคอ นาฬกา ออก
วิธีการชั่งนํ้าหนัก
1) ในกรณีทใ่ี ชเครือ่ งชัง่ นํา้ หนักแบบยืนชนิดเข็ม ผูท ที่ าํ การชัง่ นํา้ หนักจะตองอยูใ นตําแหนง
ตรงกันขามกับเด็ก ไมควรอยูดานขางทั้งซายหรือขวาเพราะจะทําใหอานคานํ้าหนักมากไปหรือนอยไปได
2) เข็มที่ชี้ไมตรงกับตัวเลขหรือขีดแบงนํ้าหนัก ตองอานคานํ้าหนักอยางระมัดระวัง เชน
10.1 หรือ 10.2 หรือ 10.8 กิโลกรัม
3) อานคาใหละเอียดมีทศนิยม 1 ตําแหนง เชน 10.6 กิโลกรัม
4) จดนํ้าหนักใหเรียบรอยกอนใหเด็กลงจากเครื่องชั่ง
5) ดูใหแนใจวายังอยูที่เลข 0 กอนชั่งคนตอไป

การเลือกเครื่องวัดสวนสูงและวิธีการวัดสวนสูง
การเตรียมเครื่องวัดส‹วนสูง
1) เครือ่ งวัดสวนสูงทีไ่ ดมาตรฐาน ตองมีตวั เลขทีช่ ดั เจน และมีความละเอียด 0.1 เซนติเมตร
2) การติดตั้ง โดยวางทาบกับผนังหรือเสาที่ตั้งฉากกับพื้น ยึดใหแนน พื้นเรียบได ระดับ
ไมเอียง ไมนูน
3) มีไมฉากสําหรับวัดคาสวนสูงที่มีขนาดหนากวาง ประมาณ 5 เซนติเมตร ไมควรใช
ไมบรรทัด สมุด หรือกระดาษแข็ง ในการวัด เพราะจะทําใหอานคาไมถูกตอง
การเตรียมเด็ก
1) เด็กผูหญิง ถามีกิ๊บ ที่คาดผม หรือมัดผม ควรนําออกกอน
2) ถอดรองเทา ถุงเทา
วิธีการวัดส‹วนสูง
1) ยืนบนพื้นราบ เทาชิด ยืดตัวขึ้นไปขางบนใหเต็มที่ ไมงอเขา
2) สนเทา หลัง กน ไหล ศีรษะ สัมผัสกับไมวัด
3) ตามองตรงไปขางหนา ศีรษะไมเอียงซาย-เอียงขวา ไมแหงนหนาขึ้นหรือกมหนาลง
4) ผูวัดประคองหนาใหตรง ไมใหแหงนหนาขึ้น หรือกมหนาลง หนาไมเอียง
5) ใชไมฉากในการอานคาสวนสูง โดยเลื่อนไมฉากใหสัมผัสกับศีรษะพอดี
6) อานตัวเลขใหอยูในระดับสายตาผูวัด โดยอานคาสวนสูงใหละเอียดถึง 0.1 เซนติเมตร
เชน 118.4 เซนติเมตร
16 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

เซนติเมตร
เครื่องวัดสวนสูง อานคาสวนสูงระดับสายตา
ไมฉาก

ใชไมฉาก
ศีรษะชิดเครื่องวัดสวนสูง ในการอานคา
สวนสูง อานตัวเลข
หลังชิดเครื่องวัดสวนสูง ศีรษะชิดผนัง
หางตาอยูในระดับเดียวกับรูหูบน ในระดับสายตา

หลังชิดผนัง
กนชิดเครื่องวัดสวนสูง ยืนตรง มองตรง

เขาชิด เขาตรง เขาชิด เขาตรง


ขาชิดผนัง

สนเทาชิดเครื่องวัดสวนสูง สนเทาชิดผนัง

ภาพที่ 2 วิธีการวัดสวนสูง
ท‹ามาตรฐานในการวัดส‹วนสูง วัดใหŒ ไดŒส‹วนสูงจริงๆ
หนŒาตรง ตามองตรงขนานกับระดับพื้น

ถอดรองเทŒา ยืนเทŒาชิด

ภาพที่ 3 ทามาตรฐานในการวัดสวนสูง

การคํานวณอายุเด็ก
อายุของเด็ก สามารถคํานวณไดจากวัน เดือน ปเกิด และวัน เดือน ปทชี่ งั่ นํา้ หนัก-วัดสวนสูง
นํามาลบกันโดยตัง้ ป เดือน วันทีช่ งั่ นํา้ หนัก-วัดสวนสูง ลบดวยป เดือน วันเกิดของเด็ก การหักลบจะคํานวณ
ในสวนของวันกอน หากลบกันไมได ตองยืมเดือนมา 1 เดือน เทากับ 30 วัน แลวนําไปรวมกับจํานวนวันเดิม
และลบกันตามปกติ สวนเดือนก็เชนเดียวกัน หากลบกันไมได ตองยืมปมา 1 ป เทากับ 12 เดือน แลว
บวกกับจํานวนเดือนทีม่ อี ยู จึงลบกันตามปกติ หลังจากนัน้ ลบปตามปกติจะไดอายุเปนป เดือน วัน เศษของ
วันที่มากกวา 15 วัน ใหปดเปน 1 เดือน
ตัวอยางการคํานวณอายุเด็ก
ป เดือน วัน
ป เดือน วัน ที่ชั่งนํ้าหนัก-วัดสวนสูง 63 5 20
ป เดือน วัน เกิด 52 9 29
อายุของเด็ก 10 7 21

จะไดอายุของเด็ก เทากับ 10 ป 8 เดือน


คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 17

ความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากการประเมิน
1) ความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากการชั่งนํ้าหนัก เชน ไมไดตรวจสอบความเที่ยงตรง
ของเครื่องชั่ง เด็กที่มาชั่งนํ้าหนักไมไดถอดรองเทา ถุงเทา หรือใสเสื้อหนาเกินไป หรือตัวเด็กไมยอมอยูนิ่ง
มีการเคลื่อนไหวตลอดเวลา
2) ความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากการวัดสวนสูง เชน สวมรองเทาหรือสวมหมวกหรือ
มีกิ๊บติดผม หรือไมไดเอาที่คาดผมออก การยืนเทาไมชิดกันหรือเทาไมไดยืนบนพื้นราบ เขางอเหยียด
ตัวไมตรง ไหลไมแตะกับไมวัด ศีรษะเอียงคอเอียงไมอยูในตําแหนงที่ถูกตอง ไมฉากไมแตะบนศีรษะ
ในตําแหนงทีถ่ กู ตอง (หามใชไมบรรทัดหรือสมุดหรือกระดาษแข็ง มาทาบทีศ่ รี ษะเด็ก จะทําใหการอานคา
ไมถูกตองคลาดเคลื่อนได ทั้งนี้ไมฉากตรงสวนที่สัมผัสกับศีรษะนั้น ตองมีขนาดกวางพอสมควร ประมาณ
5 เซนติเมตร เพื่อใหทาบบนศีรษะสวนที่นูนที่สุด แตถาเล็กไปอาจไมตรงสวนที่นูนที่สุดของศีรษะ)
3) การคิดอายุผดิ หรือไดขอ มูลอายุผดิ (วัน เดือน ปเกิดไมถกู ตอง) มักจะทําใหการแปลผล
ภาวะโภชนาการผิดพลาด
4) นอกจากนีเ้ มือ่ ไดขอ มูลการชัง่ -วัด มาแลว ยังควรระมัดระวังความผิดพลาดในการแปลผล
การแจงนับ การอานคา การจดบันทึก ซึ่งการทําขอมูลจํานวนมากอาจมีความผิดพลาดเกิดขึ้นได
5) หากพบวาผลของภาวะโภชนาการที่ได ดูไมสอดคลองกับตัวเด็ก เชน เด็กคอนขางสูง
แตไดผลวาเตีย้ หรือเด็กคอนขางผอม แตไดผลวาอวน ตองทบทวนคาทีช่ งั่ -วัด การคิดอายุหรือการแปลผลใหม
อีกครั้ง (การแปลผลทันที ณ วันที่ชั่ง - วัด จะทําใหเห็นวาผลการประเมินสอดคลองกับตัวเด็กหรือไม
จะชวยลดความผิดพลาดไดเปนอยางดี)
18 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

ตารางที่ 6 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑอายุ
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 19

ตารางที่ 6 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑอายุ
20 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

ตารางที่ 6 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑอายุ
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 21

ตารางที่ 6 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑอายุ
22 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

ตารางที่ 6 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑอายุ
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 23

ตารางที่ 6 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑอายุ
24 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

ตารางที่ 6 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑอายุ
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 25

ตารางที่ 6 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑอายุ
26 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

ตารางที่ 6 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑอายุ
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 27

ตารางที่ 6 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑอายุ
28 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

ตารางที่ 6 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑอายุ
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 29

ตารางที่ 6 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑอายุ
30 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

ตารางที่ 6 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑอายุ
ตารางที่ 7 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตสวนสูงตามเกณฑอายุ

อายุ สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศหญิง สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศชาย


เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง
ป เดือน
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
31
ตารางที่ 7 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตสวนสูงตามเกณฑอายุ

อายุ สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศหญิง สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศชาย


เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง
ป เดือน
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD
32 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
ตารางที่ 7 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตสวนสูงตามเกณฑอายุ

อายุ สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศหญิง สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศชาย


เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง
ป เดือน
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
33
ตารางที่ 7 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตสวนสูงตามเกณฑอายุ

อายุ สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศหญิง สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศชาย


เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง
ป เดือน
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD
34 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
ตารางที่ 7 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตสวนสูงตามเกณฑอายุ

อายุ สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศหญิง สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศชาย


เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง
ป เดือน
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
35
ตารางที่ 7 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตสวนสูงตามเกณฑอายุ

อายุ สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศหญิง สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศชาย


เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง
ป เดือน
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD
36 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
ตารางที่ 7 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตสวนสูงตามเกณฑอายุ

อายุ สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศหญิง สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศชาย


เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง
ป เดือน
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
37
ตารางที่ 7 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตสวนสูงตามเกณฑอายุ

อายุ สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศหญิง สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศชาย


เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง
ป เดือน
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD
38 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
ตารางที่ 7 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตสวนสูงตามเกณฑอายุ

อายุ สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศหญิง สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศชาย


เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง
ป เดือน
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
39
ตารางที่ 7 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตสวนสูงตามเกณฑอายุ

อายุ สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศหญิง สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศชาย


เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง
ป เดือน
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD
40 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
ตารางที่ 7 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตสวนสูงตามเกณฑอายุ

อายุ สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศหญิง สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศชาย


เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง
ป เดือน
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
41
ตารางที่ 7 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตสวนสูงตามเกณฑอายุ

อายุ สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศหญิง สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศชาย


เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง
ป เดือน
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD
42 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
ตารางที่ 7 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตสวนสูงตามเกณฑอายุ

อายุ สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศหญิง สวนสูงตามเกณฑอายุ (เซนติเมตร) เพศชาย


เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง เตี้ย คอนขางเตี้ย สูงตามเกณฑ คอนขางสูง สูง
ป เดือน
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
43
ตารางที่ 8 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑสวนสูง

นํา้ หนักตามเกณฑสว นสูง (กิโลกรัม) เพศหญิง นํา้ หนักตามเกณฑสว นสูง (กิโลกรัม) เพศชาย
สวนสูง
ผอม คอนขางผอม สมสวน ทวม เริม่ อวน อวน ผอม คอนขางผอม สมสวน ทวม เริม่ อวน อวน
(ซม.)
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD ถึง +3 SD >+3 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD ถึง +3 SD >+3 SD
44 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
ตารางที่ 8 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑสวนสูง

นํา้ หนักตามเกณฑสว นสูง (กิโลกรัม) เพศหญิง นํา้ หนักตามเกณฑสว นสูง (กิโลกรัม) เพศชาย
สวนสูง
ผอม คอนขางผอม สมสวน ทวม เริม่ อวน อวน ผอม คอนขางผอม สมสวน ทวม เริม่ อวน อวน
(ซม.)
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD ถึง +3 SD >+3 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD ถึง +3 SD >+3 SD
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
45
ตารางที่ 8 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑสวนสูง

นํา้ หนักตามเกณฑสว นสูง (กิโลกรัม) เพศหญิง นํา้ หนักตามเกณฑสว นสูง (กิโลกรัม) เพศชาย
สวนสูง
ผอม คอนขางผอม สมสวน ทวม เริม่ อวน อวน ผอม คอนขางผอม สมสวน ทวม เริม่ อวน อวน
(ซม.)
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD ถึง +3 SD >+3 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD ถึง +3 SD >+3 SD
46 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
ตารางที่ 8 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑสวนสูง

นํา้ หนักตามเกณฑสว นสูง (กิโลกรัม) เพศหญิง นํา้ หนักตามเกณฑสว นสูง (กิโลกรัม) เพศชาย
สวนสูง
ผอม คอนขางผอม สมสวน ทวม เริม่ อวน อวน ผอม คอนขางผอม สมสวน ทวม เริม่ อวน อวน
(ซม.)
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD ถึง +3 SD >+3 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD ถึง +3 SD >+3 SD
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
47
ตารางที่ 8 แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตนํ้าหนักตามเกณฑสวนสูง

นํา้ หนักตามเกณฑสว นสูง (กิโลกรัม) เพศหญิง นํา้ หนักตามเกณฑสว นสูง (กิโลกรัม) เพศชาย
สวนสูง
ผอม คอนขางผอม สมสวน ทวม เริม่ อวน อวน ผอม คอนขางผอม สมสวน ทวม เริม่ อวน อวน
(ซม.)
<-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD ถึง +3 SD >+3 SD <-2 SD -2 SD ถึง <-1.5 SD -1.5 SD ถึง +1.5 SD >+1.5 SD ถึง +2 SD >+2 SD ถึง +3 SD >+3 SD
48 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
กราฟแสดงน้ำหนักตามเกณฑอายุ ของเด็กอายุ 6 - 19 ป เพศหญิง
100
95
90
85
80
75 น้ำหนักตามเกณฑอายุ ¹éÓ˹ѡà¡Ô¹à¡³±ÍÒÂØ
70 เพศหญิง
+2 SD
65 ¹éÓ˹ѡ¤‹Í¹¢ŒÒ§ÁÒ¡ +1.5 SD
60
55
50
¹éÓ˹ѡµÒÁࡳ± MEDIAN

น้ำหนัก (กิโลกรัม)
45
-1.5 SD
40
¹éÓ˹ѡ¤‹Í¹¢ŒÒ§¹ŒÍ -2 SD
35
30
25
¹éÓ˹ѡ¹ŒÍ¡NjÒࡳ±
20
15
10
6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19
อายุ (ป)
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

ขอมูล: การจัดทำเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 5 - 19 ป สำนักโภชนาการ กรมอนามัย พ.ศ. 2563 จัดทำและเผยแพรโดย สำนักโภชนาการ กรมอนามัย พ.ศ. 2564
49
กราฟแสดงน้ำหนักตามเกณฑอายุ ของเด็กอายุ 6 - 19 ป เพศชาย
100
95
90
85
80
75 น้ำหนักตามเกณฑอายุ ¹éÓ˹ѡà¡Ô¹à¡³±ÍÒÂØ
70 เพศชาย
65 +2 SD
50 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

60 ŒÒ§ÁÒ ¡ +1.5 SD
¹éÓ˹ѡ¤‹Í¹¢
55
50  MEDIAN

น้ำหนัก (กิโลกรัม)
¹éÓ˹ѡµÒÁࡳ±
45
40 -1.5 SD
¹ŒÍ -2 SD
35 ¹éÓ˹ѡ¤‹Í¹¢ŒÒ§
30
25
20 ¹éÓ˹ѡ¹ŒÍ¡NjÒࡳ±
15
10
6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19
อายุ (ป)
ขอมูล: การจัดทำเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 5 - 19 ป สำนักโภชนาการ กรมอนามัย พ.ศ. 2563 จัดทำและเผยแพรโดย สำนักโภชนาการ กรมอนามัย พ.ศ. 2564
กราฟแสดงสวนสูงตามเกณฑอายุ ของเด็กอายุ 6 - 19 ป เพศหญิง
180
175
ÊÙ§
170 +2 SD
¤‹Í¹¢ŒÒ§ÊÙ§ +1.5 SD
165
160 ÊÙ§µÒÁࡳ± MEDIAN
155 สวนสูงตามเกณฑอายุ
150 เพศหญิง -1.5 SD
¤‹Í¹¢ŒÒ§àµÕé -2 SD
145
140
135
130 àµÕéÂ

สวนสูง (เซนติเมตร)
125
120
115
110
105
100
95
90
6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19
อายุ (ป)
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

ขอมูล: การจัดทำเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 5 - 19 ป สำนักโภชนาการ กรมอนามัย พ.ศ. 2563 จัดทำและเผยแพรโดย สำนักโภชนาการ กรมอนามัย พ.ศ. 2564
51
กราฟแสดงสวนสูงตามเกณฑอายุ ของเด็กอายุ 6 - 19 ป เพศชาย
195
190
ÊÙ§
185
+2 SD
180 ¤‹Í¹¢ŒÒ§ÊÙ§ +1.5 SD
175
170 ÊÙ§µÒÁࡳ± MEDIAN

165 สวนสูงตามเกณฑอายุ
เพศชาย -1.5 SD
160 -2 SD
¤‹Í¹¢ŒÒ§àµÕéÂ
155
52 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป

150
145
140
135 àµÕéÂ

สวนสูง (เซนติเมตร)
130
125
120
115
110
105
100
95
90
6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19
อายุ (ป)
ขอมูล: การจัดทำเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 5 - 19 ป สำนักโภชนาการ กรมอนามัย พ.ศ. 2563 จัดทำและเผยแพรโดย สำนักโภชนาการ กรมอนามัย พ.ศ. 2564
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 55

คณะผูจัดทํา
ที่ปร�กษา
นายแพทยสุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย
นายแพทยสราวุฒิ บุญสุข รองอธิบดีกรมอนามัย
ดร.แพทยหญิงสายพิณ โชติวิเชียร ผูอํานวยการสํานักโภชนาการ
นางณัฐวรรณ เชาวนลิลิตกุล รองผูอํานวยการสํานักโภชนาการฝายวิชาการ

ผูŒจัดทําและบรรณาธิการ
นางกานตณัชชา สรอยเพชร นักโภชนาการชํานาญการพิเศษ
หัวหนากลุมสงเสริมโภชนาการสตรีและเด็กปฐมวัย
นายสุพจน รื่นเริงกลิ่น นักโภชนาการชํานาญการพิเศษ
นางสาววารีทิพย พึ่งพันธ นักโภชนาการชํานาญการพิเศษ
56 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 57
58 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 59
60 คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป
คูมือการใชเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6 - 19 ป 61
ÊÓ¹ÑÑ¡âÀª¹Ò¡Òà ¡ÃÁ͹ÒÁÑÑ ¡ÃзÃǧÊÒ¸ÒóÊØØ¢
88/22 ËÁÙ‹ 4 ¶¹¹µÔÔÇÒ¹¹· µÓºÅµÅÒ´¢ÇÑÑÞ ÍÓàÀÍàÁ××ͧ¹¹·ºØØÃÕ ¨ÑѧËÇÑÑ´¹¹·ºØØÃÕ
â·ÃÈÑѾ· 0 2590 4332, 0 2590 4336 â·ÃÊÒà 0 2590 4339

You might also like