Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 57

โครงการ ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์

ดำเนินการโดย

นายอรรถพร จันทร์ใส

นายภัทราวุธ แดงงาม

นายพาณิชย์ ติละบาล

เสนอ

นายยมราช หนองกก

นางสาวภัสธิตา สร้อยสนธิ ์
โครงการเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาไฟฟ้ า สาขางานไฟฟ้ า


กำลัง

ปี การศึกษา 2565 วิทยาลัยเทคนิคราศีไศล

เรื่อง ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์

ชื่อและรหัสนักศึกษา นายอรรถพร จันทร์ใส รหัสประจำตัว


นักศึกษา 63201042038

นายภัทราวุธ แดงงาม รหัสประจำตัวนักศึกษา


63201042046

นายพาณิชย์ ติละบาล รหัสประจำตัวนักศึกษา


63201042023

อาจารย์ที่ปรึกษาวิชาโครงงานวิชาชีพ : นายยมราช หนองกก

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการวิชาชีพ : นายยมราช หนองกก

: นางสาวภัสธิตา สร้อยสนธิ ์
ได้รับรองให้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาไฟฟ้ า
สาขางานไฟฟ้ ากำลัง

คณะกรรมการตรวจสอบโครงการ

............................................ อาจารย์ประจำรายวิชา
โครงการวิชาชีพ

(นายยมราช หนองกก)

.............................................. อาจารย์ที่ปรึกษา
โครงการวิชาชีพ

(นายยมราช หนองกก)

.............................................. อาจารย์ที่ปรึกษา
โครงการวิชาชีพ

(นางสาวภัสธิตา สร้อยสนธิ)์

.............................................. ................................
..............

(นายวุฒิพงษ์ สมใจ) (นายสุรีย์ ศรี


ชะตา)

รองผู้อำนวยการวิทยาลัย ผู้อำนวยการ
วิทยาลัย
ลิทสิทธิข์ องสาขาวิชาไฟฟ้ า สาขางานไฟฟ้ ากำลัง วิทยาลัยเทคนิคราศี
ไศล

หัวข้อโครงการ ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์

นักศึกษา นายอรรถพร จันทร์ใส รหัสประจำตัวนักศึกษา


63201042038

นายภัทราวุธ แดงงาม รหัสประจำตัวนักศึกษา


63201042046

นายพาณิชย์ ติละบาล รหัสประจำตัวนักศึกษา


63201042023

อาจารย์ประจำรายวิชาโครงการ นายยมราช หนองกก

สาขาวิชาไฟฟ้ า สาขางานไฟฟ้ ากำลัง ประเภทวิชาอุตสาหกรรม


วิทยาลัยเทคนิคราษีไศล อนุมัติให้โครงการนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษา
ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
.............................................. หัวหน้าแผนก
วิชาชีพช่างไฟฟ้ า

(นางสาวภัสธิตา สร้อยสนธิ)์ วัน


ที่......เดือน..........พ.ศ.......

คณะกรรมการตรวจสอบโครงการวิชาชีพ

.............................................. อาจารย์ประจำรายวิชา
โครงการวิชาชีพ

(นายยมราช หนองกก) วัน


ที่......เดือน..........พ.ศ.......

.............................................. อาจารย์ที่ปรึกษา
โครงการ

(นายยมราช หนองกก) วัน


ที่......เดือน..........พ.ศ.......

.............................................. กรรมการ

(นางสาวภัสธิตา สร้อยสนธิ)์ วัน


ที่......เดือน..........พ.ศ.......
ลิทสิทธิข์ องสาขาวิชาไฟฟ้ า สาขางานไฟฟ้ ากำลัง วิทยาลัยเทคนิคราศี
ไศล

ชื่อผลงาน : ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์

ชื่อนักศึกษา : นายอรรถพร จันทร์ใส รหัสประจำตัว


นักศึกษา 63201042

: นายภัทราวุธ แดงงาม รหัสประจำตัวนักศึกษา


63201042046

: นายพาณิชย์ ติละบาล รหัสประจำตัวนักศึกษา


63201042023

อาจารย์ที่ปรึกษา : นายยมราช หนองกก

สาขาวิชา : ไฟฟ้ า

สาขางาน : ไฟฟ้ ากำลัง

ปี การศึกษา : 2565
บทคัดย่อ

จากปั ญหาที่เกิดขึน
้ ในสมัยก่อนนัน
้ ที่มีการตากแห้งโดยการนำ
ผลิตผลออกมาตากแดดกลางแจ้งเพื่อให้ได้รับความร้อนจากแสงอาทิตย์
โดยตรง ต่อมาพบว่าการตากแห้งโดยวิธีการดังกล่าว ประสบปั ญหาหลาย
ประการเช่น ฝุ ่นละออง ฝนตก และการรบกวนจากแมลงต่างๆ ส่งผลให้
เกิดความเสียหายต่อผลผลิตที่ได้ อย่างเช่น มีการเจือปนของสิง่ สกปรก
หรือผลผลิตไม่แห้งในเวลาที่ต้องการ

ดังนัน
้ กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้เล็งเห็นความสำคัญของปั ญหาเหล่านี ้
จึงสร้างตู้อบแห้ง เพื่อลดปั ญหาต่างๆ ที่เกิดขึน
้ และเพื่อเพิ่มความสะดวก
รวดเร็ว รวมถึงการรักษาและปรับปรุงคุญภาพของผลิตภัณฑ์ให้มี
ประสิทธิภาพมากขึน
้ โดยใช้ความร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์แทนการ
ใช้ไฟฟ้ า ทำให้สามารถใช้งานได้ตามที่ต้องการแม้อยู่ในพื้นที่ห่างไกล

กิตติกรรมประกาศ
การศึกษาและการจัดทำโครงการในครัง้ นีส
้ ำเร็จลงได้ด้วยดีเพราะได้
รับความกรุณาแนะนำช่วยเหลืออย่างดียิ่งจาก อาจารย์ยมราช ซึ่งเป็ น
อาจารย์ประจำรายวิชาในการทำโครงการครัง้ นีไ้ ด้กรุณาให้คำปรึกษา
แนะนำข้อมูลและข้อคิดต่างๆ ในการทำโครงการตู้อบแห้งพลังงานแสง
อาทิตย์ และวิธีการดำเนินการศึกษาโครงการนี ้ ตลอดจนความถูกต้องใน
เนื้อหา

ขอขอบคุณอาจารย์ประจำแผนกวิชาไฟฟ้ า อาจารย์ ขอขอบคุณ


อาจารย์ยมราช หนองกก และ อาจารย์ภัสธิตา สร้อยสนธิ ์ และขอบคุณ
บิดามารดาที่ให้การสนับสนุนเงินทุน ขอบคุณวิทยาลัยเทคนิคราษีไศลที่
ให้ความอนุเคราะห์ และความสะดวกในการใช้สถานที่เพื่อจัดทำโครงการ
ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์

คณะผู้จัดทำนักศึกษารัดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชัน


้ ปี ที่ 3
ขอขอบพระคุณในความกรุณาของท่านที่มีส่วนในการช่วยเหลือให้สำเร็จ
เรียบร้อยด้วยดี

คณะผู้จัดทำ
สารบัญ

หน้า

บทคัดย่อ ก

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญ

สารบัญ(ต่อ)

สารบัญตาราง

สารบัญรูปภาพ

บทที่ 1 บทนำ

1.1 ที่มาและความสำคัญของโครงการ
1
1.2 วัตุประสงค์และเป้ าหมาย
1
1.3 สมมติฐาน
1
1.4 นิยามศัพท์เฉพาะ
1
1.5 ขอบเขตการทำโครงการ
1
1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.1 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
3

-แผงโซล่าเซลล์
3
-พัดลม
5

-แผ่นอะคลิลิค
6

-ตัวตรวจวัดอุณหภูมิ
8

-เหล็ก
10

-โซล่าชาร์จเจอร์
13

-แบตเตอรี่ 14

2.2 หลักการทำงานของตู้อบพลังงานแห้งแสงอาทิตย์
16

2.3 สมรรถนะของตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
17

2.4 ข้อดีสำหรับการใช้ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
17

สารบัญ(ต่อ)

หน้า
บทที่ 3 วิธีการดำเนินโครงการ

บทที่ 4 ผลการทดลองและผลการวิเคราะห์ข้อมูล

บทที่ 5 สรุป อภิปรายและเสนอแนะ

บรรณานุกรม

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก แบบเสนอขออนุมัติการจัดทำโครงการ

ภาคผนวก ข ประมวลภาพการดำเนินโครงการ

ภาคผนวก ค แบบสอบถามความพึงพอใจ

ภาคผนวก ง ประวัติผู้จัดทำโครงการ

สารบัญตาราง

หน้า

4.1 สถานภาพทั่วไปของของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามเพศ

4.2 สถานภาพทั่วไปของของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามระดับการศึกษา

4.3 สถานภาพทั่วไปของของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามอาชีพ

4.4 สถานภาพทั่วไปของของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามอายุ

4.5 ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของการสอบถามความคิดเห็นของกลุ่ม
ตัวอย่าง
สารบัญรูปภาพ

หน้า

รูปที่ 2.1.1 แผงโซล่าเซลล์ 4

รูปที่ 2.2.1 พัดลม 6

รูปที่ 2.3.1 แผ่นอะคลิลิค


8

รูปที่ 2.4.1 ล้อ


10

รูปที่ 2.5.1 เหล็ก 12

รูปที่ 2.6.1 โซล่าชาร์เจอร์


13

รูปที่ 2.7.1 แบตเตอรี่


16
บทที่ 1

บทนำ

1. ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ในสมัยก่อนนัน
้ มีการตากแห้งโดยการนำผลิตผลออกมาตากแดด
กลางแจ้งเพื่อให้ได้รับความร้อนจากแสงอาทิตย์โดยตรง ต่อมาพบว่าการ
ตากแห้งโดยวิธีการดังกล่าว ประสบปั ญหาหลายประการเช่น ฝุ ่นละออง
ฝนตก และการรบกวนจากแมลงต่างๆ ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อ
ผลผลิตที่ได้ อย่างเช่น มีการเจือปนของสิง่ สกปรก หรือผลผลิตไม่แห้งใน
เวลาที่ต้องการ

ดังนัน
้ กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้เล็งเห็นความสำคัญของปั ญหาเหล่านี ้
จึงสร้างตู้อบแห้ง เพื่อลดปั ญหาต่างๆ ที่เกิดขึน
้ และเพื่อเพิ่มความสะดวก
รวดเร็ว รวมถึงการรักษาและปรับปรุงคุญภาพของผลิตภัณฑ์ให้มี
ประสิทธิภาพมากขึน

2. วัตถุปรสงค์และเป้ าหมาย

2.1 เพื่อสร้างเครื่องอำนวยความสะดวกในการอบแห้ง

2.2 เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการจ้างแรงงาน

2.3 เพื่ออบแห้งผลิตภัณฑ์ตรงตามเวลาที่ต้องการ

2.4 เพื่อฝึ กปฏิบัตรการทำเครื่องมือให้ปรสบความสำเร็จ

3. สมมติฐาน

ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สามารถอำนวยความสะดวก ลดค่าใช้
จ่ายในการจ้างแรงงาน และให้ผลผลิตตามระยะเวลาที่ต้องการได้

4. นิยามศัพท์เฉพาะ

ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ หมายถึง ที่อบหรือที่ไล่ความชื้น โดย


ใช้การทำงานร่วมกันของโซล่าเซลล์ เพื่อนำพาความร้อนกระจายเข้าตัว
ผลิตภัณฑ์อย่างทั่วถึง

5. ขอบเขตการทำโครงการ
5.1 ผักและผลไม้ต่างๆ

5.2 จำนวนของผักและผลไม้ที่ทดลอง

6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

6.1 สามารถอำนวยความสะดวกให้ผู้ใช้

6.2 สามารถลดค่าใช้จ่ายในการจ้างแรงงาน

6.3 สามารถเพิ่มคุณภาพของผลิตภัณฑ์

7. ตัวแปรที่ศึกษา

ตัวแปรต้น ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์

ตัวแปรตามความแห้งของผลิตภัณฑ์

ตัวแปรควบคุม ความหนา-บางของผลิตภัณฑ์
บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ในการจัดทำโครงงานครัง้ นี ้ คณะผู้จัดทำได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ดังนี ้

1. แผงโซล่าเซลล์
2. พัดลม
3. ล้อ
4. เหล็ก
5. โซล่าชาร์จเจอร์
6. แบตเตอรรี่
7. ตัววัดอุณหภูมิ
2.1 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1.1 แผงโซล่าเซลล์

โซล่าเซลล์ หรือ เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) หรือ เซลล์โฟโตโวล


ตาอิก (Photovoltaic cell) คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ทำจากสารกึ่ง
ตัวนำชนิดพิเศษ ที่มีคุณสมบัติในการเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ ให้เป็ น
พลังงานไฟฟ้ า โดยกระแสไฟฟ้ าที่ผลิตได้จากโซล่าเซลล์นน
ั ้ จะเป็ น
ไฟฟ้ ากระแสตรง (Direct Current) ซึง่ เราสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้
ทันที รวมทัง้ สามารถเก็บไว้ในแบตเตอรี่เพื่อใช้
พลังงานไฟฟ้ าที่ผลิตได้จากแผงโซล่าเซลล์ จัดว่าเป็ นแหล่ง
พลังงานสะอาดและไม่สร้างมลภาวะแก่สิ่งแวดล้อมและไม่ปล่อยก๊าซเรือน
กระจก (Co2) เหมือนกับแหล่งพลังงานอื่นๆ เช่น น้ำมัน, โรงไฟฟ้ าที่มี
กระบวนการผลิตจากก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน  โซล่าเซลล์ (Solar
Cell) เป็ นพลังงาน ที่ใช้แล้วไม่มีวันหมดไป

  หลักการทำงาน

การทำงานของ โซล่าเซลล์ (Solar Cell)  เป็ นกระบวนการเปลี่ยน


พลังงานแสงให้เป็ นพลังงานไฟฟ้ าได้โดยตรง โดยเมื่อแสงซึ่งเป็ น
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและมีพลังงานไปกระทบกับสารกึ่งตัวนำ จะเกิดการ
ถ่ายทอดพลังงานระหว่างกัน พลังงานจากแสงจะทำให้เกิดการเคลื่อนที่
ของกระแสไฟฟ้ า (อิเลคตรอน) ขึน
้ ในสารกึ่งตัวนำ เราจึงสามารถต่อ
กระแสไฟฟ้ าดังกล่าวไปใช้งานได้

1. N-Type คือแผ่นซิลค
ิ อน ที่ผ่านกระบวนการ โดปปิ ้ ง (Doping)
ด้วยสารฟอสฟอรัส ทำให้มีคุณสมบัติเป็ นตัวส่งอิเล็กตรอน เมื่อได้รับ
พลังงานจากแสงอาทิตย์
2. P-Type คือแผ่นซิลค
ิ อน ที่ผ่านกระบวนการ โดปปิ ้ ง (Doping)
ด้วยสารโบรอน ทำให้โครงสร้างของอะตอมสูญเสียอิเล็กตรอน (โฮล) โดย
เมื่อได้รับพลังงานจากแสงอาทิตย์ จะมีคุณสมบัติเป็ นตัวรับอิเล็กตรอน

หลักการทำงานคือ เมื่อมีแสงอาทิตย์ตกกระทบ แสงอาทิตย์จะ


ถ่ายเทพลังงานให้กับอิเล็กตรอน และโฮล ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวขึน

โดยอิเล็กตรอนก็จะเคลื่อนไหวไปรวมตัวกันที่ Front Electrode และโฮล
ก็จะเคลื่อนไหวไปรวมตัวกันที่ Back Electrode และเมื่อมีการเชื่อมต่อ
ระบบวงจรไฟฟ้ าจาก Front Electrode และ Back Electrode ให้ครบ
วงจร ก็จะเกิดเป็ นกระแสไฟฟ้ าขึน
้ ให้เราสามารถนำไปใช้งานได้

  ชนิดของโซล่าเซลล์

  แผงโซล่าเซลล์แบ่งออกเป็ น 3 ชนิด

1. แผงโซล่าเซลล์ชนิด โพลีคริสตัลไลน์ (Poly Crystalline)  เป็ น


แผงโซล่าเซลล์ชนิดแรก ที่ทำมาจากผลึกซิลิคอน บางครัง้ เรียกว่า มัลติ-
คริสตัลไลน์ (Multi-Crystalline) โดยกระบวนการผลิต จะนำเอาซิลิคอน
เหลว มาเทใส่โมลด์ที่เป็ นสี่เหลี่ยม ก่อนจะนำมาตัดเป็ นแผ่นบางอีกที จึง
ทำให้แต่ละเซลล์เป็ นรูปสีเ่ หลี่ยมจัตุรัส สีของแผงจะออกสีน้ำเงิน

2. แผงโซล่าเซลล์ชนิด โมโนคริสตัลไลน์ (Mono Crystalline)  เป็ น


แผงโซล่าเซลล์ที่ทำมาจาก ผลึกซิลิคอนเชิงเดี่ยว (Mono- Silicon) บาง
ครัง้ เรียกว่า Single Crystalline  ลักษณะแต่ละเซลล์เป็ นสี่เหลี่ยมตัดมุม
ทัง้ สี่มุม และมีสีเข้ม  ทำมาจากซิลิคอนที่มีความบริสุทธิส์ ูง กวนให้ผลึก
เกาะกันที่แกนกลาง ทำให้เกิดแท่งทรงกระบอก จากนัน
้ นำมาตัดให้เป็ น
สี่เหลี่ยมและลบมุมทัง้ สี่ออก ทำให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด และลดการใช้
วัตถุดิบ Mono- Silicon ลง ก่อนที่จะนำมาตัดเป็ นแผ่นอีกที
3. แผงโซล่าเซลล์ชนิด ฟิ ล์มบาง (Thin Film) เป็ นแผงโซล่าเซลล์ที่
ทำมาจาก การนำสารที่แปลงพลังงานแสงเป็ นพลังงานไฟฟ้ า มาฉาบเป็ น
ชัน
้ บางๆ ซ้อนกันหลายๆชัน
้ จึงเรียกโซล่าเซลล์ชนิดนีว้ ่า ฟิ ล์มบาง (thin
film) แผงโซล่าเซลล์ ชนิดฟิ ล์มบาง มีประสิทธิภาพเฉลี่ยอยู่ที่ 7-13 %
ทัง้ นีข
้ น
ึ ้ อยู่กับชนิดของวัสดุที่นำมาทำเป็ นฟิ ล์มฉาบ

รูปที่ 2.1 แผงโซล่าเซลล์

2.2.1 พัดลม

พัดลม (Fan) เป็ นเครื่องใช้ไฟฟ้ ายอดนิยมอันดับต้นๆ ของเมืองไทย


ที่ช่วยสร้างความสบายให้กับผู้คนมากมาย มีกลไกการทำงานที่ไม่ซับซ้อน
ราคาถูก แถมยังประหยัดไฟอีกด้วย
โดยหลักการการทำงานของพัดลมคือ มันจะทำหน้าที่ดูดอากาศเข้า
และปล่อยอากาศออก โดยใช้พลังไฟฟ้ าจากมอเตอร์ไฟฟ้ า และใบพัดที่ที่
จะต้องทำงานควบคู่กันเสมอ สามารถปรับระดับความแรงได้หลากหลาย
ระดับ (โดยส่วนมากจะมี 3 ระดับขัน
้ ต่ำ หรืออาจจะมากกว่านัน
้ )

ปั จจุบันนีม
้ ีพัดลมหลากหลายประเภท ไม่ว่าจะเป็ นพัดลมตัง้ โต๊ะ
พัดลมตัง้ พื้น พัดลมดูดอากาศ (ทัง้ แบบติดกำแพง และติดฝ้ าเพดาน) ซึง่
ประโยชน์การใช้สอยก็แตกต่างกันออกไป ตามความต้องการของผู้ใช้งาน
ซึ่งเทคโนโลยีของพัดลมนัน
้ ก็ยังถูกนำไปประยุกต์ใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้ าอื่นๆ
อีกมากมาย อาทิ เครื่องปรับอากาศ เครื่องฟอกอากาศ เครื่องเป่ า
ผม เป็ นต้น

และยิ่งไปกว่านัน
้ ปั จจุบันยังมีพัดลมไร้ใบพัด ที่ถูกพัฒนาขึน
้ มาด้วยจุด
ประสงค์ของความสวยงาม และความปลอดภัย (เนื่องจากใบพัดซ่อนอยู่
ภายในตัวเครื่อง) นั่นเอง

ประเภทพัดลม

พัดลมในปั จจุบันนัน
้ มีให้เลือกใช้ได้หลากหลายประเภทค่ะ ซึ่งเป็ น
ผลดีกบ
ั พวกเราที่เป็ นคนใช้สินค้า แต่ทงั ้ นีท
้ งั ้ นัน
้ เราก็ต้องรู้ว่าพัดลมมีกี่
ประเภทเพื่อที่จะได้เลือกซื้อและสรรหาให้ตรงกับ ความต้องการของเรา
ค่ะ

1. พัดลมติดเพดาน หรือเรียกย่อๆว่า พัดลมเพดาน มีลักษณะที่เป็ น


ใบพัดทรงคอปเตอร์ไม้ไผ่ และที่เป็ นลวดลายต่างๆ เช่น ลายใบไม้ พัดลม
แบบนีม
้ ีหลายขนาดให้เลือกใช้ค่ะ

2. พัดลมโคจร เป็ นพัดลมติดเพดานอีกประเภทหนึ่ง มีรูปทรง


เหมือนพัดลมข้างฝา สามารถหมุนได้ 360 องศา และบางรุ่นสามารถ
เลือกองศาหรือเลือกหยุดหมุนให้อยู่กับที่ได้ (เช่น พัดลมโคจรลัคกีม
้ ิตซู) ซึ่
งอำนวยความสะดวกในการใช้งานได้มากขึน

3. พัดลมติดผนัง หรือ พัดลมข้างฝา เป็ นพัดลมที่เหมาะกับสถานที่


ที่ไม่เหมาะกับการติดพัดลมเพดานค่ะ อาทิ ห้องที่ตีฝ้าเพดานลงมาต่ำ

4.พัดลมตัง้ โต๊ะ ก็จะเป็ นพัดลมขนาดเล็กที่สามารถวางบนพื้นหรือ


บนชัน
้ วางค่ะ

5.พัดลมตัง้ พื้น พัดลมตัง้ พื้นจะมีขนาดใหญ่กว่าพัดลมตัง้ โต๊ะ ลำตัว


เครื่องจะยาวกว่า และในบางรุ่นก็สามารถยืดหดลำตัวได้

6.พัดลมอุตสาหกรรม และพัดลมสามขา พัดลมรุ่นนีน
้ น
ั ้ มีใบพัด
ขนาดใหญ่ ลำเครื่องใหญ่ สามารถใช้ได้ทงั ้ ในและนอกอาคาร รวมทัง้
สามารถปรับเปลี่ยนการใช้งานได้หลากหลาย โดยมีทงั ้ แบบตัง้ พื้นและติด
ข้างฝา

7.พัดลมดูดอากาศ ระบายอากาศ และฝั งฝ้ าเพดานห้องน้ำ ก็อย่างที่


ชื่อบอกค่ะ คือมีไว้เพื่อระบายอากาศภายในห้อง สามารถใช้ได้กับทุกห้อง
ค่ะ ยกเว้นฝั งฝ้ าเพดานห้องน้ำที่เหมาะสำหรับการใช้ในห้องน้ำค่ะ

2.2 รูปภาพพัดลม
2.3.1 แผ่นอะคลิลิค

อะคริลค
ิ เป็ นพลาสติกที่มีความทนทาน และได้รับความนิยมใน
การนำมาใช้งานอย่างแพร่หลาย ซึง่ อะคริลิคก็มักจะมีหลายชื่อด้วยกัน
โดยชื่อเรียกที่ได้ยินบ่อยที่สุด ก็คือ อะคริลิคพลาสติก กระจกอะคริลิคห
รือแผ่นอะคริลค
ิ เป็ นต้น สำหรับคุณสมบัติของอะคริลค
ิ ก็คือ เป็ นวัสดุที่มี
ความทนทานแข็งแรง สามารถทนต่อแรงกระแทกได้ดีกว่ากระจก ทัง้ มี
ความหนาตัง้ แต่ 2 มิลลิเมตร-100 มิลลิเมตร ขึน
้ ไป จึงสามารถนำมาใช้
งานได้อย่างหลากหลาย ตัวอย่างชิน
้ งานจากอะคริลค
ิ เช่น กรอบรูป ป้ าย
โฆษณาและชัน
้ วางโชว์ เป็ นต้น

รู้จักกับอะคริลิค (พลาสติกหลายชื่อ)

อะคริลค
ิ พลาสติก ถูกเรียกว่าเป็ นพลาสติกหลายชื่อ นั่นก็เพราะ
มีช่ อ
ื ทางการค้าหลายชื่อด้วยกัน ทัง้ มีคุณสมบัติที่โดดเด่นในเรื่องของ
ความโปร่งใส ขึน
้ รูปง่าย และมีความหนาแน่นต่ำ จึงสามารถนำมาใช้งาน
ได้อย่างแพร่หลายและได้รับความนิยมมากที่สุด โดยชิน
้ งานจากอะคริลิค
พลาสติกที่มีการนำมาประยุกต์ใช้เป็ นส่วนใหญ่ ก็คือ ป้ ายโฆษณา กระจก
ใสบนเครื่องบินและกระจกตู้ปลา เป็ นต้น นอกจากนีก
้ ็ยังนิยมนำมาใช้
แทนแก้วในการผลิตชิน
้ งานหลายๆ อย่างด้วย ส่วนชื่อทางการค้าของอะค
ริลิคพลาสติกนัน
้ ส่วนมากก็จะเป็ น Plexiglas, Lucite, Perspex ฯลฯ

การพัฒนาอะคริลิค

อะคริลค
ิ พลาสติก ถูกสังเคราะห์ขน
ึ ้ มาใช้งานครัง้ แรก ตัง้ แต่ปี
ค.ศ.1877 โดยผู้ค้นพบก็คือนักเคมีชาวเยอรมัน ชื่อ ฟิ ททิจและพอล ซึง่
ทัง้ คู่ได้นำเอาโมโนเมอร์ของเมทิลเมทาไครเลต มาทำปฏิกิริยาการเกิด
โพลิเมอร์ จนได้เป็ นโพลิเทิลเมทาไครเลต แต่ยังไม่สามารถพัฒนามาเป็ น
แผ่นอะคริลิคพลาสติกได้ จนเมื่อปี ค.ศ.1933 ออทโทเริห์ม ได้ค้นพบการ
พัฒนาขึน
้ มาเป็ นแผ่นอะคริลิค จึงได้มีการขอจดสิทธิบัตรวิธีผลิตแผ่น
พลาสติกใสในชื่อทางการค้าว่า Plexiglas และจากนัน
้ ก็ได้มีการผลิตแผ่
นอะคริลค
ิ ออกมาใช้มากขึน
้ จนกลายเป็ นสินค้าเชิงพาณิชย์เป็ นต้นไป – บ
ริการตัดอะคริลิค ขึน
้ รูป ตามต้องการ

และในปั จจุบันนี ้ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ก้าวหน้ามากขึน



ทำให้มีการค้นพบวิธีการผลิตอะคริลิคพลาสติกอย่างหลากหลายวิธีด้วย
กัน ตัวอย่างกระบวนการผลิตอะคริลิคที่นิยม ได้แก่ การเกิดโพลิเมอร์แบ
บอีมัลชันและ การเกิดโพลิเมอร์แบบบัลก์ เป็ นต้น ส่วนการผลิตอะคริลิค
แบบแผ่น ก็จะใช้วิธีการเติมโมโนเมอร์ของเมทิลเมทาไครเลตเข้าไป พร้อม
กับใส่ตัวเร่งปฏิกิริยาลงในแม่พิมพ์พร้อมกัน ก็จะเกิดเป็ นแผ่นอะคริลิค
พลาสติกขึน
้ มา อย่างไรก็ตาม ในปั จจุบันถือว่าการผลิตอะคริลิคพลาสติก
ได้มีการพัฒนาและก้าวหน้าไปอย่างมาก และสามารถนำมาใช้งานได้
อย่างแพร่หลาย

กระบวนการผลิตแผ่นอะคริลิค

สำหรับกระบวนการผลิตแผ่นอะคริลิค จะมี 2 วิธี คือ

1. การผลิตด้วยกระบวนการหล่อแบบต่อเนื่อง

2. การผลิตด้วยกระบวนการหล่อแบบไม่ต่อเนื่อง

กระบวนการผลิตอะคริลค
ิ พลาสติกทัง้ 2 วิธีนี ้ จะมีความแตกต่าง
กัน คือ การหล่อแบบต่อเนื่องจะทำขึน
้ โดยการลำเลียงของสายพานสอง
เส้นที่มีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา และการหล่อแบบไม่ต่อเนื่อง ก็จะ
ทำขึน
้ ในเบ้าหล่อหรือแม่พิมพ์ ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ก็จะมีความแตกต่างกัน

คุณสมบัติอันโดดเด่นของอะคริลค
ิ พลาสติก
1. มีความหนาแน่นที่ 1.15-1.19 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตรจึง
ทนทานต่อแรงกระแทกได้ดี

2. มีจุดหลอมเหลวอยู่ที่อุณหภูมิประมาณ 130-140 องศา


เซลเซียส และมีจุดเดือดอยู่ที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส

3. สามารถทนทานต่อแรงแระแทกได้สูง แต่ก็มีความทนทานต่ำ
กว่าโพลิคาร์บอเนตและพลาสติกวิศวกรรมชนิดอื่นได้

4. มีเนื้ออ่อน จึงอาจทำให้เกิดรอยขูดขีดได้ง่าย

5. มีการสะท้อนกลับที่ร้อยละ 4 และแสงสว่างสามารถส่องผ่าน
ได้มากถึงร้อยละ 92

6. ไม่ค่อยทนทานต่อตัวทำลายหลายชนิดด้วยกัน จึงต้อง
ระมัดระวังอย่าให้อะคริลิคอยู่ใกล้กับตัวทำลายนัน
้ ๆ

7. สามารถทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ดีกว่าพลาสติกชนิดอื่นๆ

การนำอะคริลิคพลาสติกมาใช้งาน

ในปั จจุบัน อะคริลิคพลาสติก มีการนำมาประยุกต์ใช้เข้ากับหลายๆ
อย่างด้วยกัน เช่น เครื่องประดับ ป้ ายโฆษณา เป็ นต้น แต่ที่สามารถ
ประยุกต์ใช้ได้อย่างลงตัวที่สุด ก็คือกระจก บ่อเลีย
้ งปลานั่นเอง นั่นก็
เพราะว่าการใช้กระจกแก้วในการทำกระจกบ่อเลีย
้ งปลา มักจะมีปัญหา
กับการที่แสงส่องผ่านเข้าไปไม่ถึง ทำให้กระจกดูทึบและมองไม่ค่อยเห็น
ปลาในตู้หรือในบ่อ แต่เมื่อใช้แผ่นอะคริลิคพลาสติกแทน จะสามารถมอง
เห็นปลาในตู้ได้อย่างชัดเจนและสวยงามกว่า ด้วยคุณสมบัติที่โดดเด่นกว่า
ดังนี ้

1. น้ำหนักเบา จึงทำการเคลื่อนย้ายและติดตัง้ ได้ง่ายกว่า


2. แสงสว่างสามารถส่องผ่านได้มากถึง 92% จึงทำให้กระจกมี
ความใสและสามารถมองเห็นปลาได้ชัดเจนมากขึน

3. สามารถเชื่อมแผ่นพลาสติกให้ติดเป็ นเนื้อเดียวกันได้ ด้วยการทา


สารเคมีบางชนิด

4. สามารถใช้เป็ นฉนวนความร้อนได้ดีกว่าแก้ว จึงช่วยลดค่าใช้จ่าย


ในด้านพลังงานได้ดี

5. แม้จะมีความบอบบางและสามารถเกิดรอยขูดขีดได้มากกว่าแก้ว
แต่ก็สามารถเคลือบสารเพื่อเพิ่มความแข็งแรงและป้ องกันรอยขูดขีดได้

จากการศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างและการนำอะคริลิคพลาสติกมา
ประยุกต์ใช้ จะเห็นได้ว่าอะคริลิคพลาสติกสามารถใช้งานได้อย่างหลาก
หลาย และมีคณ
ุ สมบัติที่โดดเด่น น่าใช้งานเป็ นอย่างมาก แต่ก็มีข้อเสียอยู่
บ้าง คือราคาแพง อย่างไรก็ตาม เมื่อเทียบกับคุณสมบัติและประโยชน์ที่
ได้จากอะคริลค
ิ พลาสติกแล้ว ก็ถือได้ว่ามีความคุ้มค่ามาก

2.3 รูปภาพแผ่นอะคลิลิค

2.4.1 ตัววัดอุณหภูมิ
เซ็นเซอร์วดั อุณหภูมิเป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดอุณหภูมิซ่ ึ งอาจเป็ นอุณหภูมิอากาศ ของเหลว หรื อ
อุณหภูมิของของแข็ง ซึ่ งเซ็นเซอร์เหล่านี้ถูกใส่ ไว้ในเครื่ องวัดอุณหภูมิซ่ ึ งทำหน้าตรวจจับการเปลี่ยนแปลง
ของความร้อนและเครื่ องวัดจะทำการ แปล ผลการวัดเป็ นค่าอุณหภูมิ

2.5.1 รูปเช็นเชอร์อุณหภูมิ

2.6.1 เหล็ก

เหล็ก เป็ นแร่ธาตุที่มีบทบาทกับการนำมาใช้งานในชีวิตประจำวัน


มากที่สุด และเป็ นที่ร้จ
ู ักกันอย่างแพร่หลาย โดยเหล็กจะแบ่งออกเป็ น 2
ประเภทด้วยกัน คือเหล็ก (iron) และ เหล็กกล้า (steel) ซึ่งทัง้ สอง
ประเภทนี ้ มีคุณสมบัติที่ต่างกันหลายประการ แต่ส่วนใหญ่ก็มักจะถูก
เรียกอย่างเหมารวมกันว่า “เหล็ก” นั่นเอง

ลักษณะทั่วไปของเหล็กและเหล็กกล้า

เหล็ก จะมีสัญลักษณ์ทางวิทยาศาสตร์ คือ Fe มักพบได้มากใน


ธรรมชาติ ซึ่งจะมีลักษณะเป็ นสีแดงอมน้ำตาล เมื่อนำเข้าใกล้กับแม่เหล็ก
จะดูดติดกัน ส่วนพื้นที่ที่ค้นพบเหล็กได้มากที่สุด ก็คือ ตามชัน
้ หินใต้ดินที่
อยู่บริเวณที่ราบสูงและภูเขา โดยจะอยู่ในรูปของสินแร่เป็ นส่วนใหญ่ ซึ่งก็
ต้องใช้วิธีถลุงออกมา เพื่อให้ได้เป็ นแร่เหล็กบริสุทธิแ์ ละสามารถนำมาใช้
ประโยชน์ได้

เหล็กกล้า เป็ นโลหะผสม ที่มีการผสมระหว่าง เหล็ก ซิลิคอน


แมงกานีส คาร์บอนและธาตุอ่ น
ื ๆ อีกเล็กน้อย ทำให้มีคุณสมบัติในการ
ยืดหยุ่นสูง ทัง้ มีความทนทาน แข็งแรง และสามารถต้านทานต่อแรง
กระแทกและภาวะทางธรรมชาติได้อย่างดีเยี่ยม  ที่สำคัญคือเหล็กกล้าไม่
สามารถค้นพบได้ตามธรรมชาติเหมือนกับเหล็ก เนื่องจากเป็ นเหล็กที่
สร้างขึน
้ มาโดยการประยุกต์ของมนุษย์  แต่ในปั จจุบันก็มีการนำเหล็กกล้า
มาใช้งานอย่างแพร่หลาย เพราะมีต้นทุนต่ำ จึงช่วยลดต้นทุนได้เป็ นอย่าง
มาก และมีคุณสมบัติที่โดดเด่นไม่แพ้เหล็ก

ประเภทของเหล็กแบ่งได้อย่างไรบ้าง?

สำหรับประเภทของเหล็กนัน
้ สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 กลุ่มใหญ่ๆ
คือ

เหล็กหล่อ

เหล็กหล่อ เป็ นเหล็กที่ใช้วิธีการขึน
้ รูปด้วยการหล่อขึน
้ มา ซึ่งจะมี
ปริมาณของธาตุคาร์บอนประมาณ 1.7-2% จึงทำให้เหล็กมีความแข็ง แต่
ในขณะเดียวกันก็มีความเปราะ และด้วยเหตุนจ
ี ้ ึงทำให้เหล็กหล่อ
สามารถขึน
้ รูปได้แค่วิธีการหล่อวิธีเดียวเท่านัน
้ ไม่สามารถขึน
้ รูปด้วยการ
รีดหรือวิธีการอื่นๆ ได้ นอกจากนีเ้ หล็กหล่อ ก็สามารถแบ่งย่อยๆ ได้ดังนี ้

เหล็กหล่อเทา เป็ นเหล็กหล่อที่มีโครงสร้างคาร์บอนในรูปของกราฟ
ไฟต์ เพราะมีคาร์บอนและซิลค
ิ อนเป็ นส่วนประกอบสูงมาก

เหล็กหล่อขาว เป็ นเหล็กที่มีความแข็งแรงทนทานสูง สามารถทน


ต่อการเสียดสีได้ดี แต่จะเปราะจึงแตกหักได้ง่าย โดยเหล็กหล่อประเภทนี ้
จะมีปริมาณของซิลค
ิ อนต่ำกว่าเหล็กหล่อเทา ทัง้ มีคาร์บอนอยู่ในรูปของ
คาร์ไบด์ของเหล็กหรือที่เรียกกว่า ซีเมนไตต์

เหล็กหล่อกราฟไฟต์กลม เป็ นเหล็กที่มีโครงสร้างเป็ นกราฟไฟต์ ซึ่ง


จะมีส่วนผสมของแมกนีเซียมหรือซีเรียมอยู่ในน้ำเหล็ก ทำให้เกิดรูปร่าง
กราฟไฟต์ทรงกลมขึน
้ มา ทัง้ ยังได้คุณสมบัติทางกลในทางที่ดีและโดดเด่น
ยิ่งขึน
้ เหล็กหล่อกราฟไฟต์จึงได้รับความนิยมในการนำมาใช้งานอย่าง
แพร่หลายและถูกนำมาใช้งานในอุตสาหกรรมมากขึน

เหล็กหล่ออบเหนียว เป็ นเหล็กที่ผ่านกระบวนการอบเพื่อให้ได้
คาร์บอนในโครงสร้างคาร์ไบด์แตกตัวมารวมกับกราฟไฟต์เม็ดกลม และ
กลายเป็ นเฟอร์ไรด์หรือเพิร์ลไลต์ ซึง่ ก็จะมีคุณสมบัติที่เหนียวแน่นกว่า
เหล็กหล่อขาวเป็ นอย่างมาก ทัง้ ได้รับความนิยมในการนำมาใช้งานที่สุด

เหล็กหล่อโลหะผสม เป็ นประเภทของเหล็กที่มีการเติมธาตุผสม
เข้าไปหลายอย่างด้วยกัน ซึ่งก็จะช่วยปรับปรุงคุณสมบัติของเหล็กให้ดีขน
ึ้
โดยเฉพาะการทนต่อความร้อนและการต้านทานต่อแรงเสียดสีที่เกิดขึน

เหล็กหล่อประเภทนีจ
้ ึงนิยมใช้ในงานที่ต้องสัมผัสกับความร้อน

เหล็กกล้า

เหล็กกล้า เป็ นเหล็กที่มีความเหนียวแน่นมากกว่าเหล็กหล่อ ทัง้


สามารถขึน
้ รูปด้วยวิธีทางกลได้ จึงทำให้เหล็กชนิดนี ้ นิยมถูกนำมาใช้
อย่างแพร่หลายและกว้างขวางมากขึน
้  ตัวอย่างเหล็กกล้าที่มักจะพบได้
บ่อยๆ ในชีวิตประจำวัน คือ เหล็กแผ่น เหล็กโครงรถยนต์หรือเหล็กเส้น
เป็ นต้น นอกจากนีค
้ าร์บอนก็สามารถแบ่งได้เป็ นกลุ่มย่อยๆ ดังนี ้

เหล็กกล้าคาร์บอน จะมีส่วนผสมหลักเป็ นคาร์บอนและมีส่วนผสม
อื่นๆ ปนอยู่บ้างเล็กน้อย ทัง้ นีก
้ ข
็ น
ึ ้ อยู่กับจะมีธาตุอะไรติดมาในขัน
้ ตอน
การถลุงบ้าง ดังนัน
้ เหล็กกล้าคาร์บอน จึงสามารถแบ่งเป็ นย่อยๆ ได้อีก
ตามปริมาณธาตุที่ผสมดังนี ้

เหล็กคาร์บอนต่ำ มีคาร์บอนต่ำกว่า 0.2% และมีความแข็งแรงต่ำ


มาก จึงนำมารีดเป็ นแผ่นได้ง่าย เช่น เหล็กเส้น เหล็กแผ่น เป็ นต้น

เหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง จะมีคาร์บอนอยู่ประมาณ 0.2-0.5%
มีความแข็งแรงสูงขึน
้ มาหน่อย สามารถนำมาใช้เป็ นชิน
้ ส่วนของ
เครื่องจักรกลได้

เหล็กกล้าคาร์บอนสูง มีคาร์บอนสูงกว่า 0.5% มีความแข็งแรงสูง


มาก นิยมนำมาอบชุบความร้อนเพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งมากขึน
้ และ
สามารถต้านทานต่อการสึกหรอได้ดี จึงนิยมนำมาทำเครื่องมือเครื่องใช้ที่
ต้องการผิวแข็ง

เหล็กกล้าผสม เป็ นเหล็ก ที่มีการผสมธาตุอ่ น


ื ๆ เข้าไปโดยเจาะจง
เพื่อให้คุณสมบัติของเหล็ก เป็ นไปตามที่ต้องการ โดยเหล็กประเภทนีม
้ ัก
จะมีความสามารถในการต้านทานต่อการกัดกร่อนและสามารถนำไฟฟ้ า
ได้ รวมถึงมีคุณสมบัติทางแม่เหล็กอีกด้วย ซึ่งก็จะแบ่งออกได้เป็ น 2
ประเภท คือ เหล็กกล้าผสมต่ำและเหล็กกล้าผสมสูง นั่นเอง โดย
เหล็กกล้าผสมต่ำ จะเป็ นเหล็กกล้าที่มีการผสมด้วยธาตุอ่ น
ื ๆ น้อยกว่า
10% และเหล็กกล้าผสมสูง จะเป็ นเหล็กกล้าที่มีการผสมด้วยธาตุอ่ น
ื ๆ
มากกว่า 10%

เหล็ก เป็ นแร่ธาตุที่ถูกนำมาใช้ในชีวิตประจำวันมากที่สุด และเป็ นที่


รู้จักอย่างแพร่หลาย เนื่องจากมีคณ
ุ สมบัติที่เหมาะกับการนำมาใช้งานใน
หลายๆ ด้าน แต่ก็มีข้อเสียอยู่บ้าง คือมีน้ำหนักมาก ทำให้เคลื่อนย้ายได้ไม่
ค่อยสะดวกมากนัก อย่างไรก็ตาม เหล็ก ก็ยังคงเป็ นที่นิยมและมีการนำ
มาใช้งานในอุตสาหกรรมหรือการผลิตเครื่องจักรกลต่างๆ รวมทัง้ ใช้ใน
การสร้างบ้านด้วย เพราะเป็ นโลหะที่มีความแข็งแรงและทนทานมาก

2.5 เหล็ก

2.6.1 โซล่าชาร์จเจอร์

โซล่าชาร์จเจอร์ (solar charge controller) หรือที่หลาย ๆ คน


เรียกว่า คอนโทรลชาร์จโซล่าเซลล์, คอนโทรลชาร์จเจอร์, หรือคอนโทรล
ชาร์จ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึง่ ที่มีคุณสมบัติคอยควบคุมการ
ชาร์จไฟฟ้ าจากแผงโซล่าเซลล์เข้าสู่แบตเตอรี่ที่คุณต้องการกักเก็บ
พลังงานไฟฟ้ าไว้ใช้งานในภายหลัง ซึง่ โซล่าชาร์จเจอร์โดยทั่วไปแบ
มาตรฐาน จะทำหน้าที่คอยจ่ายกระแสไฟเมื่อแรงดันแบตเตอรี่อยู่ในระดับ
ที่ต่ำตามที่แต่ละยี่ห้อกำหนดค่ามา และจะทำการตัดการจ่ายกระแสไฟ
จากแผงโซล่าเซลล์ที่จะไปประจุอยู่ในแบตเตอรี่เมื่อแบตเตอรี่มีแรงดันอยู่
ในระดับที่สูงตามที่ได้กำหนดค่าไว้ด้วยเช่นกัน เพื่อป้ องกันการ Over
Charge ซึ่งจะทำให้แบตเตอรี่เกิดความเสียหายและเสื่อมอายุการใช้งาน
ลงอย่างรวดเร็ว นอกจากนีใ้ นเวลากลางคืนโซล่าชาร์จเจอร์ยังเป็ นอุปกรณ์
ช่วยป้ องกันไม่ให้ไฟจากแบตเตอรี่ย้อนกลับไปยังตัวแผงโซล่าเซลล์ จน
อาจทำให้ตัวแผงโซล่าเซลล์ได้รับความเสียหายได้อีกด้วย

หลักๆมีสองชนิดคือ
Maximum Power Point Tracking (MPPT)
 คือ ดึงกำลังไฟฟ้ าจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ให้ได้มากที่สุด โดยการ
ทำให้แผงเซลล์แสงอาทิตย์ทำงานที่แรงดันไฟฟ้ าที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุด
กล่าวคือ MPPT ทำงานโดยการตรวจสอบที่เอาท์พุตของแผงเซลล์แสง
อาทิตย์ และเปรียบเทียบกับแรงดันไฟฟ้ าของแบตเตอรี่ในระบบ จากนัน

กำหนดค่ากำลังไฟฟ้ าสูงสุดที่แผงเซลล์แสงอาทิตย์สามารถจ่ายออกเพื่อ
ทำการประจุลงในแบตเตอรี่ และทำการแปลงเป็ นแรงดันไฟฟ้ าสูงสุดเพื่อ
ให้ได้กระแสไฟฟ้ าสูงสุดในการประจุแบตเตอรี่ นอกจากนี ้ ยังสามารถจ่าย
กระแสไฟฟ้ าให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้ ากระแสตรง (DC load) ที่ต่อโดยตรงกับ
แบตเตอรี่ได้อีกด้วย

  ระบบ MPPT มีประสิทธิภาพสูงหากทำงานภายใต้สภาวะเหล่านี ้

สภาวะอากาศเย็นหรือฤดูหนาว โดยปกติ แผงเซลล์แสงอาทิตย์จะ


ทำงานได้ดีที่อุณหภูมิต่ำ ถึงแม้ในช่วงฤดูหนาวที่มีอากาศเย็น จะมีช่วง
เวลาการตกกระทบของแสงอาทิตย์ (Sun hours) น้อย หากมีการติดตัง้
อุปกรณ์ที่ประกอบด้วยระบบ MPPT จะทำให้เกิดการผลิตกำลังไฟฟ้ า
สูงสุดมากยิ่งขึน
้ ไปอีก แต่จะมีการสูญเสียพลังงานน้อยมาก

สภาวะที่มีการประจุแบตเตอรี่ต่ำ เนื่องจากยิ่งมีอัตราการประจุ
แบตเตอรี่ต่ำ จะทำให้กระแสไฟฟ้ าเข้าสู่ระบบ MPPT มากขึน

2.6 รูปภาพโซล่าชาร์จเจอร์
2.7.1 แบตเตอรี่(Battery)

โดยทั่วไป แบตเตอรี่จะแบ่งเป็ นสองกลุ่มใหญ่ด้วยกัน ได้แก่

1. แบตเตอรี่ที่ทำการชาร์จจนเต็มมาจากโรงงาน เช่นแบตเตอรี่
นาฬิกา(ถ่านนาฬิกา), แบตเตอรี่ไฟฉาย(ถ่านไฟฉาย)เป็ นต้น ซึ่งเมื่อใช้ไฟ
ในแบตเตอรี่จนหมดแล้วก็หมดเลยไม่สามารถกลับนำมาใช้ใหม่ได้ เรา
เรียก

2. แบตเตอรี่นว
ี ้ ่า แบตเตอรี่ปฐมภูมิ(Primary Battery)

3. แบตเตอรี่ที่ทำการชาร์จใหม่ได้เมื่อแบตเตอรี่มีไฟที่อ่อนลง เช่น
แบตเตอรี่รถยนต์ เราเรียกแบตเตอรี่นว
ี ้ ่า แบตเตอรี่ทุติยภูมิ(Secondary
Battery)

ในระบบผลิตไฟฟ้ าจากแผงโซล่าเซลล์นน
ั ้ จะใช้แบตเตอรี่แบบทุติย
ภูมิซึ่งสามารถชาร์จได้ใหม่เมื่อแบตเตอรี่มีกำลังไฟที่อ่อนลง ในระบบ
แบตเตอรี่จะทำงานเก็บพลังงานไฟฟ้ าที่ผลิตได้จากแผงโซล่าเซลล์เข้ามา
ไว้ แล้วปล่อยกำลังไฟฟ้ าออกไปให้กับโหลดในเวลาที่ไม่มีแสงอาทิตย์ เช่น
ในช่วงเวลากลางคืนหรือเมฆครึม
้ ตลอดวัน

รถยนต์ที่เราใช้งานอยู่ทุกวันเมื่อเปิ ดวิทยุหรือพัดลมในรถยนต์โดยที่
เราไม่สตาร์ทเครื่องยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้ าเหล่านัน
้ ก็ทำงานได้ปกติ แต่เมื่อ
เปิ ดไปนานๆจนไฟในแบตเตอรี่เริ่มหมดลง แรงดันในแบตเตอรี่ก็จะเหลือ
น้อยลง ต้องทำการชาร์จแบตเตอรี่ใหม่ การชาร์จประจุของแบตเตอรี่ใน
รถยนต์ทำได้โดยการสตาร์ทเครื่องยนต์รถ เพื่อจะทำให้เพลาขับไปหมุน
เอาเตอเนเตอร์ผลิตไฟกระแสตรงชาร์จให้กับแบตเตอรี่ต่อไป จน
แบตเตอรี่กลับมามีแรงดันไฟฟ้ าที่เต็มเหมือนเดิม ซึ่งเวลาเครื่องยนต์กำลัง
ทำงานอยู่เราก็สามารถเปิ ดวิทยุและพัดลมได้เหมือนเดิม เพราะว่าทุก
อย่างไม่ว่าจะเป็ นแบตเตอรี่ โหลด เครื่องยนต์ และเอาเตอเนเตอร์ต่อ
ทำงานร่วมกันอยู่ในระบบ ถ้าเปรียบเทียบหน้าที่การทำงานของแบตเตอรี่
ของระบบผลิตไฟฟ้ าจากโซล่าเซลล์กค
็ ล้ายกับแบตเตอรี่ในรถยนต์นั่นเอง
เพียงแต่ไฟฟ้ าที่นำมาชาร์จประจุจะผลิตจากแผงโซล่าเซลล์โดยผ่านเครื่อง
ควบคุมการชาร์จ ส่วนโหลดอาจจะเป็ นโหลดไฟฟ้ ากระแสตรง หรือถ้า
ต้องการใช้งานกับโหลดไฟฟ้ ากระแสสลับก็ต้องต่อผ่านอินเวอร์เตอร์อีกที
หนึ่ง

แบตเตอรี่ที่ใช้กับระบบผลิตไฟฟ้ าจากโซล่าเซลล์จะมีหลายชนิด เช่น


ลีดเอซิด(Lead-Acid Battery), อัลคาไลน์(Alkaline), นิคเกิล
แคดเมียม(Nickel-cadmium) แต่ที่นิยมใช้กันมากที่สุดก็คือ แบตเตอรี่ลีด
เอซิด เพราะมีอายุการใช้งานที่ยืนยาวและมีการปล่อยประจุ(กระแส
ไฟฟ้ า)ที่สูง

โครงสร้างภายในของแบตเตอรี่แบบลีดเอซิด(Lead-Acid Battery)

ภายในลีดเอซิดแบตเตอรี่จะประกอบด้วยเซลล์อยู่ภายในโดยต่อกัน
แบบอนุกรม จำนวนเซลล์ก็ขน
ึ ้ อยู่กับการออกแบบแบตเตอรี่นน
ั ้ ๆว่าให้มี
ค่าแรงดันใช้งานที่เท่าไร โดยทั่วไปหนึ่งเซลล์มีแรงดันประมาณ 2 โวลท์
ตัวอย่างเช่นแบตเตอรี่รถยนต์มีแรงดันใช้งานที่ 12 โวลท์ ดังนัน
้ ข้างใน
แบตเตอรี่จะประกอบด้วยเซลล์ 6 เซลล์ต่ออนุกรมกันอยู่

ลักษณะของการปล่อยประจุไฟฟ้ าของแบตเตอรี่

จะแบ่งออกเป็ นสองแบบด้วยกัน ได้แก่

1.แบตเตอรี่ที่สามารถปล่อยประจุ(กระแส)ไฟฟ้ าได้น้อย(Shallow-
Cycle Battery) คือแบตเตอรี่ที่ออกแบบมาให้ปล่อยประจุไฟฟ้ าได้
ประมาณ 10-20 เปอร์เซนต์ของประจุไฟฟ้ ารวมก่อนจะทำการชาร์จ
ประจุใหม่ การปล่อยประจุไฟฟ้ าจะมีหน่วยเป็ นแอมอาวด์(Ahr) , 100
Ahr  หมายถึงแบตเตอรี่สามารถปล่อยประจุกระแสไฟฟ้ า 100 หน่วยได้
1 ชั่วโมง(ในความเป็ นจริงไม่สามารถทำอย่างนัน
้ ได้เพราะเมื่อปล่อยประจุ
จากแบตเตอรี่จนหมด แบตเตอรี่จะเสียทันที) – ตัวอย่างถ้ามีแบตเตอรี่
แบบปล่อยประจุได้น้อย(Shallow cycle battery) ที่สามารถปล่อย
ประจุไฟฟ้ าได้ 100 แอมอาวด์อยู่หนึ่งตัว แบตเตอรี่ตัวนีค
้ วรที่จะปล่อย
ประจุไฟฟ้ า(หรือใช้กระแสไฟฟ้ า) ได้เพียง 10-20 แอมอาวด์ หลังจากนัน

จะต้องทำการชาร์จประจุให้เต็มก่อนการคลายประจุครัง้ ต่อไป ถ้าการ
ปล่อยประจุมากเกินกว่าที่กำหนดไว้ เช่นทำการปล่อยประจุที่ 50 แอ
มอาวด์ จะทำให้แบตเตอรี่มีอายุการที่ใช้งานที่สน
ั ้ ลง(เสื่อมเร็ว)อย่างมาก
เช่นตามสเปคอายุการใช้งานของแบตเตอรี่สามารถชาร์จได้ 3000 ครัง้
อาจจะลดเหลือเพียงแค่ 1000 ครัง้ ดังนัน
้ การออกแบบระบบโดยรวมควร
คำนึงถึงลักษณะการปล่อยประจุไฟฟ้ าของแบตเตอรี่ด้วย

2.แบตเตอรี่ที่สามารถปล่อยประจุ(กระแส)ไฟฟ้ าได้มาก(Deep-
Cycle Battery) คือแบตเตอรี่สามารถปล่อยประจุได้ถึง 60-80
เปอร์เซนต์ของประจุรวมก่อนที่จะทำการชาร์จประจุใหม่ ส่วนมากแล้วจะ
นำมาใช้กับระบบผลิตพลังงานไฟฟ้ าในบ้านพักอาศัย แบตเตอรี่ชนิดนีจ
้ ะมี
ราคาที่สูงกว่าแบบแรกมาก แต่ใช้เพียงไม่กี่ตัวก็สามารถทดแทน
ประจุไฟฟ้ ารวมจากแบตเตอรี่แบบแรกได้ แบตเตอรี่แบบนีจ
้ ะมีความคุ้ม
ค่าในระยะยาว

คำถามที่มักจะพบบ่อยคือ เราจะสามารถใช้แบตเตอรี่รถยนต์แทน
แบตเตอรี่กับระบบผลิตพลังงานไฟฟ้ าจากแสงอาทิตย์ได้หรือไม่ – ถ้า
ระบบเล็กๆ ใช้กระแสไฟที่จะไปจ่ายโหลดไม่มาก ก็สามารถใช้แบตเตอรี่
รถยนต์ได้ แต่ทงั ้ นีท
้ งั ้ นัน
้ ต้องคำนวนให้ดีว่า ไม่ควรที่จะปล่อยกระแสไฟ
ออกจากแบตเตอรี่ให้มากเกินไปกว่าสเปคที่กำหนดไว้ด้วยเพราะถ้าปล่อย
กระแสไฟออกจากแบตมากเกินไปจะทำให้อายุการใช้งานของแบตเตอรี่
สัน
้ ลง จนไม่สามารถเก็บประจุไฟฟ้ าได้อีกต่อไป คล้ายกับแบต
คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คที่เสื่อมแล้ว ไม่สามารถที่จะจ่ายกระแสให้กับเครื่องได้
นานนัก

แบตเตอรี่รถยนต์มีอายุการใช้งานประมาณ 2 ปี แต่ถ้าเป็ นแบตเตอรี่


ดีพไซเคิลที่สามารถปล่อยประจุไฟฟ้ าได้มากจะมีอายุการใช้งาน 4-5 ปี
เลยทีเดียว ถ้าใช้งานกับระบบโซล่าเซลล์แล้ว แบตเตอรี่แบบดีพไซเคิลมี
ความคุ้มค่ามากกว่าและราคา ณ ปั จจุบัน(2556) ถือว่าลดลงมาจากที่
ผ่านมามาก อีกทัง้ ยังจ่ายกระแสไฟให้กับโหลดได้มากกว่าแบตรถยนต์
ก่อนที่จะทำการชาร์จประจุใหม่ด้วย

เครื่องควบคุมการชาร์จ – แบตเตอรี่จะต่อกับเครื่องควบคุมการ
ชาร์จซึ่งทำหน้าที่ปรับแรงดันให้เหมาะสมไม่ให้สูงไปเพราะอาจทำให้
แบตเตอรี่เสียหายได้ ถ้าแบตเตอรี่มีแรงดันที่ต่ำมากกว่าค่าที่ตงั ้ ไว้ใน
เครื่องควบคุมการชาร์จ เครื่องควบคุมการชาร์จจะปลดโหลดออกไปทันที
เพราะถ้าไม่ทำอย่างนีแ
้ ล้วประจุที่เก็บไว้ในแบตเตอรี่จะถูกปล่อยไปจน
หมด ซึ่งไม่เป็ นผลดีต่อแบตเตอรี่เพราะจะทำให้เซลล์ที่อยู่ข้างในไม่
สามารถกลับมาชาร์จประจุได้อีก

ข้อควรระวัง!

ไม่ควรปล่อยให้แบตเตอรี่ปล่อยประจุ(กระแสไฟ)จนหมด เพราะจะ
ทำให้ประสิทธิภาพในการเก็บประจุของแบตเตอรี่ลดลงไปอย่างมาก และ
บางครัง้ จะไม่สามารถนำกลับมาชาร์จประจุได้อีกต่อไป

ควรติดตัง้ แบตเตอรี่ที่อุณภูมิที่กำหนดไว้ในสเปค โดยส่วนใหญ่แล้ว


แบตเตอรี่จะทำงานได้ดีที่อุณภูมิ 25 องศาเซลเซียส ถ้าอุณหภูมิสูงกว่านี ้
จะทำให้อายุการใช้งานของแบตเตอรี่ลดลง ถ้าอุณหภูมิต่ำกว่านี ้ จะทำให้
ประสิทธิภาพในการเก็บประจุลด
ควรเลือกขนาดความจุของแบตเตอรี่ให้มีการชาร์จประจุเต็มทุกวัน
เพราะถ้าแบตเตอรี่แบบลีดเอซิดไม่เคยชาร์จเต็มเลย จะทำให้อายุการใช้
งานของแบตเตอรี่สน
ั ้ ลง

การติดตัง้ ขนาดของโซล่าเซลล์รวมต้องมีความเหมาะสมกับขนาด
ของแบตเตอรี่ด้วย มิฉะนัน
้ แล้วโซล่าเซลล์จะผลิตไฟฟ้ ามากหรือน้อยเกิน
ไป อาจทำให้แบตเตอรี่เสื่อมสภาพเร็วและทำให้เราเสียค่าใช้จ่ายในการ
เปลี่ยนแบตเตอรี่ชุดใหม่ การออกแบบขนาดโซล่าเซลล์ที่เหมาะสม
ตาม คู่มือออกแบบ ติดตัง้ และใช้งานโซล่าเซลล์ จะช่วยให้แบตเตอรี่มีการ
ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้ยาวนานยิ่งขึน

2.7 รูปภาพแบตเตอรี่

2.2 หลักการทำงานของตู้อบพลังงานแห้งแสงอาทิตย์

ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ มีลักษณะเป็ นเรือนกระจก


(Greenhouse) ซึ่งหลังคาทำจากวัสดุใสเป็ นแผ่นอะคลีลิค ปิ ดบนหลังคา
โครงโลหะแบบปิ ดสนิท ซึ่งการใช้แผ่นอะคลีลค
ิ ในการทำหลังคานัน
้ ทำให้
แสงอาทิตย์ส่องผ่านได้ดีแต่รังสีความร้อนแผ่จากภายในตู้อบแห้งจะออก
มาได้น้อย จึงทำให้เกิดภาวะเรือนกระจก (Greenhouse effect) ความ
ร้อนส่วนใหญ่จึกถูกกักอยู่ภายในตู้อบแห้ง นอกจากนีแ
้ ผ่นอะคลีลค
ิ ยังเป็ น
ฉนวนความร้อนที่ดี น้ำหนักเบาดัดโค้งได้ง่ายมีอายุการใช้งานยาวนาน

เพื่อระบายความร้อนหรือน้ำที่ระเหยออกมาจากผลิตภัทณฑ์ที่
ต้องการอบแห้งในระบบ จึงมีการติดตัง้ พัดลมดูดอากาศ และมีช่องอากาศ
เข้าเพื่อให้อากาศเข้ามาแทนอากาศที่ถูกดูดออก โดยใช้พัดลมกระแสตรง
และมีแผงโซล่าเซลล์เพื่อให้กำลังไฟฟ้ ากับพัดลม นอกจากนีย
้ ังสามารถ
เคลื่อนย้ายได้สะดวกเพราะมีขนาดเล็กกะทัดรัด และยังมีล้อเข็นเพื่อให้
สะดวกในการใช้งาน มีความสูงจากพื้น ...... เซนติเมตร และความกว้าง
....... เซนติเมตร และความยาว ......... เซนติเมตร ซึง่ มีความพอดีในการ
ยืนและเอื้อมหยิบวัตถุดิบที่ใช้ในการอบแห้งอย่างลงตัว เหมาะสำหรับใช้
งานในครอบครัว รวมถึงวิสาหกิจชุมชน หรือธุรกิจแปรรูปขนาดเล็กได้
เป็ นอย่างดี

2.3 สมรรถนะของตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์

2.3.1 สามารถอบแห้งผลไม้ได้ 3-5 กิโลกรัมต่อครัง้

2.3.2 อุณหภูมิของอากาศภายในตู้อบแห้งอยู้ในช่าง 40 – 50 องศา


เซลเซียส

2.3.3 การอบในอุณหภูมิ 40 – 50 อาศาด้วยความร้อนจากแสง


อาทิตย์จะทำให้ผลิตภัณฑ์มีสีสวยงามไม่ซีดจางเหมือนการอบโดยใช้แก๊ส
หรือการตากแดดโดยตรง

2.3.4 ถูกออกแบบให้มีขนาดที่พอดีและรูปทรงที่สวยงาม
2.3.5 ใช้วัดสุ อุปกรณ์ ที่ทันสมัยและมีคุณภาพในจัดทำตู้อบแห้ง
พลังงานแสงอาทิตย์

2.4 ข้อดีสำหรับการใช้ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์

2.4.1 ผลิตสินค้าอบแห้งได้เร็วและมากขึน

2.4.2 สะอาดปลอดภัยถูกสุขอนามัย ป้ องกันการปนเปื้ อน และ


ป้ องกันสัตว์

2.4.3 เคลื่อนย้านได้สะดวก เหมาะสำหรับการใช้งานในครัวเรือน

บทที่ 3
วิธีการดำเนินโครงงาน
จากที่ผู้จัดทำโครงการได้ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลในการทำโครง
ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ ได้มีขน
ั ้ ตอน และวิธีดำเนินงานตามรายละเอียด
ในหัวข้อต่อไปนี ้
3.1 วิธีการดำเนินงาน
โฟลว์ชาร์ตการดำเนินงาน

เริ่ม

ศึกษาเกี่ยวกับโครงการ ตู้อบแห้ง
พลังงานแสงอาทิตย์

ออกแบบโครงสร้ างโครงการ

ประกอบโครงการตามแบบ

ทดสอบการทำงาน
แก้ไข
บันทึกผลการทดสอบ

จัดรูปเล่มทำรายงาน

จบ,นำเสนอ
3.2 วัสดุอุปกรณ์
3.1.1 พัดลมระบายความร้อน
3.1.2 แบตเตอรี่ 12 V
3.1.3 แผงโซลาร์เซลล์ข
3.1.4 ชาร์จเจอร์
3.1.5 ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์
3.1.6 เหล็กกล่องตัด 6 เมตร
3.1.7 สายไฟ

3.2 วิธีสร้าง
3.2.1 ใช้เหล็กตัดและเชื่อมต่อให้ได้โครงสร้างส่วนโครงสร้างและขา
เพื่อตัง้ ไว้สำหรับติดตัง้ ตู้อบ
3.2.2 เจาะกล่องด้านข้างเป็ นรูวงกลมเพื่อติดตัง้ พัดลมระบายความ
ร้อน เพื่อระบายความชื้นของอาหาร
3.2.3 ติดตัง้ แผ่นโซล่าเซลล์ไว้ที่ด้านขวาของตู้และติดตัง้ แบตเตอรี่
เพื่อส่งกระแสไฟให้กับพัดลมระบายความร้อน
3.2.4 ติดตัง้ ตัววัดอุณหภูมิในตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อกำหนด
อุณหภูมิสำหรับอบอาหาร และไม่เปลืองพลังงานในแบตเตอรี่
3.2.5 ติดตัง้ ที่วางตะแกรงสำหรับวางอาหารภายในตู้อบพลังงาน
แสงอาทิตย์

3.3 ศึกษาประสิทธิภาพของตู้อบพลังแสงอาทิตย์
1. นำตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ไปทิง้ ไว้กลางแดดโดยเริ่มตัง้ แต่
10:00 น. ถึง 16:00 น.
2. ตรวจวัดอุณหภูมิภายในตู้อบทุก 1 ชั่วโมง
3. อ่านค่าจากชุดวัดอุณหภูมิและความชื้น
4. แล้วบันทึกผลการทดลอง ภายใน 2 วัน
ตารางที่ 3.3 ศึกษาประสิทธิภาพของตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ภายใน 2
วัน

เวลา อุณหภูมิภายนอก(องศา) อุณหภูมิภายในตู้อบ (องศา)

วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 1 วันที่ 2


10:00
11:00
12:00
13:00
14:00
15:00
16:00
รวม

3.4 ศึกษาความสุกของวัตถุดิบอาหารโดยวัดจากน้ำหนัก
1 นำตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ทงิ ้ ไว้กลางแดด โดยเริ่มตัง้ แต่ 08:00
น. ถึง 10:00 น.
2 ใส่วัตถุดิบอาหารใส่ลงบนตะแกรงในตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์
ตัง้ แต่เวลา 10:00 น.
3 ใส่วัตถุดิบอาหารภายนอกเครื่องอบพลังงานแสงอาทิตย์ แตกแดด
แบบธรรมดา ตัง้ แต่เวลา 10:00 น.
4. เปิ ดใช้งานตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ และพัดลมระบายความชื้น
ตัง้ แต่เวลา 10:00 น.
5. บันทึกผลการทดลอง

ตารางที่ 3.4 ศึกษาความสุกของวัตถุดิบอาหารจากน้ำหนัก

น้ำหนักของวัตถุดิบ น้ำหนักของวัตถุดิบ
ขณะที่ใช้อบในตู้อบ ขณะที่ไม่ได้อบในตู้อบ
วัตถุดิบ
พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานแสงอาทิตย์
(กก.) (กก.)
1.กล้วย
2.พริก
3.เนื้อหมู
รวม
บทที่ 4
ผลการทดลอง

ผลการทดลอง ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ ปรากฏผลตามลำดับขัน



ดังนี ้
ตอนที่ 1 ศึกษาประสิทธิภาพของตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์
ตอนที่ 2 ศึกษาความสุกของวัตถุดิบอาหารโดยวัดจากน้ำหนัก

ตอนที่ 1 ผลของการศึกษาประสิทธิภาพของตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์

เวลา อุณหภูมิภายนอก(องศา) อุณหภูมิภายในตู้อบ (องศา)

วันที่ 1 วันที่ 2 วันที่ 1 วันที่ 2


10:00 31.00 33.00 53.35 55.00
11:00 33.00 38.00 61.02 63.00
12:00 38.00 41.00 68.00 67.01
13:00 41.00 43.20 68.32 73.00
14:00 39.00 39.28 70.00 72.00
15:00 38.50 38.20 72.00 70.46
16:00 35.80 35.80 68.58 70.00
รวม 218.3 268.48 461.27 516.01
จากตาราง การทดลองตอนที่ 1 จะเห็นผลรวมได้ชัดเจนเลยว่า
อุณหภูมิที่อยู่ภายในตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์มากกว่าจริง ๆ วันที่ 1
อุณหภูมิต่างกันอยู่ที่ 242.7 องศา วันที่ 2 อุณหภูมิต่างกันอยู่ที่ 247.53
องศา

ตอนที่ 2 ผลของการทดลองความสุกของวัตถุดิบอาหารโดยวัดจากน้ำ
หนัก

น้ำหนักของวัตถุดิบ น้ำหนักของวัตถุดิบ
ขณะที่ใช้อบในตู้อบ ขณะที่ไม่ได้อบในตู้อบ
วัตถุดิบ
พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานแสงอาทิตย์
(ก.) (ก.)
1.กล้วย 28.0 31.2
2.พริก 36.6 38.2
3.เนื้อหมู 58.7 24.7
รวม 122.7 94.1

จากตาราง การทดลองตอนที่ 2 จะเห็นผลรวมได้ชัดเจนเลยว่า น้ำ


หนักที่ไม่ได้อยู่ภายในตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์มากกว่า ต่างกันถึง 28.6
กรัม
บทที่ 5
สรุป และ อภิปรายผล

ผลการทดลอง
จากการศึกษาออกแบบตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ สามารถสรุป
อภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะ ดังนี ้
5.1 สรุปผลการทดลอง
5.2 ปั ญหาอุปสรรคในการทำงาน
5.3 ข้อเสนอแนะในการทำโครงงาน

5.1 สรุปผลการทดลอง
จากการศึกษาตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ โดยการใช้ผลพัดลม
ระบายอากาศ ได้ผลการทดสอบประสิทธิภาพของตู้อบแห้งพลังงานแสง
อาทิตย์ ดังนี ้
5.1.1 อุณหภูมิในแต่ละช่วงเวลาทัง้ ภายในและภายนอกของตู้อบ
แห้งพลังงานแสงอาทิตย์ต่างกัน ซึ่งจะมีผลทำให้การสุกของอาหารที่ต่าง
กันด้วย
5.1.2 ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์เครื่องนีส
้ ามารถใช้ประกอบอาหาร
และยังสามารถทำให้อาหารสุกได้จริง
5.1.3 จากการนำกล้วยหอมมาทดลองประสิทธิภาพของตู้อบ
พลังงานแสงอาทิตย์ กับการที่นำกล้วยหอมมาแตกแดดทั่วไป พบว่ากล้วย
หอมที่ทดลองในตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ มีการแห้งเร็วกว่ากล้วย
หอมที่ถูกนำมาตากแดดไว้จริง
5.1.4 เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์สามารถใช้กับอาหารได้
หลากหลายประเภท เช่น เนื้อหมู เนื้อปลา กล้วย พริก ฯลฯ
5.2 ปั ญหาและอุปสรรคในการทำงาน
5.2.1 ด้วยสภาพอากาศที่ไม่แน่นอนจึงทำให้ยากแก่การทดลองและ
การใช้งาน
5.2.2 สมาชิกบางคนยังใช้เครื่องมือการทำเครื่องอบแห้งพลังงาน
แสงอาทิตย์ไม่ได้
5.2.3 การทำโครงงานครัง้ นีไ้ ม่คำนึงถึงต้นทุนให้ดี
5.2.4 อุปกรณ์บางอย่างหาซื้อได้ยาก จึงทำให้เวลาในการทำโครง
งานช้าลง
5.3 ข้อเสนอแนะในการทำโครงงาน
1 อุปกรณ์หาซื้อได้อยากควรมีการวางแผนให้ดี
2 เมื่อทำการใช้งานตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ ควรทำความสะอาด
ก่อนทุกครัง้
3 ควรมีการวางแผนในการดำเนินโครงงานให้เหมาะสมกับการ
ดำเนินโครงงานจริง ทำให้มีความเร็วในการดำเนินโครงงาน
5.3.1 ข้อเสนอแนะสำหรับการพัฒนาในครัง้ ต่อไป
1. ศึกษาตู้อบแบบใหม่ ๆ เพื่อให้เกินความร้อนมากยิ่งขึน

2. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่เพื่อลด
ต้นทุนในการสร้างต่ำลง
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
ภาพประกอบรายงานการทดลองครัง้ นีไ้ ด้ดาเนินการภายในวิทยาลัย
เทคนิคราษีไศล ขอขอบคุณแผนกไฟฟ้ ากำลังอาคารและความร่วมมือของ
นักศึกษาในภาควิชาที่ให้ความร่วมมือเป็ นอย่างดียิ่ง

1. ทำโครงสร้าง

ก-1 ทำโครงสร้าง
2. ประกอบตู้อบ

ก-2 ประกอบตู้
3. แผงโซลาร์เซลล์

ก-3 แผงโซลาร์เซลล์

4. พัดลมระบายความร้อน
ก-4 พัดลมระบายความร้อน

You might also like