Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 8

เกษตรอัจฉริยะดึงศักยภาพการเกษตรโลก

ประเด็นต่างๆ เช่น ความต้องการอาหารเพิม่ ขึน้ พืน้ ทีเ่ พาะปลูกจ�ากัด ต้นทุนการผลิตพุง่ สูง


ขึน้ การขาดแคลนน�า้ ความต้องการแรงงาน สภาพภูมอิ ากาศเปลีย่ นแปลง และ
การสูญเสียคุณค่าทางโภชนาการ ยังคงส่งผลกระทบต่อการผลิตอาหารของโลกใน ต ร อ จ
ั ฉ ริยะ
ปัจจุบนั อย่างต่อเนือ่ ง ดังนัน้ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของจ�านวนประชากรโลก
เกษ โตเกินกว่า
จะเติบ
ทีส่ งู ขึน้ เกษตรกรจึงต้องเร่งการผลิตอาหารเพิม่ ขึน้ ถึง 70% เพือ่ ป้อนประชากรโลก
ประมาณ 1 หมืน่ ล้านคน ภายในปี 2593 ซึง่ เทียบเท่ากับเมล็ดข้าว 2.5 ตันต่อเอเคอร์ 2 เ5ทปีข่า้างหน้า
จึงเห็นได้ชดั เจนว่าอุตสาหกรรมการเกษตรเป็นส่วนส�าคัญทีข่ าดไม่ได้ของเศรษฐกิจโลก ช่วง
ใน อัตราเติบ โต
ดังนัน้ โอกาสในการสร้างอนาคตทีย่ งั่ ยืนนัน้ จึงขึน้ อยูก่ บั ความสามารถในการผลิต ด้วย องหลัก
อาหารทีม่ คี ณ ุ ค่าทางโภชนาการอย่างเพียงพอส�าหรับทุกคน ด้วยเหตุนี้ โลกจึงก�าลัง เลขส
ค่อยๆ ขับเคลือ่ นวิสยั ทัศน์ขจัดความหิวโหย (Zero Hunger) ตามเป้าหมายการ
พัฒนาทีย่ งั่ ยืนของสหประชาชาติ (UN Sustainable Development Goals) ให้
กลายเป็นจริง ส่งผลเกิดความสนใจต่อบทบาทความส�าคัญของการเกษตรอัจฉริยะและ
การท�าฟาร์มอัจฉริยะเพิม่ ขึน้

แผนภูมิที่ 1: ตลาดเกษตรอัจฉริยะทั่วโลก ปี 2559, 2568 (พันล้านเหรียญสหรัฐ)


13.5

6.34

2559 2568
ปี Source: Industry Reports, Frost & Sullivan Analysis (2018)

เกษตรอัจฉริยะ (หรือการท�าฟาร์มอัจฉริยะ) ก�าลังเข้ามาแทนทีร่ ปู แบบการท�าเกษตรในปัจจุบนั กล่าวคือ เกษตรอัจฉริยะประยุกต์ใช้โซลูชนั่


อินเทอร์เน็ตแห่งสรรพสิง่ (IoT) ในการผลิตพืช ด้วยการผสมผสานเทคโนโลยีตา่ งๆ เช่น เซนเซอร์ เครือข่ายอัจฉริยะ รถยนต์ไร้คนขับ และ หุน่
ยนต์ เพือ่ เพิม่ ผลผลิตและลดปัจจัยการผลิตทางการเกษตร ยกตัวอย่างเช่น การเกษตรแม่นย�าสูง (Precision Agriculture: PA หรือ Precision
Farming) ใช้ระบบอัตโนมัตแิ ละอุปกรณ์เซนเซอร์ตรวจสอบและควบคุมกิจกรรมการเกษตร เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการจัดสรรทรัพยากร ทัง้ นี้
อุปกรณ์ IoT การเกษตรจะมีปริมาณการติดตัง้ ถึง 75 ล้านเครือ่ ง ภายในปี 2563 จากการประมาณการของอุตสาหกรรม
1
รูปแบบการประยุกต์ ใช้เกษตรอัจฉริยะและ IoT
หุ่นยนต์และโดรนเพื่อการเกษตร การติดตามปศุสัตว์
หุ่นยนต์สามารถเก็บเกี่ยวพืชผลโดยอัตโนมัติ การเลี้ยงปศุสัตว์แม่นย�าสูง (Precision
ขณะที่โดรนอ�านวยความสะดวกการท�า livestock farming: PLF) อาศัยกล้อง
เกษตรแม่นย�าสูง รวมถึงการจัดท�าแผนที่ ไมโครโฟน และเซนเซอร์เพื่อเฝ้าติดตาม
พื้นที่เพาะปลูกและการวิเคราะห์สุขภาพของ สุขภาพ การผลิต และการสืบพันธุ์ของปศุสัตว์
ดินและพืช แบบ Real-time

การเกษตรแม่นย�าสูง
(Precision Agriculture: PA) เทคโนโลยีก�าจัดของเสีย
PA ช่วยเพิ่มผลิตผลให้เกษตรกรโดยอาศัย วิธีท�าการเกษตรประณีต (Intensive farming)
เทคนิคที่แม่นย�าตั้งแต่การเตรียมหน้าดิน การ น�าไปสู่การพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการของ
หว่านเมล็ด การจัดการพื้นไร่และการเก็บเกี่ยว เสีย แพร่กระจายโดยเฉพาะในเขตเมือง

ระบบสารสนเทศส�าหรับจัดการการเกษตร
(Farm Management Information ระบบจัดการน�้าอัจฉริยะ
System: FMIS)FMIS ระบบจัดการน�้าอัจฉริยะสามารถตัดสินใจเวลา
FMIS ก�าลังกลายเป็นช่องใหม่ส�าหรับธุรกิจ และปริมาณการทดน�้าและด�าเนินการในระดับ
เทคโนโลยีการเกษตร ครอบคลุมตั้งแต่การ ที่เหมาะสม เพื่อลดการทดน�้ามากหรือน้อยเกิน
วางแผนเพาะปลูก ไปจนถึงควบคุมสินค้าคงคลัง ไป จึงช่วยควบคุมการสูญเสียน�้าในการเกษตร
และการวิเคราะห์ติดตามผล
โลจิสติกส์และคลังสินค้าอัจฉริยะ
โลจิสติกส์อัจฉริยะ ช่วยลดการสูญเสียจาก ตลาดดิจิทัล
กระบวนการผลิต โดยใช้ IoT ติดตาม ดูแล รูปแบบธุรกิจการเกษตรแบบใหม่ท�าการเชื่อมโยง
และจัดการห่วงโซ่คุณค่าการผลิตอาหาร เกษตรกรและผู้บริโภคผ่านตลาดดิจิทัล
(เช่น ฉลากอัจฉริยะ การจัดการกลุ่มยาน
พาหนะแบบ Real-time เป็นต้น)

เรือนกระจกอัจฉริยะ การตรวจวัดและพยากรณ์สภาพอากาศ
เรือนกระจกอัจฉริยะท�าการติดตามข้อมูล การตรวจวัดและพยากรณ์สภาพอากาศช่วยให้
ตั้งแต่การควบคุมสภาพแวดล้อมการเกษตร หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการ
ไปถึงกระบวนการเจริญเติบโตของพืช เพื่อให้ จัดการฟาร์มและที่ดินตัดสินใจได้อย่างมี
ได้การเก็บเกี่ยวผลผลิตสูงและมีคุณภาพที่ดี ประสิทธิภาพมากขึ้น
Source: Frost & Sullivan (2018)

เหตุผลที่เกษตรอัจฉริยะก่อให้เกิดประสิทธิภาพ

การผลิตอาหารอย่าง เก็บเกี่ยวผลก�าไรสูงขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ


มีประสิทธิภาพมากขึ้น การเกษตรด้วยเทคโนโลยีชั้นสูงช่วย การใช้ทรัพยากร โครงการรัฐบาล
เกษตรกรสามารถตัดสินใจได้อย่าง เพิ่มผลผลิตและผลตอบแทนจากการ เทคโนโลยีช่วยประหยัดทรัพยากร การรักษาคุณภาพพืชไร่และการลด
รวดเร็วและเหมาะสมยิ่งขึ้น โดย ลงทุน วัตถุดบิ และลดการสูญเสียพลังงาน น�า้ อัตราดินสึกกร่อนเป็นหนึ่งในวาระ
อาศัยข้อมูลการปลูกพืชไร่แบบ และปุ๋ย เชิงนโยบายอันดับต้นๆ ของรัฐบาล
Real-time หลายประเทศ

2
นวัตกรรมการเกษตรดึงดูดความสนใจในเอเชียแปซิฟิก
เอเชียรองรับความต้องการอาหารถึง 60% ของประชากรโลก ด้วยสัดส่วนเพียง 23% ของพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมทัง้ หมดของโลก จึงเป็นแหล่งผลิต
อาหารทีส่ า� คัญอย่างยิง่ ยวด ตัวอย่างเช่น เอเชีย คิดเป็น 90% ของผลผลิตข้าวทัง้ โลก อย่างไรก็ตาม สภาพภูมอิ ากาศทีแ่ ปรปรวนและการขยาย
ตัวของเมืองอย่างรวดเร็วอาจคุกคามแหล่งอาหารของเอเชีย ดังนัน้ ภูมภิ าคจึงจ�าเป็นต้องใช้แนวทางเชิงเทคโนโลยีเพือ่ ช่วยประคองการเติบโต
ทางการเกษตรให้สอดคล้องกับจ�านวนประชากรเพิม่ ขึน้ ทัง้ นี้ การเกษตรแม่นย�าสูงสามารถจ�าแนกประเภทตามแนวทางตอบโจทย์ของตลาด
ได้แก่ระบบฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และการบริการ

ประเภทของการเกษตรแม่นย�าสูง ระบบฮาร์ดแวร์
(Precision Agriculture) หุน่ ยนต์และระบบอัตโนมัติ

ระบบตรวจจับ ติดตามสถานะและ
ซอฟต์แวร์ น�าทาง (Sensing, Monitoring and
Navigation Systems)
บนคลาวด์
(On-cloud)
การบริการ
บนระบบภายใน การบูรณาการ
(On-premise) และการใช้งาน

การซ่อมบ�ารุงและช่วยเหลือ

สตาร์ทอัพด้านเทคโนโลยีการเกษตรในเอเชียแปซิฟิก
การเติบโตและการประยุกต์ใช้เกษตรอัจฉริยะมีหลักฐานชัดเจนในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การถือก�าเนิดของธุรกิจเทคโนโลยี
การเกษตรในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ

ชือ่ : Mimosatek
ประเทศเวียดนาม
ก่อตัง้ เมือ่ ปี 2557 Mimosatek พัฒนาระบบ
ทีอ่ าศัยการเก็บข้อมูลบนคลาวด์ ช่วยให้
เกษตรกรควบคุมและจัดการฟาร์ม ด้วย
เซนเซอร์ตรวจวัดสภาพแวดล้อม โดย
เกษตรกรจะได้รบั การแจ้งเตือนเหตุผดิ ปกติ
ผ่านโทรศัพท์เคลือ่ นที่

ชือ่ : FlyBird Farm Innovations


ประเทศอินเดีย
FlyBird Farm Innovations พัฒนาโซลูชนั่ สัง่ ชือ่ : CityFarm ชือ่ : Cropital
กระบวนการทดน�า้ ให้ทา� งานอัตโนมัติ โดยใช้ ประเทศมาเลเซีย ประเทศฟิลปิ ปินส์
เซนเซอร์วดั อุณหภูมคิ วบคูก่ บั อุปกรณ์ควบคุม Cropital เป็นสตาร์ทอัพทีอ่ ยูก่ งึ่ กลางระหว่าง
ปริมาณน�า้ และตัวจับเวลา นอกจากนี้ บริษทั ยัง CityFarm ซึง่ ก่อตัง้ ในปี 2559 มุง่ สร้างแหล่ง
อาหารทีย่ งั่ ยืนด้วยตัวเองในเมืองต่างๆ โดย อุตสาหกรรมเทคโนโลยีการเงินและเทคโนโลยี
ช่วยให้เกษตรกรสามารถตรวจสอบและควบคุมการ การเกษตร โดยท�าการพัฒนาแพลทฟอร์มระดม
ทดน�า้ จากระยะไกล ผ่านแอพพลิเคชัน่ บนโทรศัพท์ อาศัยเทคโนโลยีไฮโดรโปนิกส์ เอือ้ ให้สามารถ
ท�าการเกษตรปลอดดินในย่านใจกลางเมือง ทุน (crowdfunding) เพือ่ สนับสนุนเกษตรกรและ
เคลือ่ นที่ เพิม่ ประสิทธิภาพพืน้ ทีเ่ พาะปลูก

3
ตลาดเกษตรอัจฉริยะของประเทศไทย
ภาคการเกษตรในประเทศไทยจ้างงานคิดเป็นสัดส่วนถึง 33% ของประชากรวัยท�างาน อย่างไรก็ตาม การเกษตรสร้างมูลค่าเพียง 8.7% ของผลิตภัณฑ์มวลรวม
ของประเทศในปี 2560 ดังนัน้ เพือ่ เพิม่ ผลก�าไรของภาคการเกษตร รัฐบาลไทยได้ออกนโยบายและริเริม่ กิจกรรมส่งเสริม เพือ่ แปลงการเกษตรดัง้ เดิมไปสูเ่ กษตร
อัจฉริยะ ยกตัวอย่าง เช่น รัฐบาลประสงค์ให้เกษตรกรน�าการเกษตรทีเ่ ท่าทันต่อภูมอิ ากาศ (climate-smart farming) มาใช้ เพือ่ เพิม่ ผลิตผลด้วยการประยุกต์
ใช้เทคโนโลยีรบั มือสภาพอากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลง จากการออกนโยบายเกษตรอัจฉริยะในปี 2560 รัฐบาลคาดว่ารายได้ของเกษตรไทยรายย่อยจะเพิม่ ขึน้ ไปถึง
12,200 เหรียญสหรัฐต่อปี ในช่วง 20 ปีขา้ งหน้า
ศักยภาพของตลาดเกษตรอัจฉริยะและแผนทีน่ า� ทางเทคโนโลยีของประเทศไทย ช่วงปี 2558 – 2565 และ หลังจากนัน้

2561-2565 2561-2565 2565 – 2566 เป็นต้นไป

หุ่นยนต์และโดรน

การเกษตรแม่นยำาสูง

ระบบสารสนเทศจัดการการเกษตร

โลจิสติกส์อัจฉริยะ

เรือนกระจกอัจฉริยะ

การตรวจวัดปศุสัตว์

เทคโนโลยีของเสีย

ระบบชลประทานอัจฉริยะ

ตลาดดิจิทัล

การตรวจวัดสภาพแวดล้อม

ศักยภาพของตลาดประเทศไทย สูง ปานกลาง ตำ่า


Source: Frost & Sullivan (2018)

แผนภูมิที่ 2: ตลาดเกษตรอัจฉริยะของประเทศไทย ปี 2560 – 2565 หน่วยเป็นล้านเหรียญสหรัฐ


300
269.9
อัตราการเติบโต
250 2560-2565
20.3% 224.3
มูลค่าตลาด (ล้านเหรียญ)

200 186.4

154.9
150 128.7
106.9
100

50

0
2560 2561 2562 2563 2564 2565
Source: Frost & Sullivan (2018)
4
มาตรการจูงใจเกษตรอัจฉริยะของประเทศไทย (SMART FARMING INCENTIVES)

มาตรการจูงใจ
มาตรการจูงใจของส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI)
ในกลุ่มนี้ ได้แก่
• ยกเว้นภาษีน�าเข้าเครื่องจักร
• ยกเว้นภาษีน�าเข้าวัตถุดิบและส่วนประกอบส�าคัญส�าคัญที่ใช้ใน
กิจกรรม การผลิตสินค้าส่งออก เป็นเวลา 1 ปี ซึ่งสามารถขยายระยะ
เวลาออกไป หาก BOI พิจารณาเห็นสมควร
การผลิตอาหารสัตว์และส่วนประกอบของอาหารสัตว์ • มาตรการจูงใจอื่นๆ ที่มิใช่ภาษี

มาตรการจูงใจ
มาตรการจูงใจของส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI)
ในกลุ่มนี้ ได้แก่
• ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นเวลา 5 ปี
กิจกรรม • ยกเว้นภาษีน�าเข้าเครื่องจักร
• ยกเว้นภาษีน�าเข้าวัตถุดิบและส่วนประกอบส�าคัญส�าคัญที่ใช้ใน
การผลิตสินค้า/บริการทีเ่ กีย่ วกับการเกษตรแบบใหม่ โครงการต้อง การผลิตสินค้าส่งออก เป็นเวลา 1 ปี ซึ่งสามารถขยายระยะ
ครอบคลุมระบบและกระบวนการพัฒนาซอตฟ์แวร์สา� หรับการ เวลาออกไป หาก BOI พิจารณาเห็นสมควร
จัดการทรัพยากร ซอฟต์แวร์จดั การทรัพยากรต้องครบวงจรและ • มาตรการจูงใจอื่นๆ ที่มิใช่ภาษี
สามารถรวบรวม เข้าใจและวิเคราะห์ขอ้ มูลได้

Source: Amcham Thailand & BOI Thailand

พัฒนาการของอุตสาหกรรมในประเทศไทย
ผูเ้ ล่นด้านเทคโนโลยีการเกษตร ผูเ้ ล่นด้านเทคโนโลยีการเกษตร
ไร่องุน่ กรานมอนเต้ ฟาร์มดี เอเชีย
GranMonte Farm FarmD Asia
เทคโนโลยี เทคโนโลยี
เทคโนโลยีตรวจวัดสภาพแวดล้อม หุน่ ยนต์โดรนพ่นยาก�าจัดแมลง
(Micro-Climate Monitoring System) (Insecticide Drone)
ลักษณะการใช้งาน: ลักษณะการใช้งาน:
• ใช้ฮาร์ดแวร์และเซนเซอร์รวบรวมข้อมูลสภาพ • ผูใ้ ช้สามารถพ่นยาก�าจัดแมลงทางอากาศโดย
อัตโนมัตหิ รือใช้มอื บังคับ
แวดล้อมรอบด้านเพือ่ เพิม่ ผลผลิตและป้องกัน • ลดความเสีย่ งต่อสุขภาพ เนือ่ งจากผูใ้ ช้มโี อกาส
ป้องกันความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ สัมผัสสารเคมีนอ้ ยลง
• เทคโนโลยีดงั กล่าวช่วยควบคุมการทดน�า้ และ • ส่งเสริมการพ่นยาก�าจัดแมลงในพืน้ ทีเ่ พาะปลูกให้
ท�างานอัตโนมัตเิ มือ่ ตรวจพบความชืน้ ต�า่ เท่ากันมากขึน้

ผูเ้ ล่นด้านเทคโนโลยีการเกษตร
ไทยแอดวานซ์ อะกรี เทค
Thai Advanced AgriTech
เทคโนโลยี
ชุดอุปกรณ์ทา� สวนแนวตัง้
(Vertical Gardening Kit)
ลักษณะการใช้งาน:
• เทคโนโลยนีล้ ดการใช้พนื้ ทีล่ งได้ถงึ 3 เท่า ดูแล
รักษาง่ายขึน้ และก่อให้เกิดผลผลิตทีค่ ณุ ภาพดี
กว่าเมือ่ เทียบกับการเกษตรแบบดัง้ เดิม
• Smart Kit มีอายุการใช้งาน 4-5 ปี

5
โอกาสเติบโตส�าหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอุตสาหกรรมไมซ์ประเทศไทย
สืบเนือ่ งจากความสนใจในเกษตรอัจฉริยะเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะในเอเชีย ผูเ้ ล่นในอุตสาหกรรมไมซ์ จึงมีโอกาสทีจ่ ะจัดงานเชิงธุรกิจ งานประชุม
และงานสัมมนามากขึน้ ในอนาคต
หัวข้อการจัดงานไมซ์ดา้ นเกษตรอัจฉริยะทีแ่ นะน�า ได้แก่

หัวข้อ รูปแบบการจัดงานที่แนะน�า ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น


• จัดงานแสดงสินค้า นิทรรศการและงานประชุม
นานาชาติ • สร้างการรับรู้และความสนใจด้านเกษตรอัจฉริยะ
ความก้าวหน้าในเทคโนโลยี • ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับภาพรวมของเกษตร
การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ • กลุ่มเป้าหมาย: เกษตรกร นักลงทุนและสตาร์ทอัพ
ธุรกิจการเกษตร อัจฉริยะในปัจจุบันและอนาคต

• จัดงานประชุมธุรกิจและงานประชุมนานาชาติ • รักษาความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การสร้างพันธมิตรระหว่างธุรกิจ • สร้างโอกาสธุรกิจระหว่างผู้เล่นและเร่งขับเคลื่อน
การเกษตรและเกษตรกร • กลุม่ เป้าหมาย: เกษตรกร
ตลาดเกษตรอัจฉริยะ

การน�าเสนอสตาร์ทอัพที่พัฒนา • เพิ่มมูลค่าการลงทุนเข้าสู่อุตสาหกรรม
• จัดงานประชุมนานาชาติและงานแสดงสินค้า เกษตรอัจฉริยะ
ระบบการเกษตรที่ราคาเหมาะสมและ • กลุม่ เป้าหมาย: เกษตรกร นักลงทุนและสตาร์ทอัพ
คุณภาพดี • ยกระดับการรับรู้ต่อโอกาสธุรกิจที่เพิ่มขึ้น

ประเด็นส�าคัญส�าหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอุตสาหกรรมไมซ์
ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทีเ่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรมไมซ์ในประเทศไทยมีโอกาสอาศัยประโยชน์จากความสนใจทีเ่ พิม่ ขึน้ ในเกษตรอัจฉริยะ เพือ่ ขับ
เคลือ่ นการเติบโตของภาคส่วนไมซ์ ในสถานการณ์ปจั จุบนั ผูเ้ ล่นในอุตสาหกรรมการเกษตรทัว่ โลกก�าลังน�าเสนอและสร้างสิง่ ประดิษฐ์ใหม่ๆ ดัง
นัน้ เป็นทีค่ าดว่า การจัดงานเชิงธุรกิจเกีย่ วกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีเปลีย่ นโลก (Disruptive technology) ในภาคการเกษตรจะเพิม่ ขึน้
ด้วยภาพลักษณ์ทถี่ กู ยกให้เป็นศูนย์กลางด้านการเกษตรเสมอมา ประเทศไทยจึงอยูใ่ นสถานะทีไ่ ด้เปรียบในการสร้างสรรค์นวัตกรรมการเกษตร
โดยเฉพาะอย่างยิง่ สภาพเศรษฐกิจขยายตัวและกระแสการพัฒนาภายในประเทศ ดังนัน้ นานาประเทศ จะให้ความสนใจประเทศไทยมากขึน้ ส่ง
ผลกระทบในแง่บวกต่ออุตสาหกรรมไมซ์ จากปริมาณการจัดงานประชุม งานสัมมนาและงานแสดงสินค้าเพิม่ ขึน้

ดังนัน้ นับจากนีไ้ ป ผูเ้ ล่นในอุตสาหกรรมไมซ์จา� เป็นต้องคว้าโอกาสนี้ ผ่านการสร้างความร่วมมือกับส�านักงานส่งเสริมการจัดประชุม


และนิทรรศการ (TCEB) เพือ่ แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมีศกั ยภาพการแข่งขันสูง และเป็นสถานทีจ่ ดั งานทีน่ า่ ดึงดูดส�าหรับกิจกรรมไมซ์ตา่ งๆ

6
การจัดงานไมซ์การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพที่จะเกิดขึ้นในเอเชีย

มกราคม 2562 มกราคม 2562 มกราคม 2562

2nd International Conference 21st International Conference on


21st International Conference on
on Agriculture, Food and Agricultural Biotechnology and
Agricultural and Forest Entomolog Plant Production Technologies
Biotechnology (ICAFB 2019)

Suntec ประเทศสิงคโปร์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ประเทศสิงคโปร์


ICAFB ICAFE2019 ICABPPT 2019

มกราคม 2562 มกราคม 2562 กุมภาพันธ์ 2563

21st International Conference 22nd International Conference


13th International Conference
on Agricultural Machines and on Agriculture, Environment,
on Agriculture and Plant Science
Technology Bioscience and Biotechnology

บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย โอซาก้า ประเทศญี่ปุ่น ดูไบ ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์


ICAMT 2019 Agriculture Plant & Science ICAEBB 2020

© 2018 Thailand Convention & Exhibition Bureau. All rights reserved.

You might also like