บท1 ล่าสุด

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

บทที่ 1

บทนำ

1.1 ควำมสำคัญของปัญหำ

เนื่องจากปัจจุบันการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค(กฟภ.)ได้มีการนาสายเคเบิลใต้ดิน ( Underground
Cable ) มาใช้ในระบบจาหน่ายของการไฟฟ้าเป็นจานวนมากขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากมีความปลอดภัยที่มี
มากกว่าสายเคเบิลอากาศ รวมทั้ง ทาให้ภูมิทัศน์ของเมืองนั้นๆมีความสวยงามมากขึ้นด้วยเนื่องจากไม่
มีเสาไฟและสายไฟมาบดบังทัศนียภาพ และ ความมั่นคงของระบบไฟฟ้าที่มีมากกว่าสายเคเบิลอากาศ
ด้วยเช่นกัน แต่อย่างไรก็ตามการเชื่อมต่อกันระหว่างสายเคเบิลใต้ดิน( ระบบใหม่ ) กับ สายเคเบิล
อากาศ ( ระบบ เก่า ) นั้นก็ยังคงมีปัญหาเกิดขึ้นเนื่องจากการเชื่อมต่อนั้นใช้การเชื่อมกันด้วยหางปลา
( Lug ) แล้วจึง ใช้น็อตยึดติดเข้าหากัน ซึ่งสายเคเบิลใต้ดินจะใช้หางปลาทองแดงแต่ในส่วนของสาย
เคเบิลอากาศนั้นจะใช้หางปลาอลูมิเ นียม ซึ่งจุดต่อตรงนี้เองที่เกิดปัญหาทั้งการเกิดตะกรัน และความ
ร้อน ทาให้ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของระบบไฟฟ้า
1.2 ทบทวนบทควำมวิจัยที่เกี่ยวข้อง

1.2.1 นาย ลือชัย ทองนิล นาเสนอบทความเกี่ยวกับเทคนิคการต่อกันทางไฟฟ้า ซึ่งสิ่งที่


เราสนใจในงานวิจัยนี้คือ สาเหตุที่ สาคัญที่ทาให้จุดต่อสายมีความต้านทานสูงโดยเฉพาะการเกิดจาก
ออกไซด์ที่ผิวหน้าสัมผัสซึ่งก็คือการที่ผิวของโลหะสัมผัสกับอากาศ ( ออกซิเจน )จะเกิดออกไซด์ที่มี
ลักษณะเป็นฟิล์มเคลือบซึ่งฟิล์มเคลือบนี้เองที่มีคุณสมบัติเป็นฉนวนไฟฟ้าทาให้เกิดความต้านทานที่
ผิวสัมผัสโดยเฉพาะออกไซด์ของอลูมิเนียมซึ่งมีสภาพฟิล์มที่แข็ง เหนียว มีความต้านทานสูงมาก และ
เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
1.2.2 กองข้อกาหนดทางเทคนิค ฝ่ายวิศวกรรม การไฟฟ้าส่วนถูมิภาค ซึ่งเขียนขึ้นในปี
2560 ได้นาเสนอบทความเกี่ยวกับสายเคเบิลอากาศที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคใช้อยู่ในปัจจุบัน
ซึ่งทาให้ทราบว่าสายเคเบิลอากาศ ในระบบ 22 เควี นั้น ใช้ตัวนาเป็นเส้นลวดอลูมิเนียมตีเกลียวอัด
แน่น มีตัวกั้นตัวนา เป็นสารกึ่งตัวนา XLPE หนาไม่น้อยกว่า 0.07 มม. ฉนวนทาจาก XLPE ที่ไม่ผสม
คาร์บอนหนาไม่น้อยกว่า 4.85 มม. และเปลือกที่ทาจาก XLPE ที่มีการผสมคาร์บอนลงไป หนาไม่
น้อยกว่า 1.75 มม. ซึ่งเราจะเห็นได้ว่าตัวนาที่ใช้นั้นแตกต่างจากสายเคเบิลใต้ดิน 22 เควี
1.2.3 กองข้อกาหนดทางเทคนิค ฝ่ายวิศวกรรม การไฟฟ้าส่วนถูมิภาค นาเสนอบทความที่
เกี่ยวกับข้อมูลของสายเคเบิลใต้ดินระบบ 22 เควี ซึ่งเราจะได้ว่าสายเคเบิลใต้ดินระบบ 22 เควีนั้นมี
โครงสร้างดังนี้โดยจะมีตัวนาเป็นเส้นลวดทองแดงตีเกลียวอัดแน่น มีตัวกั้นตัวนาเป็นสารกึ่งตัวนา
XLPE อัดแน่นหนาไม่น้อยกว่า 0.5 มม. ฉนวนทาจาก XLPE หนาไม่น้อยกว่า 5.5 มม. ตัวกั้นฉนวน
ทาจาก XLPE อัดแน่น หนาไม่น้อยกว่า 0.5 มม. และเปลือกทาจาก PE หนาไม่น้อยกว่า 2.4 มม.และ
จากการทดสอบเราจะพบว่าสายจะมีค่าการปล่อยประจุบางส่วน ( Partial Discharge ) นั้นไม่เกิน 10
พิโกคูลอมบ์ ซึ่งทาให้เราทราบได้ว่าสายเคเบิลใต้ดินระบบ 22 เควีนั้นหากอยู่ในสภาพปกติเราจะใช้
กล้องถ่ายภาพความร้อนไม่พบจุดที่มีอุณหภูมิแตกต่างจากจุดอื่น
1.2.4 นายณปภัช พิมพ์ดี นาเสนอบทความเกี่ยวกับการสาเหตุของการกัดกร่อนและ
ลั กษณะการกัดกร่ อนแบบต่างๆ ซึ่งในงานวิจัยนี้เราสนใจการกัดกร่อนเนื่องจากความต่างศักย์ (
Galvanic Corrosion ) ซึ่งเกิดจากวัตถุโลหะที่เป็นตัวนาไฟได้ 2 ชนิดที่ต่างกันในกรณีนี้คือ อลูมิเนียม
และ ทองแดง มาเชื่อมต่อกันจะเกิดความต่างศักย์ไฟฟ้าขึ้น ทาให้เกิดการไหลเวียนของอิเลคตรอน
ระหว่างวัตถุทั้งสองทาให้สูญเสียอิเลคตรอนของวัตถุที่มีค่าความต่างศักย์ต่ากว่าและถูกกัดกร่อน
1.2.5 ดร.ยุทธพงศ์ ทัพผดุง นาเสนอบทความเกี่ ยวกับตรวจสอบระบบไฟฟ้าโดยใช้กล้อง
ถ่ า ยภาพความร้ อ นซึ่ ง สามารถตรวจสอบได้ ใ นขณะที่ จ่ า ยไฟอยู่ จากบทความจะเห็ น ได้ ว่ า การ
ตรวจสอบระบบไฟฟ้าโดยใช้ กล้ องถ่า ยภาพความร้ อนสามารถหาสิ่ งผิ ด ปกติ ของระบบได้โ ดยใช้
อุณหภูมิเป็นเกณฑ์ในการตัดสิน โดยถ้าอุณหภูมิที่เกิดจุดร้อนมีค่าแตกต่าง (ΔT) สูงกว่า 15°C กับจุด
อื่ น ๆที่ ก ารท างานในลั ก ษณะเดี ย วกั น และในสภาวะโหลดใกล้ เ คี ย งกั น หรื อ เมื่ อ ΔT ระหว่ า ง
ส่วนประกอบไฟฟ้าต่างๆที่พบเกิดปัญหามีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิสภาวะแวดล้อม (Ambient Air
Temperature) มากกว่า 30°C
1.3 วัตถุประสงค์โครงงำน

1.3.1 เพื่อศึกษาปัญหาที่เกิดจากการเชื่อมต่อสายเคเบิลใต้ดินกับสายเคเบิลอากาศ
1.3.2 เพื่อศึกษาผลกระทบของปัญหาที่เกิดขึ้นว่าจะมีผลกระทบต่อระบบไฟฟ้ามากน้อย
เพียงใด
1.3.3 หาวิธีแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเชื่อมต่อสายเคเบิลใต้ดินกับสายเคเบิลอากาศ
1.3.4 เพื่อนาผลที่เป็นประโยชน์จากการศึกษาไปใช้กับระบบจาหน่ายของการส่ว นไฟฟ้า
ภูมิภาค
1.4 ขอบเขตโครงงำน

1.4.1 ศึกษาปัญหาและผลกระทบของปัญหาที่เกิดจากการเชื่อมต่อระบบไฟฟ้า
1.4.2 วิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุความเสียหายที่เกิดจากการเชื่อมต่อระบบไฟฟ้า
1.4.3 นาการทดสอบในห้องปฏิบัติการไฟฟ้าแรงสูงเพื่อนาไปสู่ข้อสรุปของปัญหา
1.4.4 นาผลที่ได้ไปแก้ปัญหาจริงต่อไป
1.5 ประโยชน์ของโครงงำน

1.5.1 สามารถเข้าใจปัญหาที่เกิดจากการเชื่อมต่อสายเคเบิลใต้ดินกับสายเคเบิลอากาศได้
1.5.2 สามารถทราบสาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการเชื่อมต่อสายเคเบิลใต้ดินกับสายเคเบิ ล
อากาศได้
1.5.3 สามารถหาวิธีแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการเชื่อมต่อสายเคเบิล ใต้ดินกับสายเคเบิล
อากาศที่สามารถปฏิบัติได้จริง
1.6 โครงสร้ำงโครงงำน

ศึกษาปั ญหาที่เกิดจากการเชื่อมต่อสายเคเบิลใต้ดินกับสายเคเบิลอากาศ

ศึกษาหาสาเหตุของปั ญหาที่เกิดจากการเชื่ อมต่อสายเคเบิลใต้ดินกับสาย


เคเบิ้ลอากาศ

ศึกษาผลกระทบจากศึกษาปัญหาที่เกิดจากการเชื่ อมต่อสายเคเบิลใต้ดิน
กับสายเคเบิลอากาศ

นาข้อมูลที่ได้มาหาแนวทางแก้ไข

สรุ ปผล

You might also like