Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 26

บทที่2

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

2.1 ศึกษาโครงสร้างเสาที่มีการติดตั้งสายเคเบิลอากาศและสายเคเบิลใต้ดิน

ภาพที่

2.1.1 เสาต้นขึ้นหัวเคเบิลใต้ดิน ( cable riser pole )

จะเป็นจุดที่สิ้นสุดของการก่อสร้างแบบระบบเคเบิลใต้ดินเพื่อที่จะต่อเข้ากะระบบ
ไฟฟ้าเหนื อดิน (overhead system )ที่เป็นสายเปลื อย หรือ สายหุ้มฉนวน โดยการติดตั้ง Cable
Riser Pole จะติดตั้ง 1 ชุด หรือ 2 ชุด ก็แล้วแต่กรณี เช่นเดียวกัน ทั้งระบบ 22 เควี 33 เควี และ
ระบบ 115 เควี หากก่อสร้างเคเบิลใต้ดินเพื่อรับไฟจากสถานีไฟฟ้า และไปเชื่อมต่อกับระบบเหนือดิน
ก็จะใช้ Cable Riser Pole จานวน 1 ชุด แต่ถ้าเป็นการก่อสร้างเคเบิลใต้ดินเพื่อระบบสาธารณูประ
โภคอื่น เช่น สายส่ งของการไฟฟ้าฝ่ ายผลิ ต หรือ ต้องลอดใต้ถนนทางหลวงยกระดับ เนื่องจาก
ระยะห่างทางไฟฟ้าระหว่างสายไฟกับพื้นผิวจราจรไม่เพียงพอ ก็จะใช้ Cable Riser Pole จานวน 2
ชุดโดยในแต่ละชุดเป็นตาแหน่งการเปลี่ยนแปลงจากสายไฟฟ้าระบบเหนือดินเป็นระบบเคเบิลใต้ดิน
ส่วนมากการก่อสร้างระบบเคเบิลใต้ดิน มักจะก่อสร้างภายในเขตตัวเมืองเพื่อต้องการความสวยงาม
ความมั่นคงและปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อมภายนอก ดังนั้นที่ตาแหน่งจุดที่สิ้นสุดของการก่อสร้างแบบ
ระบบเคเบิลใต้ดิน หากทาเป็นลักษณะก่อสร้างแบบวางพื้น (On Ground) โดยไม่ใช้เสาจะต้องกิน
พื้นที่มาก และไม่เหมาะสม แต่ถ้าทาเป็นลักษณะเสารับหรือที่เรียกว่า Cable Riser Pole จะใช้พื้นที่
น้อยกว่าทั้งไม่กีดขวางและกลมกลืนกับสภาพแวดล้อมมากกว่าดังนั้นปัจจุบันจุดขึ้นหัวสายเคเบิลใต้ดิน
ของ กฟภ. จะใช้เป็นเสา คอร.โดยสาหรับการติดตั้งตามแนวสาย ถ้าเป็นระบบจาหน่าย22 และ 33
kV จะใช้เป็นเสา คอร. เดี่ยว และ ถ้าเป็นสายส่งระบบ 115 kV จะใช้เป็นเสา คอร.คู่ สาหรับการ
รองรับการติดตั้งอุปกรณ์ที่มากกว่า
2.1.2 ส่วนประกอบและหน้าที่ของเสาต้นขึ้นหัวเคเบิลใต้ดิน
1. สวิตท์ตัดตอน (Disconnecting switch) ระบบ 22 และ 33 kV สวิตช์ตัดตอน
แรงสู งหนึ่ งขา 22 kV หรื อ 33 kV ขนาด 600 A เป็นอุปกรณ์ใช้ตัดตอนวงจรไฟฟ้า ในขณะที่ ไ ม่ มี
กระแสไฟฟ้า ( โหลด )โดยวิธีใช้ไม้ชักฟิวส์ ซึ่งงมีระดับ BIL เช่นเดียวกับที่อยู่ในสถานีไฟฟ้า โดยยึดให้
มั่นคงเข้ากับอุปกรณ์ติดตั้งสวิตช์
2. กับดักเสิร์จ (Lightning Arrester) ทาหน้าที่ป้องกันไม่ให้ฉนวนของสายเคเบิลใต้
ดินเสียหายเนื่องจากแรงดันเสิร์จ( แรงดันสูงจากฟ้าผ่า จากการสับสวิตช์หรืออื่นๆ )โดยจะรักษาระดับ
แรงดันไว้ไม่ให้มีค่าเกินกว่าที่ฉนวนของสายเคเบิลใต้ดินหรืออุปกรณ์ทนได้ปัจจุบันกับดักเสิร์จที่ กฟภ.
ใช้งานอยู่ในระบบจาหน่าย 22 kV จะมีค่าพิกัดแรงดัน(Ur) 20 - 21 kV สาหรับระบบจาหน่าย 22 kV
ที่ไม่มีการต่อลงดิน ผ่ านความต้านทานที่ส ถานีไฟฟ้า และ พิกัดแรงดัน (Ur) 24 kV ส าหรับระบบ
จาหน่าย 22 kV ที่มีการต่อลงดินผ่านความต้านทานที่สถานีไฟฟ้า (NGR) และค่าพิกัดแรงดัน(Ur) 30
kV สาหรับระบบจาหน่าย 33 kV ส่วนค่าความทนได้กระแสฟ้าผ่าแบ่งการใช้งานได้ดังนี้
กรณีติดตั้ง Cable Riser Pole หน้าสถานีไฟฟ้าใช้ขนาด 10 kA
กรณีติดตั้ง Cable Riser Pole ในไลน์ระบบจาหน่ายใช้ขนาด 5 kA
3. หัวเคเบิล (Terminator or Cable Riser) สาหรับหัวเคเบิลใต้ดิน 22 kV หรือ 33
kVทาหน้าที่กระจายสนามไฟฟ้าเนื่องจากผลของสนามไฟฟ้าเบี่ยงเบนไม่ให้มีสนามไฟฟ้าหนาแน่นที่
ปลายสายตัวนาต่อลงดิน ( Shield) ลด Stress ที่เกิดที่ปลายสาย Shield ซึ่งจะทาเป็น Stress Relief
Cone หรือใช้ High Permittivity Material ก็ได้ ณ ตาแหน่งปลายสาย Shield
4. ห่วงรัดสาย (Cable Grip) สาหรับสายเคเบิลใต้ดิน 22 kV หรือ 33 kV ทาหน้าที่
รัดสายเคเบิลฯจานวน3เส้นเข้าด้วยกัน(เพื่อที่จะได้ไม่มีผลจากฟลักซ์แม่เหล็กทาให้ไม่เกิดความร้อน
เพิ่มขึ้นที่สายเคเบิลฯ)แล้วแขวนยึดด้วยสลักเกลียวเข้ากับเสา คอร.เหตุผลเพื่อเป็นตัวช่วยรับน้าหนัก
ในแนวดิ่ ง ของสายเคเบิ ล ฯทั้ ง 3เส้ น ท าให้ ไ ม่ มี แ รงดึ ง ไปกระท ากั บ ส่ ว นที่ ต่ อ อยู่ กั บ หั ว เคเบิ ล
(termination)ได้
5. Air seal Compound ใช้สาหรับอุดช่องว่างบริเวณที่สายเคเบิลฯโผล่ออกจาก
ปลายท่อร้อยสายเพื่อป้องกันไม่ให้น้าเข้าไปในท่อร้อยสาย
6. ท่อเหล็กกล้าเคลือบสังกะสีหรือท่อ HDPE PN 6.3 มอก.982 ใช้สาหรับป้องกัน
สายเคเบิลฯทางด้านแรงกล สัตว์ หรือน้าเข้าสายเคเบิลฯโดยตรง ซึ่งท่อเหล็กกล้าสามารถใช้ร้อยสาย
เคเบิลฯจานวน 3 เส้นต่อท่อได้ เนื่องจากไม่มีผลจากฟลักซ์แม่เหล็กทาให้ไม่เกิดความร้อนขึ้นที่สาย
เคเบิลฯ
7. โครงเหล็กกันท่อร้อยสาย (Conduit Steel Guard) ใช้สาหรับป้องกันท่อร้อย
สายซึ่งจะเป็นการป้องกันสายเคเบิลฯไปในตัวซึ่งจะบอกให้บุคคลหรือรถที่สัญจรผ่านไปมาได้ทราบว่า
ณ จุดนี้ได้มีการติดตั้งท่อร้อยสายขึ้นซึ่งจะได้เพิ่มความระมัดระวังขึ้นขณะที่กาลังจะสัญจรผ่านจุด
ดังกล่าวนี้ โดยโครงกันสามารถติดตั้งได้ทั้งทิศทางเดียวกันและทิศตรงข้ามกับการจราจรแต่ทั่วไปนิยม
ติดตั้งในทิศตรงข้ามกับการจราจร
8. สายต่ อ ลงดิ น และแท่ ง หลั ก ดิ น (Ground Wire and Ground rod) จะมี
ความสาคัญเป็นอย่างยิ่งเนื่องจากสายต่อลงดินจะเป็นตัวนากระแสฟ้าผ่าหรือกระแสลัดวงจรลงดิน
และแท่งหลักดินจะช่วยกระจายประจุฟ้า ผ่าหรือนากระแสลัดวงจรที่เกิดขึ้นผลที่ตามมาคือจะทาให้
เกิดแรงดันมีค่าระดับต่างกันในแต่ละจุดภายในสายต่อลงดินบน Cable Riser Pole ดังนั้นถ้าสายต่อ
ลงดินขาดหรือหลุดจะทาให้ไม่มีจุดกราวด์อ้างอิงทาให้เกิดแรงดันสูงคร่อมอุปกรณ์บน Cable Riser
Pole เกินกว่าที่อุปกรณ์ทนได้เกิดการ Breakdown ตามมาในที่สุด
9. ท่อ PVC แข็งพร้อมอุปกรณ์ยึดใช้สาหรับสวมสายต่อลงดินเพื่อปกปิดไม่ให้บุคคล
สัมผัสสายโดยตรงซึ่งเมื่อเกิดฟ้าผ่าหรือลัดวงจรขึ้นเมื่อบุคคลไปสัมผัสโดยตรงในเวลานั้นจะทาให้เกิด
อันตรายเนื่องจากแรงดันสัมผัสขึ้นได้
2.1.3 โครงสร้างสายเคเบิลใต้ดิน

ภาพที่
1. ตัวนา (Conductor) ทาหน้าที่นากระแสไฟฟ้า ทาจากทองแดง
2. วั ส ดุ กึ่ ง ตั ว น า (Conductor screen) ซึ่ ง อาจเป็ น ผ้ า อาบ Carbon หรื อ เป็ น
Extrude Layer ของสารสังเคราะห์พวกพลาสติกผสมตัวนา มีหน้าที่ทาให้ผิวสัมผัสของตัวนากับฉนวน
เรียบไม่มีช่องว่างที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงตกคร่อมซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิด Partial Discharge
3. ฉนวน (Insulation) เป็นส่วนที่สาคัญที่สุดของสายเคเบิลใต้ดินมีหน้าที่กันไม่ให้
กระแสไฟฟ้าเกิดการรั่วไหลหรือลัดวงจรจนเกิดการสูญเสียต่อระบบไฟฟ้า และอาจเกิดอันตรายต่อ
บุคคลที่ไปสัมผัสได้ คุณภาพของสายเคเบิลฯ จะขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้ทาฉนวนซึ่งมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด
เ ช่ น Polyvinyl Chroride (PVC) ห รื อ Polyethylene (PE) ซึ่ ง นิ ย ม ใ ช้ ใ น ร ะ บ บ แ ร ง ต่ า , Oil
Impregnated Paper, Crosslinked Polyethylene (XLPE) และ Ethylene Propylene Rubber
(EPR) ซึ่งนิยมใช้ในระบบแรงสูง
4. Insulation screen ท าหน้ า ที่ เ ช่ น เดี ย วกั บ Conductor Shield ลดแรงดั น
ไฟฟ้ า ตกคร่ อ มบริ เ วณผิ ว สั ม ผั ส ของ Insulation และ Metallic Screen วั ส ดุ ที่ ใ ช้ ท าInsulation
Shield จะเหมือนกับ Conductor Shield
5. Metallic screen ทาหน้าที่เป็น Ground สาหรับสายไฟฟ้าแรงสูงและเป็นทาง
ให้กระแสไฟฟ้าไหลกลับในกรณีที่เกิดการลัดวงจร บางครั้ง Metallic ยังทาหน้าที่เป็น Mechanical
Protection หรือทาหน้าที่เป็นชั้นกันน้าในกรณีของสายเคเบิลใต้น้า (Submarine Cable) หรือทา
หน้าที่รักษาความดันภายในสาหรับ Oil Fill Cable Metallic Screen อาจเป็น Tape หรือ Wire ทา
ด้ ว ยทองแดงหรื อ อะลู มิ เ นี ย มหรื อ อาจจะเป็ น Lead Sheath (ปลอกตะกั่ ว ) หรื อ Corrugate
Aluminium Sheath (ปลอกอะลูมิเนียมลูกฟูก)
6. Water Blocking Tape เป็นชั้นที่เสริมขึ้นมาในกรณีของสายเคเบิลใต้ดินแรงสูงที่
ใช้ในบริเวณที่ชื้นแฉะเพื่อป้องกันน้าไหลเข้าไปตามแนวสายเคเบิลในกรณีที่ Jacket ของสายเคเบิลฯมี
การชารุดจากการลากสายทาให้ส่วนที่เป็นฉนวนสัมผัสกับน้าเป็นระยะทางยาว สายเคเบิลจึงมีโอกาส
ชารุดสูง Water Blocking Tape นี้ทาจากสารสังเคราะห์และมี Swellable Powder (สารที่ดูดซึมน้า
เข้าไปแล้วขยายตัวมีลักษณะเป็นผงคล้ายแป้ง) โดยทั่วไปจะอยู่ระหว่างชั้น Insulation Screen กับ
Jacket
7. เปลือก ( sheath )หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า Jacket ทาหน้าที่ป้องกันแรง
กระแทกเสียดสีต่างๆขณะติดตั้งสายเคเบิล วัสดุที่ใช้ทามี PVC, PE

2.1.4 โครงสร้างสายเคเบิลอากาศ

ภาพที่
1. ตัวนา (Conductor) ทาหน้าที่นากระแสไฟฟ้า ทาจากอลูมิเนียม
2. วั ส ดุ กึ่ ง ตั ว น า (Conductor screen) ซึ่ ง อาจเป็ น ผ้ า อาบ Carbon หรื อ เป็ น
Extrude Layer ของสารสังเคราะห์พวกพลาสติกผสมตัวนา มีหน้าที่ทาให้ผิวสัมผัสของตัวนากับฉนวน
เรียบไม่มีช่องว่างที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงตกคร่อมซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิด Partial Discharge
3. Insulation (ฉนวน) เป็นส่วนที่สาคัญที่สุดของสายเคเบิลใต้ดินมีหน้าที่กันไม่ให้
กระแสไฟฟ้าเกิดการรั่ วไหลหรือลัดวงจรจนเกิดการสูญเสียต่อระบบไฟฟ้า และอาจเกิดอันตรายต่อ
บุคคลที่ไปสัมผัสได้ คุณภาพของสายเคเบิลฯ จะขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้ทาฉนวนซึ่งมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด
เ ช่ น Polyvinyl Chroride (PVC) ห รื อ Polyethylene (PE) ซึ่ ง นิ ย ม ใ ช้ ใ น ร ะ บ บ แ ร ง ต่ า , Oil
Impregnated Paper, Crosslinked Polyethylene (XLPE) และ Ethylene Propylene Rubber
(EPR) ซึ่งนิยมใช้ในระบบแรงสูง
4. เปลือก (Sheath) หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า Jacket ทาหน้าที่ป้องกันแรง
กระแทกเสียดสีต่างๆขณะติดตั้งสายเคเบิล วัสดุที่ใช้ทามี PVC, PE

2.2 ชนิดของหางปลา ( Terminal Lug )

2.2.1. หางปลาทองแดง

ภาพที่
ทองแดง คือธาตุที่มีเลขอะตอม 29 และสัญลักษณ์คือ Cu ทองแดงอยู่ในตารางธาตุหมู่ 29 ,
ทองแดงถือเป็นโลหะที่ถูกใช้ประโยชน์มาตั้งแต่ยุคสัมฤทธิ์ (Bronze Age) จนถึงปัจจุบัน และเป็น
โลหะที่ถูกใช้มากรองลงมาจากเหล็ก และอลูมิเนียม โลหะทองแดงบริสุทธิ์ใช้เรียกโลหะทองแดงที่มี
ส่วนผสมไม่เกิน 0.5% โดยน้าหนัก และใช้คาว่า โลหะทองแดงผสมกับโลหะทองแดงที่มีทองแดงไม่ต่า
กว่า 40% แต่ไม่มากกว่า 99% โดยน้าหนัก
คุณสมบัติ
สถานะ ของแข็ง
โครงสร้างผลึก Face-Centered Cubic
เลขอะตอม 29
มวลอะตอม 63.546 กรัม/โมล
การจัดเรียงอิเล็กตรอน 1s2 2s2 2p6 3s2 3d10 4s1
มีจุดเดือด 2567 ºC
จุดหลอมเหลว 1083 ºC
ความจุความร้อนจาเพาะ 0.092 cal/g ºC
ความร้อนในการหลอมละลาย (ที่ 20 ºC) 50.6 cal/g
ความต้านทานไฟฟ้า (ที่ 20 ºC) 1.673 µΩcm
ความหนาแน่น (20 ºC) 8.92 g/cm3

ปฏิกิริยาของทองแดง

สารที่ทาปฏิกิริยา ลักษณะการเกิดปฏิกิริยา

ออกซิเจน ทาปฏิกิริยากับอากาศแห้ งที่อุ ณหภูมิ 180 ºC


หรือต่ากว่า ถ้ามีคาร์บอนไดออกไซด์ และน้า

ไนโตรเจน ไม่ทาปฏิกิริยา

กามะถัน ทาปฏิกิริยากับอากาศแห้งที่อุณหภูมิ 180 ºC

ไฮโดรเจน ไม่ เ กิ ด ปฏิ กิ ริ ย าที่ อุ ณ หภู มิ ห้ อ ง แต่ ล ะลายใน


ทองแดงหลอมเหลวได้ดี

กรดอนินทรีย์ กรดเกลือ และกรดกามะถันบริสุทธิ์ไม่กัดกร่อน


ทองแดง ส่วนกรดไนตริกกัดกร่อนทองแดงได้

กรดอินทรีย์ กรดอินทรีย์เจือจางกัดกร่อนทองแดงได้ช้า

ด่าง กัดกร่อนทองแดงได้เล็กน้อย

เกลือ สารที่มีสภาพด่างทั่วไปไม่กัดกร่อนทองแดง แต่


แอมโมเนียที่รวมกับอากาศทาปฏิกิริยากัดกร่อน
ทองแดงได้
2.2.2 หางปลาอลูมิเนียม

ภาพที่
อะลูมิเนียม คือธาตุเคมีในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ Al และมีเลขอะตอม 13 เป็นโลหะที่มัน
วาวและอ่อนดัดง่าย ในธรรมชาติอะลูมิเนียมพบในรูปแร่บอกไซต์เป็นหลัก มีลักษณะแข็งแรง และ
น้าหนักเบา อะลูมิเนียมเป็นโลหะที่อ่อนและเบาที่มีลักษณะไม่เป็นเงา เนื่องจากเกิดการออกซิเดชัน ที่
เกิดขึ้นเร็วเมื่อสัมผัสกับอากาศ โลหะอะลูมิเนียมไม่เป็นสารพิษ ไม่เป็นแม่เหล็ก และไม่เกิดประกายไฟ
คุณสมบัติ

สถานะ ของแข็ง
โครงสร้างผลึก Face-Centered Cubic
เลขอะตอม 13
มวลอะตอม 26.97กรัม/โมล
การจัดเรียงอิเล็กตรอน [Ne] 3s2 3p1
มีจุดเดือด 2450 ºC
จุดหลอมเหลว 660.2 ºC
ความจุความร้อนจาเพาะ 0.224cal/g ºC
ความร้อนในการหลอมละลาย (ที่ 20 ºC) 94.5 cal/g
ความต้านทานไฟฟ้า (ที่ 20 ºC) 2.6548 µΩcm
ความหนาแน่น (20 ºC) 2.6989 g/mm3

ปฏิกิริยาของอลูมิเนียม
สารที่ทาปฏิกิริยา ลักษณะการเกิดปฏิกิริยา

ออกซิเจน ทาให้เกิดชั้นฟิล์ม เรียกว่า อลูมิเนียมออกไซด์

ไนโตรเจน ทาให้เกิดไนไตรด์ที่อุณหภูมิสูง

กามะถัน ไม่ทาปฏิกิริยา

ไฮโดรเจนจะแทรกซึมเข้าสู่ชั้นในของอลูมิเนียม
ไฮโดรเจน
จึงจาเป็นต้องกาจัดออก

กรดอนินทรีย์ ทนต่อกรดอนินทรีย์เข้มข้นได้ปานกลาง

กรดอินทรีย์ ไม่ทาปฏิกิริยา
ทนต่ อ ปฏิ กิ ริ ย าของด่ า งได้ เ ล็ ก น้ อ ย สามารถ
ด่าง
ละลายได้ในสภาวะที่เป็นด่างเข้มข้น
เกลือ เกิดปฏิกิริยากับเกลือได้ ทาให้เกิดการกัดกร่อน

2.3 ลักษณะการเชื่อมต่อหางปลาทองแดงกับหางปลาอลูมิเนียม

ภาพที่

เนื่องจากเป็นการเชื่อมสายที่เชื่อมด้วยการขันโบลต์ให้แน่น ฉะนั้นอาจเกิดความต้านทานได้
จากแรงบีบที่ตัวต่อสาย(หางปลา)ลดลงเนื่องจาก Creep หรือ Cold Flow เมื่อมีแรงบีบอัดกระทาที่
เนื้อโลหะจะทาให้เนื้อโลหะมีการเคลื่อนตัวแบนออกเรียกว่า Cold Flow หรือ Creep การเคลื่อนตัว
ของเนื้อโลหะนี้จะทาให้แรงบีบอัดลดลงและเมื่อถึงจุด ๆ หนึ่ง ก็จะหยุดการเคลื่อนตัวหรือเคลื่อนตัว
น้อยมาก การเคลื่อนตัวจะเกิดมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความแข็งของโลหะ ถ้าโลหะแข็งจะมีการเคลื่อน
ตัวน้อย โลหะอ่อนจะมีการเคลื่อนตัวมาก อุณหภูมิที่สูงขึ้นก็จะทาให้เกิด การเคลื่อนตัวมากขึ้นด้วย
เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นมากในการตัวต่อที่ขันด้วยโบลต์ เราจะเคยสังเกตพบว่าเมื่อใช้งานไประยะหนึ่ง จุด
ต่ อ ที่ ขั น ด้ ว ยโบลต์ นี้ จ ะหลวมต้ อ งมี ก ารกลั บ ไปขั น ให้ แ น่ นใหม่ อี ก แสดงความสั ม พั น ธ์ ข องความ
ต้านทานผิวสัมผัสกับแรงกดที่ผิวสัมผัสที่เกิดจากการเลื่อนตัวได้ตามรูป

ภาพที่

เส้นโค้ง A แสดงความสัมพันธ์ของความต้านทานผิวสัมผัสกับแรงกดที่ผิวสัมผัสเมื่อทาการบีบอัดตัวต่อ
สาย จะเห็นว่าเมื่อแรงกดที่ผิวสัมผัสเพิ่มขึ้นความต้านทานผิวสัมผัสจะลดลงจนถึงจุดๆ หนึ่ง (จุดD)
และจะไม่ลดลงอีกแม้จะเพิ่มแรงกดมากขึ้นก็ตาม ในการต่อสายไฟฟ้าจึงต้องให้มีแรงกดมากถึงจุด D
และถ้าเพิ่มแรงกดมากขึ้นอีกก็จะไม่ทาให้ค่าความต้านทานผิวลดลงอีก
เส้นโค้ง B แสดงความสัมพันธ์ของความต้านทานผิวสัมผัสกับแรงกดที่ผิวสัมผัสเมื่อแรงบีบลดลงหรือ
เกิดการคลายตัวของตัวต่อสาย ซึ่งเกิดจากหลายสาเหตุ (สังเกตว่า เส้นโค้งจะไม่ทับกับเส้นโค้ง A) ถ้า
การคลายตัวทาให้แรงกดลดลงต่ากว่าจุด C ค่าความต้านทานผิวสัมผัสจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในการ
ออกแบบตัวต่อสายจึงต้องไม่ทาให้การคลายตัวเนื่องจาก Creep ลดลงจนแรงกดต่ากว่าจุด C
ในทางปฏิบัติ การกาหนดจุด C หรือจุดที่จะไม่เกิด Creep อีกนั้นทาได้ยากเนื่องจากเนื้อ
โลหะมีความอ่อนตัวแม้ว่าค่าแรงบีบจะน้อยและอยู่ในอุณหภูมิห้องก็ตาม และโลหะต่างชนิดกันก็
ต้องการแรงกดไม่เท่ากันเช่นทองแดงมีความแข็งมากกว่าอะลูมิเนียมจึงต้องการแรงกดมากกว่าเพื่อให้
ถึงจุดที่คาดว่าจะไม่เกิด Creep อีก ดังนั้นการต่อระหว่างตัวนาทองแดงกับอะลูมิเนียมจึงมีปัญหามาก
จากสาเหตุดังกล่าวข้างต้นพอสรุปได้ว่า ตัวต่อสายจะต้องมีการออกแบบอย่างเหมาะสม ผ่าน
การทดสอบตามมาตรฐานสากลที่กาหนด การใช้งานจึงต้องเลือกให้เหมาะสมทั้งชนิด ขนาด และแรง
กดด้วย (กรณีตัวต่อสายเป็นชนิดขั้นแน่นด้วยโบลต์แรงกดคือทอร์กที่ใช้ขันโบลต์ สาหรับตัวต่อสาย
ชนิดบีบด้วยเครื่องมือแรงกดจะสัมพันธ์กับขนาดของหัวบีบที่เลือกใช้งาน) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจึงมี
การกาหนดมาตรฐานดังรูปด้านล่างนี้

ภาพที่
2.4 ศึกษาปัญหาที่เกิดจากการเชื่อมต่อกันระหว่างสายเคเบิลอากาศกับเคเบิลใต้ดิน

2.4.1 การกัดกร่อนการกัดกร่อน (corrosion)


การกัดกร่อน (corrosion) หมายถึงการที่วัตถุ ทาปฏิกิริยากับสภาพแวดล้อมทาให้
ให้เกิดการเสื่อมสภาพ ส่งผลให้ประสิทธิภาพการทาการทางานลดลงในสภาพแวดล้อม โดยทั่วไป
สาเหตุการกัดกร่อนเกิดได้หลายอย่าง เช่น ปฏิกิริยาเคมีหรืออาจเกิดจากปฏิกิริยาทางกายภาพของ
วัตถุนั้นเอง ลักษณะการกัดกร่อนที่พบเราสามารถแบ่งออกเป็นหลายแบบ เช่น แบ่งตามกลไกของการ
กัดกร่อน แบ่งตามลักษณะทางกายภาพ หรือ ตัวแปรที่ส่งผลต่อการกัดกร่อน
2.4.2 การกัดกร่อนแบบกัลวานิค ( Galvanic corrosion)

ภาพที่
สาหรับการต่อสายตัวนาที่เป็นโลหะต่างชนิดกัน เช่น ทองแดงกับอะลูมิเนียมเมื่อ
สัมผัสกันจะเกิดปฏิกิริยาทางเคมีเรียกว่าการเกิดปฏิกิริยาอิเลกโตรไลตริก (electrolytic)และเมื่อมี
ความชื้นที่บริเวณผิวสัมผัสของตัวนาจะเกิดการกัดกร่อนของตัวนาขึ้น เป็นสาเหตุของความต้านทานที่
เพิ่มขึ้นที่จุดสัมผัส เมื่อโลหะทั้งสองสัมผัสกัน จะเกิดกระแสไหลคล้ายกับการลัดวงจรของเซลล์ไฟฟ้า
ปฏิ กิ ริ ย าอิ เ ล็ ก โตรไลตริ ก นี้ จ ะท าให้ โ ลหะที่ เ ป็ น ขั้ ว Anode เกิ ด การกั ด ร่ อ น โดยโลหะที่ เ ป็ น ขั้ ว
Cathode จะไม่ถูกกัดกร่อน การกัดกร่อนจะเกิดมากหรือน้อยจะขึ้นอยู่กับปริมาณกระแสอิเล็กโตรไล
ตริกซึ่ง เป็นสัดส่วนโดยตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นตัวอย่าง เมื่อนาทองแดง และ อะลูมิเนียม
มาต่อกัอะลูมิเนียม จะเป็นขั้ว Anode และถูกกัดกร่อนทองแดง จะเป็นขั้วCathode และไม่ถูกกัด
กร่อน (แต่จะเป็นตัวรับประจุ)
ภาพที่

โดยอะลูมิเนียมจะถูกกัดกร่อนมากเนื่องจากโลหะทั้งสองมากอยู่ใน Series ที่ห่างกันมาก


เราจะสังเกตได้ว่าค่าศักย์ไฟฟ้าของทองแดง ( Cu ) มีค่าอยู่ที่ 0.34 V ส่วนอลูมิเนียม ( Al ) มีค่าอยู่ที่
( -1.66 V) ซึ่งมีค่าต่างกันมาก จึงส่งผลให้เกิดการกัดกร่อนขึ้น โดยเราสามารถสรุปปฏิกิริยาการกัด
กร่อนเนื่องจากความต่างศักย์ ( Galvanic Corrosion )
สมการปฏิกิริยา
2Al(s)+3Cu2+=2Al3++3Cu(s)
E0cell=E0cathode -E0anode
E0cell= 0.34-(-1.66)

2.4.3 เกิดออกไซด์ที่ผิวสัมผัส
ผิวของโลหะที่สั มผัส กับอากาศ (ออกซิเจน) จะเกิดออกไซด์มีลั กษณะเป็น ฟิ ล์ ม
เคลือบอยู่ฟิล์มนี้มี คุณสมบัติเป็นฉนวนไฟฟ้าทาให้เกิดความต้านทานที่ผิวสัมผัส ลักษณะของฟิล์มนี้
จะขึ้นอยู่กับชนิดของโลหะที่เป็นตัวนา
ทองแดงออกไซด์ เป็นฟิล์มที่มองเห็นได้ด้วยสายตา มีสภาพอ่อนสามารถขจัดออก
โดยใช้แรงกดเพียงไม่มาก นอกจากว่าผิวทองแดงจะมีออกไซด์เกาะอยู่มากเกินไป จึงต้องทาความ
สะอาดผิวก่อน โดยทั่วไปผิวทองแดงที่ขัดเพียงเล็กน้อยก็สามารถเป็นผิวสัมผัสที่ดีได้ โดยทองแดง
ออกไซด์ เกิดขึ้นจากสมการปฏิกิริยา

ภาพที่
Cu(s) + O2(g) = CuO3

ออกไซด์ของอลูมิเนียมเป็นฟิล์มที่มีสภาพแข็ง เหนียว มีความต้านทานสูงมาก


และเกิดขึ้นอย่าง รวดเร็วเมื่อผิวอลูมิเนียมสัมผัสกับอากาศเพียงไม่กี่ชั่วโมง และไม่สามารถนามาใช้
งานโดยไม่ได้ทาความ สะอาดก่อน ฟิล์มออกไซด์ของอลูมิเนียมมีลักษณะโปร่งใส ดังนั้นแม้ว่าผิวของ
อลูมิเนียมจะสะอาดและดูเป็นประกาย แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าผิวของอลูมิเนียมจะมีความต้านทาน
ผิวสัมผัสต่าพอที่จะใช้งานได้ดี
ภาพที่

4Al(s) + 3 O2(g) = 2 Al2O3

2.5 ศึกษาผลกระทบที่เกิดจากเชื่อมต่อกันระหว่างสายเคเบิลอากาศกับเคเบิลใต้ดิน

2.5.1 ความต้านทานหน้าสัมผัส

หน้าสัมผัสของวัสดุสองหน้าที่สัมผัสกันประกอบด้วยจุดต่อจานวนหนึ่งซึ่งสัมผัสกัน
โดยพื้นที่การ สัมผัสจะมากขึ้นเมื่อเราเพิ่มแรงกดให้มีค่าเหมาะสมมีปัจจัยสองประการที่มีผลต่อความ
ต้านทานหน้าสัมผัส คือ 1. สภาวะของหน้าสัมผัส 2. แรงที่ใช้กดหน้าสัมผัส
2.5.2 อิทธิพลของอุณหภูมิต่อความต้านทาน

เมื่ออุณหภูมิของตัวนาเปลี่ยนแปลง จะทาให้สภาพต้านทานของตัวนาประเภท
โลหะจะ เปลี่ยนแปลงหรือทาให้ความต้านทานของตัวนาเปลี่ยนแปลงไปด้วย

rt = r0 (1 + t )
𝑟0 = ความต้านทานของตัวนาที่ 0 oC
𝑟𝑡 = ความต้านทานของตัวนาที่ t oC
𝑡 = อุณหภูมิของโลหะตัวนาในหน่วยองศาเซลเซียส
α = สัมประสิทธิ์อุณหภูมิของความต้านทาน คือ ค่าความต้านทานที่เปลี่ยนไปต่อ ความ
ต้านทานเดิม เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป 1 องศาเซลเซียส มีหน่วยเป็น (0C)-1

ค่าความต้านทานและค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิของความต้านทาน
(TCS)(ที2่ 0 ° C)
สาร ρ , Om · m CBC α , ° C -1
เงิน 1.59 × 10−8 0.0038
ทองแดง 1.68 × 10−8 0.0039
อลูมิเนียม 2.65 × 10−8 0.0039
ดีบกุ 11.5 × 10−8
นิคเกิล 6.93 × 10−8 0.006
เหล็ก 9.71 × 10−8 0.00651

2.6 ศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหา
2.6.1 การป้องกันจุดเชื่อมต่อจากออกซิเจนด้วยการพันเทปพันสายไฟ

ภาพที่
คุณสมบัติของเทป
เบอร์ คุณสมบัติ
เทปชนิดกึ่งตัวนาไฟฟ้า ประกอบด้วยวัสดุหลัก
Scotch 13 Electrical Semi Conducting คือ EPR ทนอุณหภูมิได้ 130 oC เทปทาหน้าที่
Tape ลดความเข้มของสนามไฟฟ้า
เทปยางละลาย เป็นเทปฉนวนชนิดไม่มีกาว
Scotch 23 เนื้อเทปเมื่อพันแล้วจะหลอมประสานตัวเองเป็น
เนื้อเดียวกันได้ดีเยี่ยม ทนอุณหภูมิได้ 130 oC
ทาหน้าที่เป็นฉนวนของจุดต่อ
เทปพั น สายไฟชนิ ด คุ ณ ภาพสู ง ทนแรงดั น ได้
Scotch Super 33+ 600 V ทนอุณหภูมิได้ -18 oC ถึง 105 oC ทน
แสง ทนการเสียดสี การกัดกร่อน กรด ด่าง และ
สารเคมี ทาหน้าที่เป็นเปลือก (Jacket )
เป็นเทปที่มีส่วนผสมของ EPR และ Mastic อยู่
Scotch 2228 ด้วยกัน ทนแรงดันได้ 35 Kv ทาหน้าที่เป็น
ฉนวนป้องกันความชื้นของจุดต่อ

2.6.2 การป้องกันโลหะจากออกซิเจนด้วยการใช้ท่อหด (heat-shrink tube)

ภาพที่
ท่อหด เป็นท่อพลาสติกที่จะหดตัวเมื่อโดนความร้อน ทาจากไนลอนหรือพลาสติก
ตระกูลโพลีโอลีฟินที่ถูกยืด หลังการหดตัว ท่อจะมีขนาดเท่ากับตอนก่อนถูกยืด คุณสมบัติท่อหด (
ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้า RAYCHEM )CRSM Heat-Shrinkable wraparound system for plastic or metal
sheathed cable repair CRSM เป็ น ท่ อ หดแบบห่ อ ได้ ข อง Raychem ซี่ ง ออกแบบมาเป็ น แผ่ น
สามารถม้ ว นเข้ า หากั น แล้ ว ใส่ ตั ว ล็ อ คเพื่ อ ให้ มี ลั ก ษณะเหมื อ นกั บ ท่ อ ส าหรั บใช้ใ นการหุ้ มฉนวน
สายไฟฟ้าที่เสียหายโดยไม่จาเป็นจะต้องตัดต่อสายโดยใช้ชุดตัดต่อสาย ภายในท่ อจะ เคลือบด้วย
Sealant ซึ่งจะทาหน้าที่ป้องกันน้าหรือความชื้น เข้าไปภายในท่อส่วนที่หุ้มอยู่โดยสารนี้จะหลอมตัว
เมื่อโดนความร้อนขณะที่ถูกเป่า CRSM นอกจากจะใช้ซ่อมเปลือกสายไฟฟ้าที่เสียหายแล้วยังสามารถ
นาไปประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ ได้เช่น การต่อสายไฟฟ้า หรือการแทปสายไฟฟ้า
CRSM Specification
Low temperature 4 hours at -30°C ASTM D2671 No cracking
flexibility ±3°C Procedure C
1mm 180 kV/cm
Electric Strength IEC 243
min 3.5mm 120
kV/cm min
Volume Resistivity IEC 93 1x1012 Ωcm min
Dielectric Constant IEC250 5 max
Water Absorption 14 days at 23°C ± ISO 62 Method 1 0.5 max
2°C
Resistance to 7 days in ISO 1817
Liquids transformer oil at
23°C ± 2°C (VDE
0370) ISO 37 14 MP a min.
Tensile Strength ISO 37 300% min
Ultimate
Elongation
Resistance to Fungi ASTM G21 Pass Rating 1
The material from which CRSM is
Weathering manufactured, Contains carbon black
to protect it from ultra-violet radiation.

2.6.3 การป้องกันโลหะจากออกซิเจนด้วยการสารประกอบช่วยสัมผัส (Contact Aid


Compounds)
ภาพที่
เป็นที่ทราบกันมานานแล้วว่าการใช้สารช่วยสัมผัส ช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพของ
หน้าสัมผัสไฟฟ้า เมื่อมีการใช้สารช่วยสัมผัสทาให้หน้า สัมผัสนั้นไม่ถูกรบกวน การป้องกัน การเกิด
ออกซิเดชันของพื้นผิวโลหะไม่ให้โดนอากาศและการป้องกันผิวสัมผัสจากผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่
ไม่พึงประสงค์ เป็นเรื่องธรรมดาสาหรับการเชื่อมต่อทั้งอลูมิเนียมและทองแดงผิวสัมผัสควรถูกขัดด้วย
สารช่วยสัมผัสที่เหมาะสมด้วยแปรงลวดหรือผ้าขัด เนื่องจากการก่อตัวของฟิล์มออกไซด์เริ่มต้นอย่าง
รวดเร็วบนอลูมิเนียมกระบวนการนี้จึงมีความสาคัญสาหรับตัวนาอลูมิเนียมมากกว่า
ในช่ว งหลายปี ที่ผ่ านมามี ก ารใช้ส ารประกอบช่ว ยสั ม ผั ส หลายชนิ ดเพื่ อ รั บ รอง
ประสิทธิภาพการเชื่อมต่ออลูมิเนียมและทองแดง ถึงแม้ว่าสารประกอบดังกล่าวจานวนมากจะมีวาง
จาหน่ายทั่วไป แต่ข้อมูลที่เผยแพร่น้อยมากที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภ าพและประสิทธิภ าพภายใต้
เงื่อนไขตามสภาพแวดล้อมที่ไปใช้งานนั้นยังไม่มีข้อมูลที่ชัดเจน
สารประกอบช่วยสัมผัสที่ใช้กันทั่วไปสาหรับการเชื่อมต่ออะลูมิเนียมอะลูมิเนียม
และอะลูมิเนียมกับทองแดงถูกประเมินโดย Braunovic บนพื้นฐานของผลกระทบต่อประสิทธิภาพ
การทางานและความมั่นคงของการเชื่อมต่อแบบขันโบลท์ โดยมีเงื่อนไขการประเมิน กระบวนการ
เกี่ยวกับกระแส ความเครียด ความสัมพันธ์ระหว่างแรงขัน ความเสถียรต่อการเสื่อมสภาพของความ
ร้ อน ความสามารถในการป้ องกัน ผิ ว สั มผั ส จากการกั ดกร่ อ นในสภาพแวดล้ อ มที่เป็น มลพิ ษ และ
อุตสาหกรรมให้การประเมินโดยรวมของสารประกอบช่วยสัมผัสต่าง ๆ และวิธีการเปรียบเทียบเชิง
ปริ ม าณ ดั ช นี หมายถึ ง ค่ า เฉลี่ ย ของค่ า ตั ว เลขที่ ก าหนดให้ กั บ ประสิ ท ธิ ภ าพของข้ อ ต่ อ ภายใต้
ห้องปฏิบัติการและสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ยิ่งหมายเลข ดัชนี ต่าลงเท่าใดสารช่วยในการติดต่อที่
มีประสิทธิภาพมากขึ้น
อลูมิเนียม-อลูมิเนียม อลูมิเนียม – ทองแดง
CONTACT-AID INDEX CONTACT-AID COMPOUND INDEX
COMPOUND

Penetrox A-13 0.7 Nikkei S-200 0.7


Silicon Vacuum Grease 0.7 Koprshield CP-8 1.0
Penetrox A 0.8 Penetrox A-13 1.0
Aluma Shield 1.2 Pefco 1.0
Fargolene GF-138 1.2 No-Oxid-A 1.3
Fargolene GF-158 1.2 Fargolene GF-158 1.4
Contactal HPG 1.3 Silicone Vacuum Grease 1.5
Petroleum Jelly 1.3 Non-lubricated 1.6
ZLN 100 1.5 Contactal HPG 1.8
Alcan Jointing 1.8 Petroleum Jelly 1.9
Compound 2.5
AMP Inhibitor 2.5
Kearnalex 2.6
Non-lubricated

ผลการศึกษาพบว่าสารประกอบช่วยสัมผัสมีผลกระทบอย่างมาก แต่แตกต่างกันต่อประสิทธิภาพของ
การเชื่ อ มต่ อ อลู มิ เ นี ย มกั บ อลู มิ เ นี ย มและอลู มิ เ นี ย มกั บ ทองแดงภายใต้ ส ภาพการท างานและ
สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน แสดงให้เห็นว่าสารประกอบที่มีการต้านทานการสัมผัสเริ่มต้นต่าและมี
ประสิทธิภาพ INDEX <1.0 ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทางานที่มั่นคงของการเชื่อมต่อเหล่านี้ แม้ว่า
คาอธิบายโดยละเอียดของความแตกต่างที่สังเกตได้ในผลกระทบที่ว่าสารประกอบเหล่านี้มีผ ลต่อ
เสถียรภาพของข้อต่อเหล่านี้ค่อนข้างยากที่จะมองเห็นคาอธิบาย
ความเป็นไปได้ประการหนึ่งคือความต้านทานแรงเฉือนของสารประกอบช่วยสัมผัสมีค่าที่ไม่
เท่ากัน จึงทาให้ใช้แรงในการขันไม่เท่ากัน บางชนิดจะใช้แรงมากกว่าแรงที่ ใช้ในการขันแบบปกติ
ดังนั้นการใช้แรงขันที่ไม่เหมาะสมจะทาให้เกิดเป็น ฟิล์มคอมโพสิตได้
คาอธิบายที่เป็นไปได้อีกประการหนึ่งก็คือมีการผสมของโลหะและ / หรืออนุภาคที่ไม่ใช่โลหะ
ผสมอยู่ในสารประกอบเพื่อปรับปรุงความสามารถในการตัดฟิล์มออกไซด์บนพื้นผิวสัมผัส ที่มีความ
แตกต่างกัน
ในทางกลับกันผลลัพธ์มีความสอดคล้องเพียงพอที่จะสรุปได้ว่าสารประกอบช่วยสัมผัสบาง
ชนิดที่ใช้กันทั่วไปสาหรับการเชื่อมต่ออลูมิเนียมกับอลูมิเนียมสามารถใช้สาหรับข้อต่ออลูมิเนียมกับ
ทองแดงได้จากผลลัพธ์ได้ว่าสารช่วยสัมผัสที่มีประสิทธิภาพ INDEX <1.0 เช่น Penetrox A-13 และ
Nikkei สามารถนามาใช้การเชื่อมต่อทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับอลูมิเนียม
จากการทดสอบของ Braunovic การจัดอันดับของสารประกอบช่วยสัมผัสถูกกาหนดภายใต้
สภาวะห้องปฏิบัติการควบคุมโดยใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ ดังนั้นความสาคัญของผลกระทบที่
แตกต่างที่กระทาต่อสารประกอบช่วยสัมผัส ต่อคุณสมบัติของการเชื่อมต่ออลูมิเนียมและทองแดง
ภายใต้สภาพการทางานและสภาพแวดล้อมที่แตกต่า งกัน ยังไม่สามารถระบุได้เนื่องจากยังมีตัวแปร
อื่ น ๆ เช่ น น้ า, ทราย,ความสกปรก, ฝุ่ น , ฝนกรด,อุ ณ หภู มิ , มลภาวะ และประสิ ท ธิ ภ าพของ
สารประกอบช่วยสัมผัสเมื่อมีระยะเวลาผ่านไปมีประสิทธิภาพลดลงมากน้อยเพียงใด ฯลฯ ซึ่งเป็นตัว
แปรที่สาคัญมาก

2.6.4 การป้องกันโลหะจากออกซิเจนด้วยการเชื่อม ( Welded Connections )

การเชื่อมเป็ น วิธีที่น่าพอใจอย่างมากส าหรับการเชื่อมต่อในตัว นาอลู มิเนียมและ


ทองแดงทุกประเภท เป็นการเชื่อมต่อไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูงซึ่งเป็นแบบถาวรประหยัดมีรูปลักษณ์ที่
ดีและเหมาะสมอย่างยิ่งส าหรั บ การเชื่อมต่อของโละที่ต่างชนิดกัน จุดเชื่อมต่อนี้ได้อย่างถูก เป็ นที่
เชื่อถือได้มากที่สุดจากมุมมองทางไฟฟ้าเนื่องจากมีการรวมตัวที่เป็นเนื้อเดียวกันโดยไม่มีการต้านทาน
การสั มผั ส เพื่อสร้ างความร้ อ นจากกระแสสู ง มีกระบวนการเชื่ อ มจ านวนมากที่ส ามารถใช้ เ ชื่ อ ม
อลูมิเนียมและทองแดงได้ แต่จะอธิบายเฉพาะกระบวนการเชื่อมที่ใช้กันทั่วไป คือ
การเชื่อมความร้อน ( Thermite (Exothermic) Welding )การเชื่อมด้วยความร้อน
เป็นกระบวนการเชื่อมฟิวชั่นซึ่งโลหะสองก้อนจะถูกเชื่อมหลังจากการให้ความร้อนด้วยโลหะที่มีความ
ร้ อนยวดยิ่ งซึ่งผ่านปฏิกิริ ยา อะลู มิโ นเทอร์มิก โลหะเหลวที่เป็นผลมาจากปฏิกิริยาระหว่างโลหะ
ออกไซด์และอลูมิเนียมทาหน้าที่เป็นโลหะตัวเติมและไหลรอบ ๆ ตัวนาที่ทาให้เกิดการเชื่อมโมเลกุล
ปฏิกิริยาอะลูมิโนเทอร์มิกที่เกิดขึ้นในการเชื่อมของตัวนาทองแดงคือ

3 𝐶𝑢2𝑂 + 2𝐴𝑙 = 6𝐶𝑢 + 𝐴𝑙2𝑂3 + 𝐻𝑒𝑎𝑡 (1060 𝑘𝐽)*

การเชื่อมด้ว ยความร้อนถูกนามาใช้ อย่างกว้างขวาง ข้อดีของกระบวนการนี้ คื อ


ความสามารถในการรับกระแสไฟฟ้าที่ยอดเยี่ยม และความต้านทานการกัดกร่อนที่ดีเยี่ยมและความ
แข็งแรงเชิงกลพลังงานที่ใช้ในการเชื่อมต่อแบบนี้จะมีค่ามาก และทาให้เกิดอุณหภูมิที่สูงมาก
*หมายเหตุ การเปลี่ ย นหน่ วย 1 จู ล คือจานวนพลั งงานที่ใช้ในการทางาน เมื่อวัตถุที่มีน้าหนัก 1
กิโลกรัม เคลื่อนที่เป็นระยะทาง 1 เมตรต้องใช้แรงเท่ากับ 1 นิวตัน หรือความร้อนที่เกิดขึ้นจากการที่
กระแสไฟฟ้า 1 แอมแปร์ วิ่งผ่านความต้านทาน 1 โอห์ม ในเวลา 1 วินาที
ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานที่มีหน่วยเป็นจูลและแคลอรี มีดังนี้
1 แคลอรี = 4.184 จูล
1 กิโลแคลอรี = 4,184 จูล = 4.184 กิโลจูล
1,000 กิโลแคลอรี = 4,184,000 จูล = 4.184 เมกะจูล
1 กิ โ ลแคลอรี (Kilocalorie, Kcal) คื อ จ านวนความร้ อ นที่ ท าให้ น้ าจ านวน 1 กิ โ ลกรั ม มี
อุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส
ดังนั้น การเปลี่ยนหน่วยจาก Kj เป็น Kcal ที่ 1060 Kj = 253.17 Kcal ,
ฉะนั้น การเชื่อมความร้อน จะให้ความร้อนที่ 253.17 Kcal หรือที่ 253 oC

2.6.5 การป้องกันการกัดกร่อนด้วยการเคลือบหางปลา

การเคลือบอลูมิเนียมหรือทองแดงด้วยโลหะที่แตกต่างกันเป็นวิธีการเชิงพาณิช ย์
ทั่วไปที่ใช้เพื่อปรับปรุงเสถียรภาพและป้องกันการกัดกร่อนแบบกัลวานิกของการเชื่อมต่ออลูมิเนียม
กับทองแดง วัสดุเคลือบผิวที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ ดีบุก , เงิน, ทองแดง, แคดเมียมและนิกเกิล
แต่มีการศึกษาเปรียบเทียบน้อยมาก เกี่ยวกับประสิทธิภาพของสารเคลือบเหล่านี้ในการรักษาการ
ทางานของการเชื่อมต่ออลูมิเนียมกับทองแดงอย่างต่อเนื่องภายใต้สภาพการทาที่แตกต่างกัน
2.6.5.1 เคลือบหางปลาทองแดงด้วยดีบุก และหางปลาอลูมิเนียมด้วยนิกเกิล จาก
การค้ น หาข้ อ มู ล ซึ่ ง เป็ น ไปตามมาตรฐาน ANSI C119.4-1991 (STANDARD FOR ELECTRIC
CONDUCTORS – CONNECTORS FOR USE BETWEEN ALUMINUM – TO – ALUMINUM OF
ALUMINUM – TO – COPPER BARE OVERHEAD CONDUCTORS ) ได้ ข้ อ มู ล ว่ า เราสามาร ถ
แก้ปัญหาการเชื่อมต่อกันของ อลูมิเนียม (Al) กับ ทองแดง(Cu) ได้ โดยการนาอลูมิเนียมเคลือบด้วย
นิกเกิล (Ni) และทองแดงเคลือบด้วย ดีบุก (Sn)

ภาพที่
ดีบุก (Tin:Sn) เป็นโลหะในหมู่ IV4 ในตารางธาตุ และอยู่ระหว่างธาตุเจอมาเนียม
และตะกั่ว ดีบุกในรูปบริสุทธิ์จะมีลักษณะเป็นของแข็ง สีขาวเงิน มีความอ่อนตัวสูง มีจุดหลอมเหลวต่า
สามารถผสม และเกาะติดกับโลหะอื่นได้ดี จึงนิยมนาดีบุกมาเคลือบผิวหรือผสมกับโลหะอื่นเพื่อเพิ่ม
ความแข็งแรง ทนต่อการกัดกร่อน และป้องกันการเกิดสนิม เป็นต้น
คุณสมบัติ
สถานะ ของแข็ง
โครงสร้างผลึก tetragonal
เลขอะตอม 50
มวลอะตอม 118.71
การจัดเรียงอิเล็กตรอน [Kr] 4d10 5s2 5p2
มีจุดเดือด 2602 °C
จุดหลอมเหลว 231.93 °C
ความจุความร้อนจาเพาะ 27.112 J/(mol·K)
ความร้อนในการหลอมละลาย (ที่ 20 ºC) (white) 7.03 กิโลจูล/โมล
ความต้านทานไฟฟ้า (ที่ 0 ºC) 115 nΩ·m
ความหนาแน่น (20 ºC) (white) 7.265 ก./ซม.³

ข้อดีของการเคลือบดีบกุ
1. มีความต้านทานการกัดกร่อน และไม่เป็นสนิม
2. มีจุดหลอมเหลวต่า
3. ต้านทานการเสียดสี (friction)
4. เพิ่มความแข็งแกร่งเมื่อผสมกับโลหะอื่น
5. จับผิวโลหะต่างๆได้ดี จึงนิยมใช้เคลือบโลหะ
2.6.5.2 การเคลือบหางปลาอลูมิเนียมด้วยนิกเกิล จากการศึกษาได้ข้อมูลจาก IEEE
4223195 ได้ข้อมูลว่าเราสามารถแก้ปัญหาการเชื่อมต่อกันของ อลูมิเนียม (Al) กับ ทองแดง(Cu)ได้
โดยการนาอลูมิเนียม ไปเคลือบด้วย นิกเกิล (Ni) ; นิกเกิล ( Nickel) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 28
และสัญลักษณ์คือ Ni อยู่ในตารางธาตุหมู่ 28 นิกเกิลเป็นโลหะที่มีความมันวาวสี ขาวเงิน อยู่กลุ่ ม
เดียวกับเหล็ก มีความแข็งแต่ตีเป็นแผ่นได้

ภาพที่
คุณสมบัติของนิกเกิล
สถานะ ของแข็ง
โครงสร้างผลึก สีเหลี่ยมลูกบาศก์
เลขอะตอม 28
มวลอะตอม 58.6934 กรัม/โมล
การจัดเรียงอิเล็กตรอน [Ar] 3d8 4s2
มีจุดเดือด 2913 °C
จุดหลอมเหลว 1455 °C
ความจุความร้อนจาเพาะ (25 °C) 26.07 J/(mol·K)
ความร้อนในการหลอมละลาย (ที่ 20 ºC) 17.48 กิโลจูล/โมล
ความต้านทานไฟฟ้า (ที่ 20 ºC) 69.3 nΩ·m
ความหนาแน่น (20 ºC) 8.908 ก./ซม.³

ข้อดีของการเคลือบนิกเกิล
1.ป้องกันการกัดกร่อนและการเกิดสนิม
2.ผิวงานไม่มีไฟฟ้าสถิต
2.6.5.3 เคลื อบหางปลาทองแดงด้วยนิกเกิล และหางปลาอลูมิเนียมด้วยนิกเกิล
การศึกษาเมื่อเร็ว ๆ นี้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าการเชื่อมต่อที่เคลือบด้วยนิกเกิลนั้นเหนือกว่าใน
ด้านประสิทธิภาพของวัสดุการชุบอื่น ๆ ซึ่งแสดงออกมาจากค่าความต้านทานหน้าสัมผัสที่เสถียร
ภายใต้เงื่อนไขการทดลองที่มีแบบจาลอง จากข้อมูลที่มีอยู่นิกเกิลดูเหมือนจะเป็นวัสดุเคลือบผิวที่ใช้
งานได้จริงมากที่สุดจากมุมมองทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการปรับปรุงคุณสมบัติทางโลหะและที่สาคัญ
คือการเชื่อมต่อระหว่างอลูมิเนียมกับทองแดง ความเหนือกว่าของนิกเกิลต่อวัสดุเคลือบอื่น ๆ ได้รับ
การยืนยันเมื่อเร็ว ๆ นี้โดยแจ็คสัน ผู้ทาการทดสอบในปัจจุบันเกี่ยวกับบัสบาร์ทองแดงแบบดีบุก เงิน
และชุบนิกเกิล การเคลือบนิเกิลบนการเชื่อมต่อทองแดงมีเสถียรภาพที่ดีเยี่ยมและความต้านทาน
หน้าสัมผัสเริ่มต้น มีค่าต่า ประสิทธิภาพที่ ไม่ดีของการเชื่อมต่อดีบุกและชุบเงินเกิดจากผลของการ
ขยายตัวทางความร้อนที่แตกต่างกันระหว่างพื้นผิวของอลูมิเนียมและทองแดงที่ส่งเสริมการสูญเสียจุด
สัมผัสอย่างต่อเนื่อง แสดงให้เห็นว่าความไม่เสถียรของการเชื่อมต่ออลูมิเนียมสามารถลดลงอย่างมี
นั ย ส าคัญโดยเทคโนโลยี ที่พั ฒนาขึ้นใหม่ของการชุบนิกเกิล โดยตรง ผลของการทดสอบการวงจร
กระแสรุนแรงแสดงให้เห็นถึงเสถียรภาพที่ยอดเยี่ยมของความต้านทานหน้าสัมผัสของอลูมิเนียมชุบ
นิกเกิล อย่างไรก็ตามการศึกษา ได้แสดงให้เห็นว่าแม้ว่าตัวนาลวดอลู มิเนียมที่เคลื อบด้วยนิ กเกิ ล
ภายใต้สภาพการทางานและสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันมีความสามารถในการเชื่อมต่อที่ดีกว่าตัวนา
ลวดอลูมิเนียมที่ไม่เคลือบผิว
บริษัท Braunovic ได้ทาการประเมินเปรียบเทียบการเชื่อมต่อระหว่างทองแดงกับ
อลูมิเนียมทองแดงกับดีบุก เงิน และนิกเกิลโดยอาศัยประสิทธิภาพของข้อต่อที่เคลือบภายใต้วงจร
กระแสและในสภาวะที่ไม่มั่นคงและความสามารถในการป้องกันการกัดกร่อนจากน้าเค็มและ
อุตสาหกรรม สภาพแวดล้อมที่มีมลพิษ ให้การประเมินโดยรวมของการเคลือบแบบต่าง ๆ อยู่ภายใต้
ห้องปฏิบัติการที่แตกต่างกัน และสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน (มลพิษทางน้าเกลือและอุตสาหกรรม)
ยิ่งหมายเลข INDEX ยิ่งต่าวัสดุการเคลือบก็จะมีประสิทธิภาพมากขึ้น

CONTACT PAIRS INDEX


Aluminum (Nickel-plated) - Copper (Nickel-plated) 0.7
Aluminum (Copper-plated) - Copper (Bare) 1.0
Aluminum (Bare) - Copper (Nickel-plated) 1.3
Aluminum (Bare) - Copper (Silver-plated) 2.0
Aluminum (Bare) - Copper (Bare) 2.4
Aluminum (Bare) - Copper (Tin-plated) 2.7

2.6.6 เพิ่มพื้นที่หน้าสัมผัส
ขนาดของพื้นที่สัมผัสถูกกาหนดโดยทั่วไป ด้วยความแข็งของวัสดุทเี่ ชื่อมต่อ แรงที่ใช้
ถูกต้องตามมาตรฐานกาหนดและคานึงถึงขนาดของกระแส พื้นที่หน้าสัมผัสควรมีขนาดใหญ่พอที่จะ
ป้องกันไม่ให้อุณหภูมิจุดเชื่อมต่อเพิ่มขึ้นภายใต้สภาวะปกติและในกรณีฉุกเฉิน การขัดถูเชิงกล (การ
ขัด) เป็นวิธีที่ง่ายและมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อป้องกันการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นของโลหะที่
สัมผัส ควรทาการขัดพื้นผิวสัมผัส การเตรียมพื้นผิวหน้าสัมผัสของตัวเชื่อมต่อเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพ
มากและเป็นที่ต้องการมากที่สุดเมื่อประกบตัวนาเพราะมันช่วยให้แน่ใจว่ามีพื้นที่ผิวสัมผัส ที่สะอาด
และทาให้มีพื้นที่ผิวสัมผัสมากขึ้นระหว่างจุดเชื่อมต่อเป็นที่ยอมรับกันแล้วว่าการขัดวิธีที่ง่ายที่สุดและมี
ประสิทธิภาพที่สุดในการเพิ่มและบารุงรักษาพื้นที่สัมผัส พื้นผิวสัมผัสที่เสร็จสิ้นด้วยการขัดหยาบได้จะ
มีความต้านทานการสัมผัสที่ลดลงอย่างเห็นได้ชัด โดยความต้านทานเปรียบเทียบกับพื้นที่หน้าสัมผัส
ได้สมการดังนี้
𝜌𝐿
𝑅=
𝐴

You might also like