Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 59

บทที่ 1

บทนำ

1.1 ควำมสำคัญของปัญหำ

เนื่ องจากปั จจุบ ันการไฟฟ้ าส่ วนภูมิ ภาค ได้มีการนาสายเคเบิล ใต้ดิน ( Underground
Cable ) มาใช้ในระบบจาหน่ายของการไฟฟ้าเป็ นจานวนมากขึ้นเรื่ อยๆเนื่องจากมีความปลอดภัยที่มี
มากกว่าสายเคเบิลอากาศ รวมทั้งทาให้ภูมิทศั น์ของเมืองนั้นๆมีความสวยงามมากขึ้นด้วยเนื่ องจาก
ไม่มีเสาไฟและสายไฟมาบดบังทัศนี ยภาพ และความมัน่ คงของระบบไฟฟ้าที่มีมากกว่าสายเคเบิล
อากาศด้วยเช่นกัน แต่อย่างไรก็ตามการเชื่อมต่อกันระหว่างสายเคเบิลใต้ดินกับสายเคเบิลอากาศนั้น
ก็ยงั คงมีปัญหาเกิดขึ้นเนื่ องจากการเชื่ อมต่อนั้นใช้การเชื่อมกันด้วยหางปลาแล้วจึงใช้โบลท์กบั นัท
ยึดติดเข้าหากัน ซึ่ งสายเคเบิลใต้ดินจะใช้หางปลาทองแดงแต่ในส่ วนของสายเคเบิลอากาศนั้นจะใช้
หางปลาอลูมิเนี ยม ซึ่ งจุดต่อตรงนี้ เองที่เกิดปั ญหาทั้งการเกิดตะกรัน และความร้อนจึงทาให้ตอ้ งมี
การแก้ไขอยูบ่ ่อยครั้ง

1.2 ทบทวนบทควำมวิจัยที่เกีย่ วข้อง

จากงานวิจยั ที่ผา่ นมาการวิเคราะห์ปัญหาจากการเชื่อมต่อกันระหว่างสายเคเบิลใต้ดินกับ


สายเคเบิลอากาศได้เคยมีผศู ้ ึกษาในลักษณะใกล้เคียงดังนี้
1. ลือชัย ทองนิล [1] ศึกษาเกี่ยวกับเทคนิคการต่อกันทางไฟฟ้า ซึ่งทาให้เราทราบจาก
งานวิจยั นี้ ว่าสาเหตุที่สาคัญที่ ทาให้จุดต่ อสายมี ค วามต้า นทานสู งการเกิ ดจากออกไซด์ที่ผิ วหน้า
สัมผัสซึ่ งก็คือการที่ผิวของโลหะสัมผัสกับอากาศจะเกิดออกไซด์ที่มีลกั ษณะเป็ นฟิ ล์มเคลือบซึ่ ง
ฟิ ล์ม เคลื อบนี้ เองที่ มี คุ ณสมบัติเป็ นฉนวนไฟฟ้ าทาให้เกิ ดความต้านทานที่ ผิวสัมผัส โดยเฉพาะ
ออกไซด์ของอลู มิ เนี ย มซึ่ งมี ส ภาพฟิ ล์มที่ แข็ง เหนี ยว มี ความต้านทานสู งมาก และเกิ ดขึ้นอย่า ง
รวดเร็ว
2. ณปภัช พิมพ์ดี [2] ศึกษาเกี่ยวกับการสาเหตุของการกัดกร่ อนและลักษณะการกัด
กร่ อนแบบต่างๆ รวมถึงการกัดกร่ อนเนื่องจากความต่างศักย์ ซึ่งเกิดจากวัตถุโลหะที่เป็ นตัวนาไฟได้
2

2 ชนิ ดที่ต่างกันในกรณี น้ ี คือ อลูมิเนี ยม และ ทองแดง มาเชื่อมต่อกันจะเกิดความต่างศักย์ไฟฟ้ าขึ้น


ทาให้เกิดการไหลเวียนของอิเล็กตรอนระหว่างวัตถุท้ งั สองทาให้สูญเสี ยอิเล็กตรอนของวัตถุที่มีค่า
ความต่างศักย์ต่ากว่าและถูกกัดกร่ อน

1.3 วัตถุประสงค์ โครงงำน

1. เพื่อศึกษาปัญหาที่เกิดจากการเชื่อมต่อสายเคเบิลใต้ดินกับสายเคเบิลอากาศที่เกิดจาก
สภาพแวดล้อมที่เป็ นมลภาวะ
2. หาวิธีแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเชื่อมต่อสายเคเบิลใต้ดินกับสายเคเบิลอากาศ
3. เพื่อนาผลที่เป็ นประโยชน์จากการศึกษาไปใช้กบั ระบบจาหน่ายของการส่ วนไฟฟ้า
ภูมิภาค

1.4 ขอบเขตโครงงำน

1. ศึกษาปัญหาที่เกิดจากการเชื่อมต่อสายเคเบิลใต้ดินกับสายเคเบิลอากาศที่เกิดจาก
สภาพแวดล้อมที่เป็ นมลภาวะ
2. วิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการเชื่อมต่อสายเคเบิลใต้ดินกับสาย
เคเบิลอากาศ
3. นาตัวอย่างที่ทาการทดลองและติดตั้งนามาทดสอบหาค่าความต้านทานหน้าสัมผัส
เพื่อนาไปสู่ขอ้ สรุ ปของปัญหา
4. นาผลที่ได้ไปแก้ปัญหาจริ งต่อไป

1.5 ประโยชน์ ของโครงงำน

1. สามารถเข้าใจปัญหาที่เกิดจากการเชื่อมต่อสายเคเบิลใต้ดินกับสายเคเบิลอากาศได้
2. สามารถทราบสาเหตุของปัญหาที่เกิดจากการเชื่อมต่อสายเคเบิลใต้ดินกับสายเคเบิล
อากาศได้
3. สามารถหาวิธีแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการเชื่อมต่อสายเคเบิลใต้ดินกับสายเคเบิ ลอากาศ
ที่สามารถปฏิบตั ิได้จริ ง
3

1.6 โครงสร้ ำงโครงงำน


4

บทที่2
ทฤษฎีที่เกีย่ วข้ อง

ภาพที่ 2.1 เสาต้นขึ้นต้นหัวเคเบิลใต้ดิน


2.1 ศึกษำโครงสร้ ำงเสำที่มีกำรติดตั้งสำยเคเบิลอำกำศและสำยเคเบิลใต้ดิน[3]
จากภาพที่ 2.1 จุด A คือ จุดเชื่อมต่อห่ างปลาทองแดงกับหางปลาอลูมิเนี ยม จุด B คือ
สายเคเบิลอากาศและจุด C คือ หัวเคเบิลใต้ดิน ซึ่งจุด A เป็ นจุดที่ทาการศึกษา
2.1.1 เสำต้นขึน้ หัวเคเบิลใต้ดิน ( cable riser pole )
จะเป็ นจุดที่สิ้นสุ ดของการก่อสร้างแบบระบบเคเบิลใต้ดินเพื่อที่จะต่อเข้ากะระบบไฟฟ้า
เหนื อดิน (overhead system )ที่เป็ นสายหุ้มฉนวน โดยการติ ดตั้ง เสาต้นขึ้ นต้นหัวเคเบิ ลใต้ดิน จะ
ติดตั้ง 1 ชุด หรื อ 2 ชุด ก็แล้วแต่กรณี เช่นเดียวกัน ทั้งระบบ 22 KV 33 KV และระบบ 115 KV หาก
ก่อสร้างเคเบิลใต้ดินเพื่อรับไฟจากสถานี ไฟฟ้ า และไปเชื่อมต่อกับระบบเหนื อดิน ก็จะใช้เสาต้น
ขึ้นต้นหัวเคเบิลใต้ดินจานวน 1 ชุด แต่ถา้ เป็ นการก่อสร้างเคเบิลใต้ดินเพื่อระบบสาธารณู ประโภค
อื่น เช่น สายส่ งของการไฟฟ้าฝ่ ายผลิต หรื อ ต้องลอดใต้ถนนทางหลวงยกระดับ เนื่องจากระยะห่าง
5

ทางไฟฟ้าระหว่างสายไฟกับพื้นผิวจราจรไม่เพียงพอ ก็จะใช้เสาต้นขึ้นต้นหัวเคเบิลใต้ดิน จานวน 2


ชุดโดยในแต่ละชุดเป็ นตาแหน่งการเปลี่ยนแปลงจากสายไฟฟ้าระบบเหนือดินเป็ นระบบเคเบิลใต้
ดินส่ วนมากการก่ อสร้ า งระบบเคเบิ ลใต้ดินมัก จะก่ อสร้ า งภายในเขตตัวเมื องเพื่ อต้องการความ
สวยงามความมัน่ คงและปลอดภัยจากสิ่ งแวดล้อมภายนอก
ดัง นั้น ที่ ต าแหน่ ง จุ ด ที่ สิ้ น สุ ด ของการก่ อ สร้ า งแบบระบบเคเบิ ล ใต้ดิ น หากท าเป็ น
ลักษณะก่อสร้างแบบวางพื้น (On Ground) โดยไม่ใช้เสาจะต้องกินพื้นที่มาก และไม่เหมาะสม แต่
ถ้าทาเป็ นลักษณะเสารับ แบบเสาต้นขึ้นต้นหัวเคเบิลใต้ดิน จะใช้พ้ืนที่น้อยกว่าทั้งไม่กีดขวางและ
กลมกลืนกับสภาพแวดล้อมมากกว่าดังนั้นปั จจุบนั จุการไฟฟ้าส่ วนภูมิภาคจึงนาระบบนี้ มาใช้งาน
มากขึ้น
2.1.2 ส่ วนประกอบและหน้ ำที่ของอุปกรณ์ เสำต้นขึน้ หัวเคเบิลใต้ดิน
- สวิตท์ตดั ตอน (Disconnecting switch) ระบบ 22 และ 33 KV สวิตช์ตดั ตอนแรงสู ง
หนึ่ งขา 22 KV หรื อ 33 KV ขนาด 600 A เป็ นอุ ป กรณ์ ใ ช้ ตัด ตอนวงจรไฟฟ้ า ในขณะที่ ไ ม่ มี
กระแสไฟฟ้า ( โหลด )
- กับดักเสิ ร์จ (Lightning Arrester) ทาหน้าที่ป้องกันไม่ให้ฉนวนของสายเคเบิลใต้ดิน
เสี ยหายเนื่องจากแรงดันเสิ ร์จ ( แรงดันสู งจากฟ้าผ่า จากการสับสวิตช์หรื ออื่นๆ )โดยจะรักษาระดับ
แรงดันไว้ไม่ให้มีค่าเกินกว่าที่ฉนวนของสายเคเบิลใต้ดินหรื ออุปกรณ์ทนได้ปัจจุบนั กับดักเสิ ร์จที่
การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาคใช้งานอยู่ในระบบจาหน่าย 22 KV จะมีค่าพิกดั แรงดัน 20 - 21 KV สาหรับ
ระบบจาหน่าย 22 KVที่ไม่มีการต่อลงดินผ่านความต้านทานที่สถานีไฟฟ้า และ พิกดั แรงดัน 24 KV
สาหรับระบบจาหน่าย 22 KV ที่มีการต่อลงดินผ่านความต้านทานที่สถานีไฟฟ้า และค่าพิกดั แรงดัน
30 KV สาหรับระบบจาหน่าย 33 KV ส่ วนค่าความทนได้กระแสฟ้าผ่าแบ่งการใช้งานได้ดงั นี้
กรณี ติดตั้ง Cable Riser Pole หน้าสถานีไฟฟ้าใช้ขนาด 10 kA
กรณี ติดตั้ง Cable Riser Pole ในไลน์ระบบจาหน่ายใช้ขนาด 5 kA
- หัวเคเบิล (Terminator or Cable Riser) สาหรับหัวเคเบิลใต้ดิน 22 KV หรื อ 33 KVทา
หน้าที่กระจายสนามไฟฟ้าเนื่ องจากผลของสนามไฟฟ้าเบี่ยงเบนไม่ให้มีสนามไฟฟ้าหนาแน่ นที่
ปลายสายตัวนาต่อลงดินลดความเครี ยดสนามไฟฟ้าที่เกิดที่ปลายlkp
- ห่ วงรัดสาย (Cable Grip) สาหรับสายเคเบิลใต้ดิน 22 KV หรื อ 33 KV ทาหน้าที่รัด
สายเคเบิลใต้ดิน จานวน 3 เส้นเข้าด้วยกันเพื่อที่จะได้ไม่มีผลจากฟลักซ์แม่เหล็กทาให้ไม่เกิดความ
ร้อนเพิ่มขึ้นที่สายเคเบิลใต้ดิน แล้วแขวนยึดด้วยสลักเกลียวเข้ากับเสา เหตุผลเพื่อเป็ นตัวช่ วยรับ
น้ าหนักในแนวดิ่งของสายเคเบิลใต้ดิน ทั้ง 3 เส้นทาให้ไม่มีแรงดึงไปกระทากับส่ วนที่ต่ออยู่กบั หัว
เคเบิลได้
6

- Air seal Compound ใช้สาหรับอุดช่องว่างบริ เวณที่สายเคเบิลฯโผล่ออกจากปลายท่อ


ร้อยสายเพื่อป้องกันไม่ให้น้ าเข้าไปในท่อร้อยสาย
- ท่อเหล็กกล้าเคลือบสังกะสี หรื อท่อ HDPE PN 6.3 มอก.982 ใช้สาหรับป้ องกัน สาย
เคเบิลใต้ดินทางด้านแรงกล สัตว์ หรื อน้ าเข้าสายเคเบิลใต้ดินโดยตรง ซึ่ งท่อเหล็กกล้าสามารถใช้
ร้อยสายเคเบิลใต้ดิน จานวน 3 เส้นต่อท่อได้ เนื่องจากไม่มีผลจากฟลักซ์แม่เหล็กทาให้ไม่เกิดความ
ร้อนขึ้นที่สายเคเบิลฯ
- โครงเหล็กกันท่อร้อยสาย (Conduit Steel Guard) ใช้สาหรับป้องกันท่อร้อยสายซึ่งจะ
เป็ นการป้องกันสายเคเบิลฯไปในตัวซึ่งจะบอกให้บุคคลหรื อรถที่สัญจรผ่านไปมาได้ทราบว่า ณ จุด
นี้ ไ ด้มี ก ารติ ด ตั้ง ท่ อ ร้ อยสายขึ้ น ซึ่ ง จะได้เพิ่ ม ความระมัด ระวัง ขึ้ น ขณะที่ ก าลัง จะสั ญ จรผ่ า นจุ ด
ดังกล่าวนี้ โดยโครงกันสามารถติดตั้งได้ท้ งั ทิศทางเดียวกันและทิศตรงข้ามกับการจราจรแต่ทวั่ ไป
นิยมติดตั้งในทิศตรงข้ามกับการจราจร
- สายต่อลงดินและแท่งหลักดิน (Ground Wire and Ground rod) จะมีความสาคัญเป็ น
อย่างยิ่งเนื่ องจากสายต่อลงดินจะเป็ นตัวนากระแสฟ้าผ่าหรื อกระแสลัดวงจรลงดินและแท่งหลักดิน
จะช่วยกระจายประจุฟ้าผ่าหรื อนากระแสลัดวงจรที่เกิดขึ้นผลที่ตามมาคือจะทาให้เกิดแรงดันมีค่า
ระดับต่างกันในแต่ละจุดภายในสายต่อลงดินบน เสาต้นขึ้นต้นหัวเคเบิลใต้ดินดังนั้นถ้าสายต่อลงดิน
ขาดหรื อหลุดจะทาให้ไม่มีจุดกราวด์อา้ งอิงทาให้เกิดแรงดันสู งคร่ อมอุปกรณ์บน เสาต้นขึ้นต้นหัว
เคเบิลใต้ดินกินกว่าที่อุปกรณ์ทนได้เกิดการชารุ ดของอุปกรณ์ตามมา
- ท่อ PVC แข็งพร้อมอุปกรณ์ยึดใช้สาหรับสวมสายต่อลงดินเพื่อปกปิ ดไม่ให้บุคคล
สัมผัสสายโดยตรงซึ่ งเมื่อเกิดฟ้าผ่าหรื อลัดวงจรขึ้นเมื่อบุคคลไปสัมผัสโดยตรงในเวลานั้นจะทาให้
เกิดอันตรายเนื่องจากแรงดันสัมผัสขึ้นได้
7

2.1.3 โครงสร้ ำงสำยเคเบิลใต้ ดิน

ภำพที่ 2.2 สำยเคเบิลใต้ดิน


- ตัวนา (Conductor) ทาหน้าที่นากระแสไฟฟ้า ทาจากทองแดง
- วัสดุก่ ึงตัวนา (Conductor screen) เป็ นผ้าอาบคาร์ บอน มีหน้าที่ทาให้ผิวสัมผัสของ
ตัวนากับฉนวนเรี ยบไม่มีช่องว่างที่มีศกั ย์ไฟฟ้าสู งตกคร่ อมซึ่ งเป็ นสาเหตุของการเกิด การทาลาย
ความเป็ นฉนวนของประจุไฟฟ้า
- ฉนวน (Insulation) เป็ นส่ ว นที่ ส าคัญ ที่ สุ ด ของสายเคเบิ ล ใต้ดิ น มี ห น้า ที่ กัน ไม่ใ ห้
กระแสไฟฟ้าเกิดการรั่วไหลหรื อลัดวงจรจนเกิดการสู ญเสี ยต่อระบบไฟฟ้า และอาจเกิดอันตรายต่อ
บุคคลที่ไปสัมผัสได้ คุณภาพของสายเคเบิล ใต้ดิน จะขึ้นอยู่กบั วัสดุที่ใช้ทาฉนวนซึ่ งมีอยู่ด้วยกัน
หลายชนิ ด เช่น Polyvinyl Chroride (PVC) หรื อ Polyethylene (PE) ซึ่ งนิ ยมใช้ในระบบแรงต่า, Oil
Impregnated Paper, Crosslinked Polyethylene (XLPE) และ Ethylene Propylene Rubber (EPR) ซึ่ ง
นิยมใช้ในระบบแรงสูง
- Insulation screen ทาหน้าที่เช่นเดียวกับวัสดุก่ ึงตัวนา ลดแรงดัน ไฟฟ้าตกคร่ อมบริ เวณ
ผิวสัมผัสของ Insulation และ Metallic Screen วัสดุที่ใช้ทาเป็ นผ้าอาบคาร์บอน
- Metallic screen ท าหน้ า ที่ เ ป็ นสายดิ น ส าหรั บ สายไฟฟ้ า แรงสู ง และเป็ นทางให้
กระแสไฟฟ้ า ไหลกลับ ในกรณี ที่ เกิ ดการลัด วงจร Metallic screen อาจเป็ นเทปหรื อสายท าด้ว ย
ทองแดง
- Water Blocking Tape เป็ นชั้นที่เสริ มขึ้นมาในกรณี ของสายเคเบิลใต้ดินแรงสู งที่ ใช้
ในบริ เวณที่ช้ืนแฉะเพื่อป้ องกันน้ าไหลเข้าไปตามแนวสายเคเบิลในกรณี ที่เปลือกของสายเคเบิลใต้
8

ดินมีการชารุ ดจากการลากสายทาให้ส่วนที่เป็ นฉนวนสัมผัสกับน้ าเป็ นระยะทางยาว สายเคเบิลใต้


ดินจึงมีโอกาสชารุ ดสูง Water Blocking Tape นี้ทาจากสารสังเคราะห์และมี Swellable Powder (สาร
ที่ดูดซึ มน้ าเข้าไปแล้วขยายตัวมีลกั ษณะเป็ นผงคล้ายแป้ ง) โดยทัว่ ไปจะอยู่ระหว่างชั้น Insulation
Screen กับเปลือก
- เปลือก ( sheath )หรื อที่เรี ยกกันโดยทัว่ ไปว่า Jacket ทาหน้าที่ป้องกันแรงกระแทก
เสี ยดสี ต่างๆขณะติดตั้งสายเคเบิล วัสดุที่ใช้ทามี PVC, PE
2.1.4 โครงสร้ ำงสำยเคเบิลอำกำศ[4]

ภาพที่ 2.3 สายเคเบิลอากาศ


- ตัวนา (Conductor) ทาหน้าที่นากระแสไฟฟ้า ทาจากอลูมิเนียม
- วัสดุก่ ึงตัวนา (Conductor screen ) เป็ นผ้าอาบคาร์ บอน มีหน้าที่ทาให้ผิวสัมผัสของ
ตัวนากับฉนวนเรี ยบไม่มีช่องว่างที่มีศกั ย์ไฟฟ้าสู งตกคร่ อมซึ่ งเป็ นสาเหตุของการเกิดการทาลาย
ความเป็ นฉนวนของประจุไฟฟ้า
- Insulation (ฉนวน) เป็ นส่ ว นที่ ส าคัญ ที่ สุ ด ของสายเคเบิ ล ใต้ดิ น มี ห น้า ที่ กัน ไม่ ใ ห้
กระแสไฟฟ้าเกิดการรั่วไหลหรื อลัดวงจรจนเกิดการสู ญเสี ยต่อระบบไฟฟ้า และอาจเกิดอันตรายต่อ
บุคคลที่ไปสัมผัสได้ คุณภาพของสายเคเบิลฯ จะขึ้นอยู่กบั วัสดุที่ใช้ทาฉนวนซึ่ งมีอยู่ดว้ ยกันหลาย
ชนิ ด เช่ น Polyvinyl Chroride (PVC) หรื อ Polyethylene (PE) ซึ่ งนิ ย มใช้ ใ นระบบแรงต่ า , Oil
Impregnated Paper, Crosslinked Polyethylene (XLPE) และ Ethylene Propylene Rubber (EPR) ซึ่ ง
นิยมใช้ในระบบแรงสูง
- เปลือก (Sheath) หรื อที่เรี ยกกันโดยทัว่ ไปว่า Jacket ทาหน้าที่ป้องกันแรงกระแทก
เสี ยดสี ต่างๆ
9

2.2 ชนิดของหำงปลำ ( Terminal Lug )

2.2.1. หำงปลำทองแดง

ภาพที่ 2.4 หางปลาทองแดง


ทองแดง คือธาตุที่มีเลขอะตอม 29 และสัญลักษณ์คือ Cu ทองแดงอยู่ในตารางธาตุหมู่
29 ทองแดงถือเป็ นโลหะที่ถูกใช้ประโยชน์ เป็ นอย่างมาก เป็ นโลหะที่ถูกใช้มากรองลงมาจากเหล็ก
และอลูมิเนียม

ตารางที่ 2.1 คุณสมบัติทองแดง


สถานะ ของแข็ง

โครงสร้างผลึก Face-Centered Cubic


เลขอะตอม 29
มวลอะตอม 63.546 กรัม/โมล
การจัดเรี ยงอิเล็กตรอน 1s2 2s2 2p6 3s2 3d10 4s1
มีจุดเดือด 2567 ºC
จุดหลอมเหลว 1083 ºC
ความจุความร้อนจาเพาะ 0.092 cal/g ºC
ความร้อนในการหลอมละลาย (ที่ 20 ºC) 50.6 cal/g
10

ความต้านทานไฟฟ้า (ที่ 20 ºC) 1.673 µΩcm


ความหนาแน่น (20 ºC) 8.92 g/cm3

ตารางที่ 2.2 ปฏิกิริยาของทองแดง

สารที่ทาปฏิกิริยา ลักษณะการเกิดปฏิกิริยา

ออกซิเจน ท าปฏิ กิ ริ ย ากับ อากาศแห้ง ที่ อุ ณ หภู มิ 180 ºC


หรื อต่ากว่า ถ้ามีคาร์บอนไดออกไซด์ และน้ า

ไนโตรเจน ไม่ทาปฏิกิริยา

กามะถัน ทาปฏิกิริยากับอากาศแห้งที่อุณหภูมิ 180 ºC

ไฮโดรเจน ไม่ เ กิ ด ปฏิ กิ ริ ย าที่ อุ ณ หภูมิ ห้อ ง แต่ ล ะลายใน


ทองแดงหลอมเหลวได้ดี

กรดอนินทรี ย ์ กรดเกลื อ และกรดกามะถัน บริ สุ ท ธิ์ ไม่ กัด


กร่ อนทองแดง ส่ ว นกรดไนตริ กกั ด กร่ อน
ทองแดงได้

กรดอินทรี ย ์ กรดอินทรี ยเ์ จือจางกัดกร่ อนทองแดงได้ชา้

ด่าง กัดกร่ อนทองแดงได้เล็กน้อย

เกลือ สารที่ มีสภาพด่ า งทั่วไปไม่กัดกร่ อนทองแดง


แต่แอมโมเนี ยที่รวมกับอากาศทาปฏิกิริยากัด
กร่ อนทองแดงได้
11

2.2.2 หำงปลำอลูมิเนียม

ภาพที่ 2.5 หางปลาอลูมิเนียม


อะลูมิเนียม คือธาตุเคมีในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ Al และมีเลขอะตอม 13 เป็ นโลหะที่
มันวาวและอ่อนดัดง่าย มีลกั ษณะแข็งแรง และน้ าหนักเบา อะลูมิเนี ยมเป็ นโลหะที่อ่อนและเบาที่มี
ลักษณะไม่เป็ นเงา เนื่ องจากเกิดการออกซิ เดชัน ที่เกิดขึ้นเร็ วเมื่อสัมผัสกับอากาศ โลหะอะลูมิเนี ยม
ไม่เป็ นสารพิษ ไม่เป็ นแม่เหล็ก

ตารางที่ 2.3 คุณสมบัติอลูมิเนียม

สถานะ ของแข็ง
โครงสร้างผลึก Face-Centered Cubic
เลขอะตอม 13
มวลอะตอม 26.97กรัม/โมล
การจัดเรี ยงอิเล็กตรอน [Ne] 3s2 3p1
มีจุดเดือด 2450 ºC
จุดหลอมเหลว 660.2 ºC
ความจุความร้อนจาเพาะ 0.224cal/g ºC
ความร้อนในการหลอมละลาย (ที่ 20 ºC) 94.5 cal/g
12

ความต้านทานไฟฟ้า (ที่ 20 ºC) 2.6548 µΩcm


ความหนาแน่น (20 ºC) 2.6989 g/mm3

ตารางที่ 2.4 ปฏิกิริยาของอลูมิเนียม

สารที่ทาปฏิกิริยา ลักษณะการเกิดปฏิกิริยา

ออกซิเจน ทาให้เกิดชั้นฟิ ล์ม เรี ยกว่า อลูมิเนียมออกไซด์

ไนโตรเจน ทาให้เกิดไนไตรด์ที่อุณหภูมิสูง

กามะถัน ไม่ทาปฏิกิริยา

ไฮโดรเจนจะแทรกซึ มเข้ า สู่ ชั้ นในของ


ไฮโดรเจน
อลูมิเนียม จึงจาเป็ นต้องกาจัดออก

กรดอนินทรี ย ์ ทนต่อกรดอนินทรี ยเ์ ข้มข้นได้ปานกลาง

กรดอินทรี ย ์ ไม่ทาปฏิกิริยา
ทนต่อปฏิ กิ ริย าของด่ างได้เล็ก น้อ ย สามารถ
ด่าง
ละลายได้ในสภาวะที่เป็ นด่างเข้มข้น
เกลือ เกิดปฏิกิริยากับเกลือได้ ทาให้เกิดการกัดกร่ อน
13

2.3 ลักษณะกำรเชื่ อมต่ อหำงปลำทองแดงกับหำงปลำอลูมิเนียม[1]

ภาพที่ 2.6 การเชื่อมต่อระหว่างหางปลาทองแดงกับหางปลาอลูมิเนียม


เนื่ อ งจากเป็ นการเชื่ อ มสายที่ เ ชื่ อ มด้ว ยการขัน โบลท์ใ ห้ แ น่ น ฉะนั้น อาจเกิ ด ความ
ต้านทานได้จากแรงบีบที่ตวั ต่อสาย(หางปลา)ลดลงเนื่ องจาก Creep หรื อ Cold Flow เมื่อมีแรงบีบ
อัดกระทาที่ เนื้ อโลหะจะทาให้เนื้ อโลหะมีการเคลื่ อนตัวแบนออกเรี ยกว่า Cold Flow หรื อ Creep
การเคลื่อนตัวของเนื้อโลหะนี้จะทาให้แรงบีบอัดลดลงและเมื่อถึงจุด ๆ หนึ่ง ก็จะหยุดการเคลื่อนตัว
หรื อเคลื่อนตัวน้อยมาก การเคลื่อนตัวจะเกิดมากหรื อน้อยขึ้นอยู่กบั ความแข็งของโลหะ ถ้าโลหะ
แข็งจะมีการเคลื่อนตัวน้อย โลหะอ่อนจะมีการเคลื่ อนตัวมาก อุณหภูมิที่สูงขึ้นก็จะทาให้เกิ ดการ
เคลื่อนตัวมากขึ้นด้วย เหตุการณ์น้ ี เกิดขึ้นมากในการตัวต่อที่ขนั ด้วยโบลท์ เราจะเคยสังเกตพบว่า
เมื่อใช้งานไประยะหนึ่ง จุดต่อที่ขนั ด้วยโบลท์น้ ีจะหลวมต้องมีการกลับไปขันให้แน่นใหม่อีก แสดง
ความสัมพันธ์ของความต้านทานผิวสัมผัสกับแรงกดที่ผิวสัมผัสที่เกิดจากการเลื่อนตัวได้ตามรู ป
14

ภาพที่ 2.7 กราฟแสดงแรงกดที่ผิวสัมผัส

เส้นโค้ง A แสดงความสัมพันธ์ของความต้านทานผิวสัมผัสกับแรงกดที่ผิวสัมผัสเมื่อทา
การบีบอัดตัวต่อสาย จะเห็นว่าเมื่อแรงกดที่ผิวสัมผัสเพิ่มขึ้นความต้านทานผิวสัมผัสจะลดลงจนถึง
จุดๆ หนึ่ง(จุดD) และจะไม่ลดลงอีกแม้จะเพิ่มแรงกดมากขึ้นก็ตาม ในการต่อสายไฟฟ้าจึงต้องให้มี
แรงกดมากถึงจุด D และถ้าเพิ่มแรงกดมากขึ้นอีกก็จะไม่ทาให้ค่าความต้านทานผิวลดลงอีก
เส้นโค้ง B แสดงความสัมพันธ์ของความต้านทานผิวสัมผัสกับแรงกดที่ผิวสัมผัสเมื่อ
แรงบีบลดลงหรื อเกิดการคลายตัวของตัวต่อสาย ซึ่งเกิดจากหลายสาเหตุ (สังเกตว่า เส้นโค้งจะไม่
ทับกับเส้นโค้ง A) ถ้าการคลายตัวทาให้แรงกดลดลงต่ ากว่าจุ ด C ค่าความต้านทานผิวสัมผัส จะ
เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว ในการออกแบบตัวต่อสายจึงต้องไม่ทาให้การคลายตัวเนื่ องจาก Creep ลดลง
จนแรงกดต่ากว่าจุด Cในทางปฏิบตั ิ การกาหนดจุด C หรื อจุดที่จะไม่เกิด Creep อีกนั้นทาได้ยาก
เนื่ องจากเนื้ อโลหะมีความอ่อนตัวแม้ว่าค่าแรงบีบจะน้อยและอยู่ในอุณหภูมิห้องก็ตาม และโลหะ
ต่างชนิ ดกันก็ตอ้ งการแรงกดไม่เท่ากันเช่นทองแดงมีความแข็งมากกว่าอะลูมิเนียมจึงต้องการแรง
กดมากกว่า เพื่ อ ให้ถึ ง จุ ด ที่ ค าดว่า จะไม่เ กิ ด Creep อี ก ดัง นั้น การต่ อ ระหว่ า งตัว น าทองแดงกับ
อะลูมิเนียมจึงมีปัญหามาก
จากสาเหตุดงั กล่าวข้างต้นพอสรุ ปได้ว่า ตัวต่อสายจะต้องมีการออกแบบอย่างเหมาะสม
ผ่านการทดสอบตามมาตรฐานสากลที่กาหนด การใช้งานจึงต้องเลือกให้เหมาะสมทั้งชนิ ด ขนาด
และแรงกดด้วย (กรณี ตวั ต่อสายเป็ นชนิ ดขั้นแน่นด้วยโบลท์แรงกดคือทอร์ คที่ใช้ขนั โบลท์ สาหรับ
ตัวต่อสายชนิ ดบีบด้วยเครื่ องมือแรงกดจะสัมพันธ์กบั ขนาดของหัวบีบที่เลือกใช้งาน) การไฟฟ้ า
ส่วนภูมิภาคจึงมีการกาหนดมาตรฐานดังตารางที่ 2.5
15

ตารางที่ 2.5 ค่า Tightening Torque สาหรับ Bolted Connectors ชนิดต่างๆ[5]

ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของ ค่า Tightening Torque สาหรับ Bolted Connectors ชนิดต่างๆ


เกลียว
Aluminum Stainless Steel,Galvanize
Bolt in mm N-m Lb-in Lb-ft N-m Lb-in Lb-ft

8 3/16 4.9 - - - 6.78 - 5.0


10 7/32 5.9 - - - 13.56 - 10.0
11 15/64 6.2 - - - - - -
12 5/16 7.9 13.57 120 10 20.3 180 15
15 3/8 9.5 19 168 14 27.1 240 20

15 3/8 L-A 9.5 20.34 180 15 - - -


17 13/32 10.3 23 204 20 32.15 288 24
19 7/16 11.1 27.1 240 20 40.6 360 30
21 1/2 12.7 33.9 300 25 54.2 480 40
21 1 / 2 L-A 12.7 33.9 300 25 - - -
23 9/16 14.3 43.4 384 32 65 576 48
24 5/8 15.9 54.2 430 40 74.5 660 55
24 5/8 L-A 15.9 54.2 480 40 - - -
3/4 19.1 81.4 720 60 95 840 70
16

ภาพที่ 2.8 มาตรฐานการขันทอร์คของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

2.4 ศึกษำปัญหำที่เกิดจำกกำรเชื่ อมต่อกันระหว่ำงสำยเคเบิลอำกำศกับเคเบิลใต้ดิน[2]

2.4.1 กำรกัดกร่ อนแบบกัลวำนิค ( Galvanic corrosion)

ภาพที่ 2.9 การกัดกร่ อนที่เกิดขึ้น


สาหรับการต่อสายตัวนาที่เป็ นโลหะต่างชนิดกัน เช่น ทองแดงกับอะลูมิเนียมเมื่อสัมผัส
กันจะเกิดปฏิกิริยาทางเคมีเรี ยกว่าการเกิดปฏิกิริยาอิเลกโตรไลตริ ก(electrolytic)และเมื่อมีความชื้นที่
17

บริ เวณผิวสัมผัสของตัวนาจะเกิดการกัดกร่ อนของตัวนาขึ้น เป็ นสาเหตุของความต้านทานที่เพิ่มขึ้น


ที่จุดสัมผัส เมื่อโลหะทั้งสองสัมผัสกันจะเกิดกระแสไหลคล้ายกับการลัดวงจรของเซลล์ไฟฟ้า
ปฏิกิริยาอิเล็กโตรไลตริ กนี้จะทาให้โลหะที่เป็ นขั้ว Anode เกิดการกัดร่ อน โดยโลหะที่เป็ นขั้ว
Cathode จะไม่ถูกกัดกร่ อน การกัดกร่ อนจะเกิดมากหรื อน้อยจะขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณกระแสอิเล็กโตร
ไลตริ กซึ่ง เป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นตัวอย่าง เมื่อนาทองแดง และ
อะลูมิเนียมมาต่อกัอะลูมิเนียม จะเป็ นขั้ว Anode และถูกกัดกร่ อนทองแดง จะเป็ นขั้วCathode และ
ไม่ถูกกัดกร่ อน (แต่จะเป็ นตัวรับประจุ) โดยอะลูมิเนียมจะถูกกัดกร่ อนมากเนื่ องจากโลหะทั้งสอง
มากอยูใ่ น Series ที่ห่างกันมาก
จะสังเกตได้ว่าค่าศักย์ไฟฟ้าของทองแดง มีค่าอยู่ที่ 0.34 V ส่ วนอลูมิเนียม มีค่าอยู่ที่ ( -
1.66 V) ซึ่ งมีค่าต่างกันมาก จึงส่ งผลให้เกิดการกัดกร่ อนขึ้น โดยเราสามารถสรุ ปปฏิกิริยาการกัด
กร่ อนเนื่องจากความต่างศักย์
สมการปฏิกิริยา

2Al(s) + 3Cu 2+ = 2Al 3+ + 3Cu(s)

E 0 cell = E 0 cathode - E 0 anode

E 0 cell = 0.34 - (-1.66)


18

ภาพที่ 2.10 ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน


19

2.4.2 เกิดออกไซด์ที่ผิวสัมผัส[1]
ผิวของโลหะที่สัมผัสกับอากาศ (ออกซิ เจน) จะเกิดออกไซด์มีลกั ษณะเป็ นฟิ ล์มเคลือบ
อยู่ฟิล์มนี้ มี คุณสมบัติเป็ นฉนวนไฟฟ้ าทาให้เกิดความต้านทานที่ผิวสัมผัส ลักษณะของฟิ ล์มนี้ จะ
ขึ้นอยูก่ บั ชนิดของโลหะที่เป็ นตัวนา
- ทองแดงออกไซด์ เป็ นฟิ ล์มที่มองเห็นได้ดว้ ยสายตา มีสภาพอ่อนสามารถขจัดออกโดย
ใช้แรงกดเพี ย งไม่ ม าก นอกจากว่าผิวทองแดงจะมี ออกไซด์เกาะอยู่มากเกินไป จึ งต้องทาความ
สะอาดผิวก่อน โดยทัว่ ไปผิวทองแดงที่ขดั เพียงเล็กน้อยก็สามารถเป็ นผิวสัมผัสที่ดีได้ โดยทองแดง
ออกไซด์ เกิดขึ้นจากสมการปฏิกิริยา

ภาพที่ 2.11 ลักษณะของออกไซด์ทองแดง

Cu(s) + O 2 (g) = CuO 3

- ออกไซด์ของอลูมิเนี ยมเป็ นฟิ ล์มที่มีสภาพแข็ง เหนี ยว มีความต้านทานสู งมาก และ


เกิดขึ้นอย่าง รวดเร็ วเมื่อผิวอลูมิเนี ยมสัมผัสกับอากาศเพียงไม่กี่ชวั่ โมง และไม่สามารถนามาใช้งาน
โดยไม่ได้ทาความ สะอาดก่อน ฟิ ล์มออกไซด์ของอลูมิเนียมมีลกั ษณะโปร่ งใส ดังนั้นแม้ว่าผิวของ
อลูมิเนียมจะสะอาดและดูเป็ นประกาย แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าผิวของอลูมิเนียมจะมีความต้านทาน
ผิวสัมผัสต่าพอที่จะใช้งานได้ดี
20

ภาพที่ 2.12 ลักษณะของออกไซด์อลูมิเนียม

4Al(s) + 3 O 2 (g) = 2 Al 2 O3

2.5 ศึกษำผลที่เกิดจำกเชื่ อมต่อกันระหว่ำงสำยเคเบิลอำกำศกับเคเบิลใต้ดิน

2.5.1 ควำมต้ำนทำนหน้ ำสัมผัส


หน้าสัมผัสของวัสดุสองหน้าที่สัมผัสกันประกอบด้วยจุดต่อจานวนหนึ่งซึ่งสัมผัสกัน
โดยพื้นที่การ สัมผัสจะมากขึ้นเมื่อเราเพิม่ แรงกดให้มีค่าเหมาะสมมีปัจจัยสองประการที่มีผลต่อ
ความต้านทานหน้าสัมผัส คือ 1. สภาวะของหน้าสัมผัส 2. แรงที่ใช้กดหน้าสัมผัส
2.5.2 อิทธิพลของอุณหภูมิต่อควำมต้ ำนทำน
เมื่ออุณหภูมิของตัวนาเปลี่ยนแปลง จะทาให้สภาพต้านทานของตัวนาประเภทโลหะจะ
เปลี่ยนแปลงหรื อทาให้ความต้านทานของตัวนาเปลี่ยนแปลงไปด้วย
rt = r0 (1 + t )
r0 = ความต้านทานของตัวนาที่ 0 oC
o
rt = ความต้านทานของตัวนาที่ t C
t = อุณหภูมิของโลหะตัวนาในหน่วยองศาเซลเซียส
 = สัมประสิ ทธิ์อุณหภูมิของความต้านทาน คือ ค่าความต้านทานที่เปลี่ยนไปต่อ ความ
ต้านทานเดิม เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป 1 องศาเซลเซียส มีหน่วยเป็ น (0C)-1
21

ตารางที่ 2.6 ค่าความต้านทานและค่าสัมประสิ ทธิ์อุณหภูมิของความต้านทาน


ค่าความต้านทานและค่าสัมประสิ ทธิ์อุณหภูมิของความต้านทาน
(TCS)(ที่20 ° C)
สาร ρ , Om · m CBC α , ° C -1

เงิน 1.59  10 -8 0.0038


ทองแดง 1.68  10 −8 0.0039
อลูมิเนียม 2.65  10 −8 0.0039

ดีบุก 11.5  10 −8

นิคเกิล 6.93  10 −8 0.006


เหล็ก 9.71  10 −8 0.00651

2.6 ศึกษำแนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ

2.6.1 กำรป้ องกันจุดเชื่ อมต่ อจำกออกซิเจนด้ วยกำรพันเทปพันสำยไฟ


วิธีการพันเทปดีน้ ีเป็ นวิธีการพันจุดต่อของหลอดต่อสายของสายเคเบิลอากาศ จึงนามา
ประยุกต์เพื่อมาเป็ นอีกวิธีการหนึ่งเพื่อการป้องกันจุดต่อสายเคเบิลใต้ดินกับสายเคเบิลอากาศ

ภาพที่ 2.13 มาตรฐานการพันเทป


22

ตารางที่ 2.7 อุปกรณ์ของการพันเทป

ลาดับที่ รายละเอียด จานวน

22 เควี 33 เควี

1 สายเคเบิลอากาศอลูมิเนียม - -

2 หลอดต่อสายชนิดบีบรับแรงดึงหรื อไม่รับแรง 1 1
ดึง สาหรับสายเคเบิลอากาศอลูมิเนียมขนาด 50-
185 ตารางมิลลิเมตร

3 3.1 เทปกึ่งตัวนาไฟฟ้า ม้วนขนาด 19 มิลเมตร× 4.5 3.5 เมตร 3.5 เมตร


เมตร สาหรับพันหลอดต่อสายชนิดบีบรับแรง
ดึง

3.2 เทปกึ่งตัวนาไฟฟ้า ม้วนขนาด 19 มิลลิเมตร × 2 เมตร 2 เมตร


4.5 เมตร สาหรับพันหลอดต่อสายชนิดบีบไม่
รับแรงดึง

4 4.1 เทปพันสายเคเบิลอาศแรงสูง สาหรับพันหลอด 3 ม้วน 4 ม้วน


ต่อสายชนิดบีบรับแรงดึง

4.2 เทปพันสายเคเบิลอาศแรงสูง สาหรับพันหลอด 2 ม้วน 2 ม้วน


ต่อสายชนิดบีบไม่รับแรงดึง

5 พิลเลอร์เทป ม้วนขนาด 30 มิลลิเมตร× 1.5 0.15 เมตร 0.15


เมตร เมตร
23

6 เทป พีวีซี ใช้ภายนอก ม้วนขนาด 19 มิลลิเมตร 1 ม้วน 1 ม้วน


× 10 g,9i

ตารางที่ 2.8 คุณสมบัติของเทป


เบอร์ คุณสมบัติ
เทปชนิดกึ่งตัวนาไฟฟ้า ประกอบด้วยวัสดุ
หลักคือ EPR ทนอุณหภูมิได้ 130 oC เทปทา
Scotch 13 Electrical Semi Conducting
หน้าที่ลดความเข้มของสนามไฟฟ้า
Tape
เทปยางละลาย เป็ นเทปฉนวนชนิดไม่มีกาว
เนื้อเทปเมื่อพันแล้วจะหลอมประสานตัวเอง
Scotch 23
เป็ นเนื้ อเดียวกันได้ดีเยีย่ ม ทนอุณหภูมิได้ 130
o
C ทาหน้าที่เป็ นฉนวนของจุดต่อ
เทปพันสายไฟชนิ ดคุณภาพสู ง ทนแรงดันได้
Scotch Super 33+ 600 V ทนอุณหภูมิได้ -18 oC ถึง 105 oC ทน
แสง ทนการเสี ย ดสี การกัดกร่ อน กรด ด่ าง
และสารเคมี ทาหน้าที่เป็ นเปลือก (Jacket )

เป็ นเทปที่มีส่วนผสมของ EPR และ Mastic


อยูด่ ว้ ยกัน ทนแรงดันได้ 35 KV ทาหน้าที่เป็ น
Scotch 2228
ฉนวนป้องกันความชื้นของจุดต่อ
24

2.6.2 กำรป้องกันโลหะจำกออกซิเจนด้วยกำรใช้ ท่อหด (heat-shrink tube)

ภาพที่ 2.14 ท่อหดความร้อน

ท่ อหด เป็ นท่ อพลาสติ ก ที่ จะหดตัวเมื่ อโดนความร้ อน ทาจากไนลอนหรื อพลาสติ ก


ตระกูลโพลีโอลีฟินที่ถูกยืด หลังการหดตัว ท่อจะมีขนาดเท่ากับตอนก่อนถูกยืด คุณสมบัติท่อหด (
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ฟฟ้ า RAYCHEM )CRSM Heat-Shrinkable wraparound system for plastic or metal
sheathed cable repair CRSM เป็ นท่อหดแบบห่อได้ของ Raychem ซี่งออกแบบมาเป็ นแผ่นสามารถ
ม้วนเข้าหากัน แล้วใส่ตวั ล็อคเพื่อให้มีลกั ษณะเหมือนกับท่อสาหรับใช้ในการหุม้ ฉนวน สายไฟฟ้าที่
เสี ยหายโดยไม่จาเป็ นจะต้องตัดต่อสายโดยใช้ชุดตัดต่อสาย ภายในท่อจะ เคลือบด้วย Sealant ซึ่งจะ
ทาหน้าที่ป้องกันน้ าหรื อความชื้น เข้าไปภายในท่อส่ วนที่หุ้มอยู่โดยสารนี้ จะหลอมตัวเมื่อโดนความ
ร้ อ นขณะที่ ถู ก เป่ าCRSM นอกจากจะใช้ซ่ อ มเปลื อ กสายไฟฟ้ า ที่ เ สี ย หายแล้ว ยัง สามารถน าไป
ประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ ได้เช่น การต่อสายไฟฟ้า หรื อการแทปสายไฟฟ้า

ตารางที่ 2.9 คุณสมบัติท่อหดความร้อน


Low temperature 4 hours at -30°C ASTM D2671 No cracking
flexibility ±3°C Procedure C
1mm 180 KV/cm
Electric Strength IEC 243
min 3.5mm 120
KV/cm min
Volume Resistivity IEC 93 1x1012 Ωcm min
Dielectric Constant IEC250 5 max
25

Water Absorption 14 days at 23°C ± ISO 62 Method 1 0.5 max


2°C
Resistance to Liquids 7 days in transformer ISO 1817
oil at 23°C ± 2°C
(VDE 0370)
Tensile Strength
ISO 37 14 MP a min.
Ultimate Elongation
ISO 37 300% min

Resistance to Fungi ASTM G21 Pass Rating 1


The material from which CRSM is
Weathering manufactured, Contains carbon black to
protect it from ultra-violet radiation.

2.6.3 กำรป้องกันโลหะจำกออกซิเจนด้วยกำรสำรประกอบช่ วยสัมผัส (Contact Aid


Compounds)[6]

ภาพที่ 2.15 คอมปาวด์


26

เป็ นที่ ท ราบกันมานานแล้วว่าการใช้สารช่วยสัมผัส ช่ วยปรั บปรุ งประสิ ทธิ ภาพของ


หน้าสัมผัสไฟฟ้า เมื่อมีการใช้สารช่วยสัมผัสทาให้หน้าสัมผัสนั้นไม่ถูกรบกวน การป้ องกันการเกิด
ออกซิ เ ดชั น ของพื้ น ผิ ว โลหะไม่ ใ ห้ โ ดนอากาศและการป้ อ งกัน ผิ ว สั ม ผัส จากผลกระทบต่ อ
สิ่ ง แวดล้อมที่ ไ ม่ พึ ง ประสงค์ เป็ นเรื่ องธรรมดาส าหรั บ การเชื่ อมต่ อทั้ง อลู มิ เนี ย มและทองแดง
ผิวสัมผัสควรถูกขัดด้วยสารช่วยสัมผัสที่เหมาะสมด้วยแปรงลวดหรื อผ้าขัด เนื่ องจากการก่อตัวของ
ฟิ ล์ม ออกไซด์ เ ริ่ ม ต้น อย่ า งรวดเร็ ว บนอลู มิ เ นี ย มกระบวนการนี้ จึ ง มี ค วามส าคัญ ส าหรั บ ตัว น า
อลูมิเนี ยมมากกว่า ในช่วงหลายปี ที่ผ่านมามีการใช้สารประกอบช่วยสัมผัสหลายชนิ ดเพื่อรับรอง
ประสิ ทธิภาพการเชื่อมต่ออลูมิเนียมและทองแดง ถึงแม้ว่าสารประกอบดังกล่าวจานวนมากจะมีวาง
จาหน่ ายทัว่ ไป แต่ขอ้ มูลที่เผยแพร่ น้อยมากที่ เกี่ยวข้องกับประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ภาพภายใต้
เงื่อนไขตามสภาพแวดล้อมที่ไปใช้งานนั้นยังไม่มีขอ้ มูลที่ชดั เจน
สารประกอบช่วยสัมผัสที่ใช้กนั ทัว่ ไปสาหรับการเชื่ อมต่ออะลูมิเนี ยมอะลูมิเนี ยมและ
อะลูมิเนียมกับทองแดงถูกประเมินโดย Braunovic บนพื้นฐานของผลกระทบต่อประสิ ทธิ ภาพการ
ทางานและความมัน่ คงของการเชื่ อมต่อแบบขันโบลท์ โดยมี เงื่ อนไขการประเมิน กระบวนการ
เกี่ยวกับกระแส ความเครี ยด ความสัมพันธ์ระหว่างแรงขัน ความเสถียรต่อการเสื่ อมสภาพของความ
ร้อน ความสามารถในการป้ องกันผิวสัมผัสจากการกัดกร่ อนในสภาพแวดล้อมที่เป็ นมลพิษและ
อุตสาหกรรมให้การประเมินโดยรวมของสารประกอบช่วยสัมผัสต่าง ๆ และวิธีการเปรี ยบเที ยบเชิง
ปริ ม าณ ดัช นี หมายถึ ง ค่ า เฉลี่ ย ของค่ า ตัว เลขที่ ก าหนดให้กับ ประสิ ท ธิ ภ าพของข้อ ต่ อ ภายใต้
ห้องปฏิบตั ิการและสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ยิง่ หมายเลข ดัชนี ต่าลงเท่าใดสารช่วยในการติดต่อ
ที่มีประสิ ทธิภาพมากขึ้น

ตารางที่ 2.10 เปรี ยบเทียบคอมปาวด์ชนิดต่าง


อลูมิเนียม-อลูมิเนียม อลูมิเนียม–ทองแดง
CONTACT-AID INDEX CONTACT-AID INDEX
COMPOUND COMPOUND
27

Penetrox A-13 0.7 Nikkei S-200 0.7


Silicon Vacuum Grease 0.7 Koprshield CP-8 1.0
Penetrox A 0.8 Penetrox A-13 1.0
Aluma Shield 1.2 Pefco 1.0
Fargolene GF-138 1.2 No-Oxid-A 1.3
Fargolene GF-158 1.2 Fargolene GF-158 1.4
Contactal HPG 1.3 Silicone Vacuum Grease 1.5
Petroleum Jelly 1.3 Non-lubricated 1.6
ZLN 100 1.5 Contactal HPG 1.8
Alcan Jointing 1.8 Petroleum Jelly 1.9
Compound
2.5
AMP Inhibitor
2.5
Kearnalex
2.6
Non-lubricated

ผลการศึกษาพบว่าสารประกอบช่วยสัมผัสมีผลกระทบอย่างมาก แต่แตกต่างกันต่อประสิ ทธิ ภาพ


ของการเชื่ อมต่ออลูมิเนี ยมกับ อลูมิ เนี ย มและอลูมิเนี ยมกับทองแดงภายใต้ส ภาพการทางานและ
สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน แสดงให้เห็นว่าสารประกอบที่มีการต้านทานการสัมผัสเริ่ มต้นต่าและมี
ประสิ ทธิ ภาพ INDEX <1.0 ช่วยเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการทางานที่มนั่ คงของการเชื่อมต่อเหล่านี้ แม้ว่า
คาอธิ บายโดยละเอียดของความแตกต่างที่สังเกตได้ในผลกระทบที่ว่าสารประกอบเหล่านี้ มีผลต่อ
เสถียรภาพของข้อต่อเหล่านี้ค่อนข้างยากที่จะมองเห็นคาอธิบาย
28

ความเป็ นไปได้ประการหนึ่ งคือความต้านทานแรงเฉื อนของสารประกอบช่วยสัมผัสมี


ค่าที่ไม่เท่ากัน จึงทาให้ใช้แรงในการขัน ไม่เท่ากัน บางชนิ ดจะใช้แรงมากกว่าแรงที่ใช้ในการขัน
แบบปกติ ดังนั้นการใช้แรงขันที่ไม่เหมาะสมจะทาให้เกิดเป็ น ฟิ ล์มคอมโพสิ ตได้
คาอธิ บายที่เป็ นไปได้อีกประการหนึ่ งก็คือมีการผสมของโลหะและ / หรื ออนุ ภาคที่
ไม่ ใ ช่ โลหะผสมอยู่ในสารประกอบเพื่ อปรั บปรุ งความสามารถในการตัด ฟิ ล์ม ออกไซด์บ นพื้น
ผิวสัมผัส ที่มีความแตกต่างกัน
ในทางกลับกันผลลัพธ์มีความสอดคล้องเพียงพอที่จะสรุ ปได้ว่าสารประกอบช่วยสัมผัส
บางชนิ ด ที่ ใ ช้กัน ทั่ว ไปส าหรั บ การเชื่ อ มต่ อ อลู มิ เ นี ย มกับ อลู มิ เ นี ย มสามารถใช้ส าหรั บ ข้อ ต่ อ
อลู มิ เ นี ย มกับ ทองแดงได้จ ากผลลัพ ธ์ ไ ด้ว่า สารช่ ว ยสั มผั ส ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ INDEX <1.0 เช่ น
Penetrox A-13 และ Nikkei สามารถนามาใช้การเชื่อมต่อทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับอลูมิเนียม
จากการทดสอบของ Braunovic การจัดอันดับของสารประกอบช่วยสัมผัสถูกกาหนด
ภายใต้ส ภาวะห้องปฏิ บ ัติก ารควบคุ ม โดยใช้อุป กรณ์ ใ นห้ องปฏิ บ ัติก าร ดัง นั้นความส าคัญ ของ
ผลกระทบที่แตกต่างที่กระทาต่อสารประกอบช่วยสัมผัสต่อคุณสมบัติของการเชื่ อมต่ออลูมิเนี ยม
และทองแดงภายใต้ส ภาพการท างานและสภาพแวดล้อ มที่ แ ตกต่ า งกัน ยัง ไม่ ส ามารถระบุ ไ ด้
เนื่ อ งจากยัง มี ตัว แปรอื่ น ๆ เช่ น น้ า , ทราย,ความสกปรก, ฝุ่ น, ฝนกรด,อุ ณ หภู มิ , มลภาวะ และ
ประสิ ทธิ ภาพของสารประกอบช่วยสัมผัสเมื่อมีระยะเวลาผ่านไปมีประสิ ทธิ ภาพลดลงมากน้อย
เพียงใด ฯลฯ ซึ่งเป็ นตัวแปรที่สาคัญมาก
2.6.4 กำรป้องกันโลหะจำกออกซิเจนด้วยกำรเชื่ อม ( Thermite (Exothermic)
Welding )[6]
การเชื่อมเป็ นวิธีที่น่าพอใจอย่างมากสาหรับการเชื่อมต่อในตัวนาอลูมิเนียมและทองแดง
ทุกประเภท เป็ นการเชื่อมต่อไฟฟ้าที่มีประสิ ทธิภาพสูงซึ่งเป็ นแบบถาวรประหยัดมีรูปลักษณ์ที่ดีและ
เหมาะสมอย่างยิ่งสาหรับการเชื่ อมต่อของโละที่ต่างชนิ ดกัน จุดเชื่ อมต่อนี้ ได้อย่างถูกเป็ นที่เชื่อถือ
ได้มากที่สุดจากมุมมองทางไฟฟ้าเนื่ องจากมีการรวมตัวที่เป็ นเนื้ อเดียวกันโดยไม่มีการต้านทานการ
สั ม ผัส เพื่ อ สร้ า งความร้ อ นจากกระแสสู ง มี ก ระบวนการเชื่ อ มจ านวนมากที่ ส ามารถใช้เ ชื่ อ ม
อลูมิเนียมและทองแดงได้ แต่จะอธิบายเฉพาะกระบวนการเชื่อมที่ใช้กนั ทัว่ ไป คือ
การเชื่ อมด้วยความร้ อนเป็ นกระบวนการเชื่ อมฟิ วชั่นซึ่ ง โลหะสองก้อนจะถู ก เชื่ อ ม
หลังจากการให้ความร้อนด้วยโลหะที่มีความร้อนยวดยิ่งซึ่ งผ่านปฏิกิริยา อะลูมิโนเทอร์ มิก โลหะ
เหลวที่เป็ นผลมาจากปฏิกิริยาระหว่างโลหะออกไซด์และอลูมิเนียมทาหน้าที่เป็ นโลหะตัวเติมและ
29

ไหลรอบ ๆ ตัวนาที่ทาให้เกิดการเชื่อมโมเลกุล ปฏิกิริยาอะลูมิโนเทอร์ มิกที่เกิดขึ้นในการเชื่อมของ


ตัวนาทองแดงคือ
3 Cu2O + 2Al = 6Cu + Al 2 O3 + Heat (1060 kJ)

การเชื่ อ มด้ ว ยความร้ อ นถู ก น ามาใช้ อ ย่ า งกว้า งขวาง ข้อ ดี ข องกระบวนการนี้ คื อ


ความสามารถในการรับกระแสไฟฟ้าที่ยอดเยี่ยม และความต้านทานการกัดกร่ อนที่ดีเยีย่ มและความ
แข็งแรงเชิงกลพลังงานที่ใช้ในการเชื่อมต่อแบบนี้จะมีค่ามาก และทาให้เกิดอุณหภูมิที่สูงมาก
*หมายเหตุ การเปลี่ ยนหน่ วย 1 จู ล คือจานวนพลังงานที่ ใช้ในการทางาน เมื่ อวัตถุที่มีน้ าหนัก 1
กิโลกรัม เคลื่อนที่เป็ นระยะทาง 1 เมตรต้องใช้แรงเท่ากับ 1 นิวตัน หรื อความร้อนที่เกิดขึ้นจากการที่
กระแสไฟฟ้า 1 แอมแปร์ วิ่งผ่านความต้านทาน 1 โอห์ม ในเวลา 1 วินาที
ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานที่มีหน่วยเป็ นจูลและแคลอรี มีดงั นี้
1 แคลอรี = 4.184 จูล
1 กิโลแคลอรี = 4,184 จูล = 4.184 กิโลจูล
1,000 กิโลแคลอรี = 4,184,000 จูล = 4.184 เมกะจูล
1 กิโลแคลอรี (Kilocalorie, Kcal) คือจานวนความร้อนที่ทาให้น้ าจานวน 1 กิโลกรัม มี
อุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส
ดังนั้น การเปลี่ยนหน่วยจาก Kj เป็ น Kcal ที่ 1060 Kj = 253.17 Kcal ,
ฉะนั้น การเชื่อมความร้อน จะให้ความร้อนที่ 253.17 Kcal หรื อที่ 253 oC
2.6.5 กำรป้องกันกำรกัดกร่ อนด้วยกำรเคลือบหำงปลำ[6]
การเคลือบอลูมิเนียมหรื อทองแดงด้วยโลหะที่แตกต่างกันเป็ นวิธีการเชิงพาณิ ชย์ทวั่ ไปที่
ใช้เพื่อปรับปรุ งเสถียรภาพและป้ องกันการกัดกร่ อนแบบกัลวานิ กของการเชื่ อมต่ออลูมิเนี ยมกับ
ทองแดง วัสดุเคลือบผิวที่ใช้กนั อย่างแพร่ หลาย ได้แก่ ดีบุก, เงิน, ทองแดง, แคดเมียมและนิกเกิล แต่
มี ก ารศึ ก ษาเปรี ยบเที ย บน้อยมาก เกี่ ย วกับ ประสิ ทธิ ภาพของสารเคลื อบเหล่า นี้ ใ นการรั กษาการ
ทางานของการเชื่อมต่ออลูมิเนียมกับทองแดงอย่างต่อเนื่องภายใต้สภาพการทาที่แตกต่างกัน
- เคลือบหางปลาทองแดงด้วยดีบุกและหางปลาอลูมิเนียมด้วยนิกเกิล [7] จากการค้นหา
ข้ อ มู ล ซึ่ ง เ ป็ น ไ ป ต า ม ม า ต ร ฐ า น ANSI C1 1 9 . 4 - 1 9 9 1 ( STANDARD FOR ELECTRIC
CONDUCTORS – CONNECTORS FOR USE BETWEEN ALUMINUM – TO – ALUMINUM
OF ALUMINUM – TO – COPPER BARE OVERHEAD CONDUCTORS ) ได้ขอ้ มูลว่าเราสามารถ
30

แก้ปัญหาการเชื่อมต่อกันของ อลูมิเนียม กับ ทองแดง ได้ โดยการนาอลูมิเนียมเคลือบด้วย นิกเกิล


และทองแดงเคลือบด้วยดีบุก

ภาพที่ 2.16 หางปลาทองแดงเคลือบดีบุก


ดีบุก (Tin:Sn) เป็ นโลหะในหมู่ IV4 ในตารางธาตุ และอยู่ระหว่างธาตุเจอมาเนียม และ
ตะกัว่ ดีบุกในรู ปบริ สุทธิ์ จะมีลกั ษณะเป็ นของแข็ง สี ขาวเงิน มีความอ่อนตัวสู ง มีจุดหลอมเหลวต่า
สามารถผสม และเกาะติดกับโลหะอื่นได้ดี จึงนิ ยมนาดีบุกมาเคลือบผิวหรื อผสมกับโลหะอื่นเพื่อ
เพิม่ ความแข็งแรง ทนต่อการกัดกร่ อน และป้องกันการเกิดสนิม เป็ นต้น

ตารางที่ 2.11 คุณสมบัติของดีบุก


สถานะ ของแข็ง
โครงสร้างผลึก tetragonal
เลขอะตอม 50
มวลอะตอม 118.71
การจัดเรี ยงอิเล็กตรอน [Kr] 4d10 5s2 5p2
มีจุดเดือด 2602 °C
จุดหลอมเหลว 231.93 °C
ความจุความร้อนจาเพาะ 27.112 J/(mol·K)
31

ความร้อนในการหลอมละลาย (ที่ 20 ºC) (white) 7.03 กิโลจูล/โมล


ความต้านทานไฟฟ้า (ที่ 0 ºC) 115 nΩ·m
ความหนาแน่น (20 ºC) (white) 7.265 ก./ซม.³

ข้อดีของการเคลือบดีบุก
1. มีความต้านทานการกัดกร่ อน และไม่เป็ นสนิม
2. มีจุดหลอมเหลวต่า
3. ต้านทานการเสี ยดสี (friction)
4. เพิ่มความแข็งแกร่ งเมื่อผสมกับโลหะอื่น
5. จับผิวโลหะต่างๆได้ดี จึงนิยมใช้เคลือบโลหะ
นิกเกิล (Ni) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 28 และสัญลักษณ์คือ Ni อยูใ่ นตารางธาตุหมู่ 28
นิกเกิลเป็ นโลหะที่มีความมันวาวสี ขาวเงิน อยูก่ ลุ่มเดียวกับเหล็ก มีความแข็ง ตีเป็ นแผ่นได้

ภาพที่ 2.17 หางปลาอลูมิเนียมเคลือบด้วยนิคเกิล

ตารางที่ 2.12 คุณสมบัติของนิกเกิล


สถานะ ของแข็ง
โครงสร้างผลึก สี เหลี่ยมลูกบาศก์

เลขอะตอม 28
32

มวลอะตอม 58.6934 กรัม/โมล


การจัดเรี ยงอิเล็กตรอน [Ar] 3d8 4s2
มีจุดเดือด 2913 °C
จุดหลอมเหลว 1455 °C
ความจุความร้อนจาเพาะ (25 °C) 26.07 J/(mol·K)
ความร้อนในการหลอมละลาย (ที่ 20 ºC) 17.48 กิโลจูล/โมล
ความต้านทานไฟฟ้า (ที่ 20 ºC) 69.3 nΩ·m
ความหนาแน่น (20 ºC) 8.908 ก./ซม.³

ข้อดีของการเคลือบนิกเกิล
1.ป้องกันการกัดกร่ อนและการเกิดสนิม
2.ผิวงานไม่มีไฟฟ้าสถิต
- เคลือบหางปลาทองแดงด้วยนิกเกิลและหางปลาอลูมิเนียมด้วยนิกเกิล[6]การศึกษาเมื่อ
เร็ ว ๆ นี้ แสดงให้ เ ห็ น อย่ า งชัด เจนว่ า การเชื่ อ มต่ อ ที่ เ คลื อ บด้ ว ยนิ ก เกิ ล นั้ น เหนื อ กว่ า ในด้า น
ประสิ ทธิ ภาพของวัสดุการชุบอื่น ๆ ซึ่ งแสดงออกมาจากค่าความต้านทานหน้าสัมผัสที่ ดีภายใต้
เงื่อนไขการทดลองที่มีแบบจาลอง จากข้อมูลที่มีอยูน่ ิกเกิลดูเหมือนจะเป็ นวัสดุเคลือบผิวที่ใช้งานได้
จริ งมากที่สุดจากมุมมองทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการปรับปรุ งคุณสมบัติทางโลหะและที่สาคัญคือ
การเชื่อมต่อระหว่างอลูมิเนียมกับทองแดง ความเหนือกว่าของนิกเกิลต่อวัสดุเคลือบอื่น ๆ ได้รับการ
ยืนยันเมื่อเร็ ว ๆ นี้โดยการทดสอบในปัจจุบนั เกี่ยวกับบัสบาร์ทองแดงแบบดีบุก เงิน และชุบนิกเกิล
การเคลือบนิเกิลบนการเชื่อมต่อทองแดงมีเสถียรภาพที่ดีเยีย่ มและความต้านทานหน้าสัมผัสเริ่ มต้นมี
ค่ า ต่ า ประสิ ท ธิ ภาพที่ไ ม่ดีข องการเชื่ อมต่อ ของการเคลือบด้วยดี บุก และเงิน เกิดจากผลของการ
ขยายตัวทางความร้อนที่แตกต่างกันระหว่างพื้นผิวของอลูมิเนี ยมและทองแดงที่ส่งเสริ มการสู ญเสี ย
จุดสัมผัสอย่างต่อเนื่อง แสดงให้เห็นว่าความไม่เสถียรของการเชื่อมต่ออลูมิเนียมสามารถลดลงอย่าง
มีนยั สาคัญโดยเทคโนโลยีที่พฒั นาขึ้นใหม่ของการชุบนิ กเกิลโดยตรง ผลของการทดสอบการวงจร
กระแสรุ นแรงแสดงให้เห็นถึงเสถียรภาพที่ยอดเยีย่ มของความต้านทานหน้าสัมผัสของอลูมิเนียมชุบ
33

นิกเกิล อย่างไรก็ตามการศึกษา ได้แสดงให้เห็นว่าแม้ว่าตัวนาอลูมิเนียมที่เคลือบด้วยนิกเกิลภายใต้


สภาพการทางานและสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันมี ความสามารถในการเชื่ อมต่อที่ ดีกว่าตัวนา
อลูมิเนียมที่ไม่เคลือบผิว

ตารางที่ 2.13 เปรี ยบเทียบการเชื่อมต่อของการเคลือบแบบต่างๆ


CONTACT PAIRS INDEX
Aluminum (Nickel-plated) - Copper (Nickel-plated) 0.7
Aluminum (Copper-plated) - Copper (Bare) 1.0
Aluminum (Bare) - Copper (Nickel-plated) 1.3
Aluminum (Bare) - Copper (Silver-plated) 2.0
Aluminum (Bare) - Copper (Bare) 2.4
Aluminum (Bare) - Copper (Tin-plated) 2.7

จากการประเมิ น เปรี ยบเที ย บการเชื่ อ มต่ อ ของการเคลื อ บแบบต่ า งๆ โดยอาศัย


ประสิ ทธิ ภาพของข้อต่อที่เคลือบภายใต้วงจรกระแสและในสภาวะที่ไม่มนั่ คงและความสามารถใน
การป้ องกันการกัดกร่ อนจากน้ าเค็มและอุตสาหกรรม สภาพแวดล้อมที่ มีมลพิษ ให้การประเมิ น
โดยรวมของการเคลือบแบบต่าง ๆ อยู่ภายใต้ห้องปฏิบตั ิการที่แตกต่างกัน และสภาพแวดล้อมที่
แตกต่างกัน (มลพิษทางน้ าเกลือและอุตสาหกรรม) ยิ่งหมายเลข INDEX ยิ่งต่าวัสดุการเคลือบก็จะมี
ประสิ ทธิภาพมากขึ้น
2.6.6 เพิม่ พื้นที่หน้ ำสัมผัส[6]
ขนาดของพื้นที่สัมผัสถูกกาหนดโดยทัว่ ไป ด้วยความแข็งของวัสดุที่เชื่ อมต่อ แรงที่ใช้
ถู ก ต้องตามมาตรฐานก าหนดและค านึ ง ถึ ง ขนาดของกระแส พื้ นที่ หน้า สั ม ผัส ควรมี ข นาดใหญ่
พอที่จะป้ องกันไม่ให้อุณหภูมิจุดเชื่ อมต่อเพิ่มขึ้นภายใต้สภาวะปกติ และในกรณี ฉุกเฉิ น การขัดถู
เชิงกล (การขัด) เป็ นวิธีที่ง่ายและมีประสิ ทธิภาพมากที่สุด เพื่อป้องกันการเกิดปฏิกิริ ยาออกซิ เดชัน่
ของโลหะที่สัมผัส ควรทาการขัดพื้นผิวสัมผัส การเตรี ยมพื้นผิวหน้าสัมผัสของตัวเชื่อมต่อเป็ นวิธีที่
34

มีประสิ ทธิ ภาพมากและเป็ นที่ตอ้ งการมากที่สุดเมื่อประกบตัวนาเพราะมันช่วยให้แน่ ใจว่ามี พ้ื นที่


ผิวสัมผัสที่สะอาดและทาให้มีพ้นื ที่ผิวสัมผัสมากขึ้นระหว่างจุดเชื่อมต่อเป็ นที่ยอมรับกันแล้วว่าการ
ขัดวิธีที่ง่ายที่สุดและมีประสิ ทธิภาพที่สุดในการเพิ่มและบารุ งรักษาพื้นที่สัมผัส พื้นผิวสัมผัสที่เสร็ จ
สิ้ นด้วยการขัดหยาบได้จะมี ความต้านทานการสัมผัสที่ ลดลงอย่างเห็ นได้ชัด โดยความต้านทาน
เปรี ยบเทียบกับพื้นที่หน้าสัมผัสได้สมการดังนี้
L
R=
A
35

บทที่ 3
วิธีกำรดำเนินกำรโครงงำน

3.1 วิธีดำเนินกำรทดลอง

การศึกษาครั้งนี้ เป็ นการทดลองการเชื่อมต่อหางปลาทองแดงกับหางปลาอลูมิเนี ยมโดย


ใช้นัท และโบลท์เบอร์ 21 ด้วยวิธี ก ารขันอัด ทอร์ ค ตามค่า มาตรฐานของการไฟฟ้ าส่ ว นภู มิ ภ าค
เนื่องจากเกิดปัญหาระหว่างหน้าสัมผัสของวัสดุ จึงได้ทดลองวิธีป้องกันและลดการเกิดปัญหาให้ได้
น้อ ยที่ สุ ด โดยเลื อ กใช้วิ ธี ก ารป้ อ งกัน จากสภาวะแวดล้อ ม ( ความชื้ น อากาศ น้ า ) และ น ามา
เปรี ยบเทียบกับวิธีการที่ใช้อยู่ในปั จจุบนั โดยการทดลองนี้ ติดตั้งอยูใ่ นสถานที่เกิดปั ญหาจริ งแต่ไม่มี
การจ่ายกระแสไฟ
3.1.1 กำรทดลองแบ่ งเป็ น 3 ลักษณะดังนี้
- การเชื่อมต่อหางปลาทองแดงกับหางปลาอลูมิเนียมแบบไม่มีการป้องกันจากสภาวะ
แวดล้อม(แบบที่ใช้ในปัจจุบนั )
- การเชื่อมต่อหางปลาทองแดงกับหางปลาอลูมิเนียมแบบมีการป้องกันจากสภาวะ
แวดล้อมโดยวิธีการพันเทป ( ตามมาตรฐานของ กฟภ. )
- การเชื่อมต่อหางปลาทองแดงกับหางปลาอลูมิเนียมแบบมีการป้องกันจากสภาวะ
แวดล้อมโดยวิธีการใช้ท่อหดความร้อน

3.2 แผนดำเนินงำน และระยะเวลำในกำรทดลอง

3.2.1 เตรี ยมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลองให้พร้อม และสถานที่ติดตั้งของการทดลอง


3.2.2 การทดลองเริ่ มวันที่ 11 ธันวาคม 2561
3.2.3 ระยะเวลาในการทดลอง 120 วัน

3.3 สถำนที่กำรทดลอง

ดาเนิ นงาน ณ สถานี ไฟฟ้ าเพชรบุรี 2 ต้นเสาที่ ใช้ติดตั้งการทดลอง PBA4S-02 ห่ างจาก


ทะเลประมาณ 2 กิโลเมตร ตาบลหาดเจ้าสาราญ อาเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี
36

3.4 อุปกรณ์ ในกำรทดลอง

1.หางปลาทองแดงและหางปลาอลูมิเนียม จานวน 3 ชุด


2.นัทและโบลท์ เบอร์ 21 จานวน 6 ชุด
3.แหวนแบน จานวน 12 อัน และแหวนสปริ ง จานวน 6 อัน
4.ประแจแหวน เบอร์ 21 จานวน 1 อัน
5.ประแจขันทอร์ค จานวน 1 อัน และลูกบล็อกเบอร์ 21 จานวน 1 อัน
6.ท่อหดความร้อน ( ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้า RAYCHEM )
7.เทปพันสาย ( ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้า 3M เบอร์ 13 , 23 , 33+ , 2228 )
8.แปรงทองเหลืองและแปรงขัดลวดเหล็ก
9.เครื่ องวัดความต้านทานหน้าสัมผัส

3.5 วิธีกำรเชื่ อมต่ อหำงปลำและวัสดุป้องกัน

อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง

ภาพที่ 3.1 อุปกรณ์ที่ใช้ในการทาการทดลอง


3.5.1 วิธีการเชื่อมต่อหางปลาทองแดงกับหางปลาอลูมิเนียม
1.ทาความสะอาดหน้าสัมผัสด้วยแปรงขัดลวดเหล็ก
37

ภาพที่ 3.2 แปรงลวดเหล็กขัดหน้าสัมผัส


2.ทาความสะอาดด้วยแปรงขัดทองเหลือง

ภาพที่ 3.3 แปรงทองเหลืองขัดอีกครั้ง


38

3.ปรับตั้งค่าแรงขันทอร์คที่40 Ft-Pb (ตามมาตรฐานของ กฟภ.)

ภาพที่ 3.4 ค่าแรงที่ใช้ในการขันทอร์ค


4.ทาการประกอบหางปลาทองแดงเข้ากับหางปลาอลูมิเนียมโดยการร้อยโบลท์นทั เบอร์
21และทาการขันอัดทอร์คที่ 40 Ft-Pb (ตามมาตรฐานของ กฟภ.)

ภาพที่ 3.5 การประกบหางปลาและการขันทอร์ค


5.ประกอบเสร็ จเรี ยบร้อย
39

ภาพที่ 3.6 ลักษณะเมื่อประกอบเสร็จ


6.ทาการวัดเก็บค่าหน้าสัมผัสของแต่ละตัวอย่าง

ภาพที่ 3.7 การวัดด้วยเครื่ องวัดค่าความต้านทานหน้าสัมผัส


3.5.2 ในกรณีที่ 1 (กำรเชื่ อมต่ อหำงปลำทองแดงกับหำงปลำอลูมิเนียมแบบไม่ มีกำร
ป้ องกันจำกสภำวะแวดล้ อม (แบบที่ใช้ ในปัจจุบัน) )
1.ทาการประกอบหางปลาพร้อมวัดค่าหน้าสัมผัส
40

ภาพที่ 3.8 ลักษณะของหางปลาที่เชื่อมต่อ ที่ใช้ในปัจจุบนั


2.นาไปติดตั้งในสถานที่ทาการทดลอง

ภาพที่ 3.9 ลักษณะการติดตั้ง


3.5.3 ในกรณีที่2 กำรเชื่ อมต่ อหำงปลำทองแดงกับหำงปลำอลูมิเนียมแบบมีกำรป้ องกัน
จำกสภำวะแวดล้อมโดยวิธีกำรพันเทป ( ตำมมำตรฐำนของ กฟภ. )
1.ทาการประกอบหางปลาพร้อมวัดค่าหน้าสัมผัส
41

ภาพที่ 3.10 ลักษณะของหางปลาที่เชื่อมต่อ ก่อนนามาพันเทป


2.ทาการพันจุดเชื่อมต่อด้วยเทปพันละลาย เบอร์ 23( ตามมาตรฐานของ กฟภ. )

ภาพที่ 3.11 เทปพันสายไฟชนิดยางละลาย เบอร์ 23


3.ทาการพันด้วยเทปเบอร์ 13 , 33+ , 2228 ( ตามมาตรฐานของ กฟภ. )
42

ภาพที่ 3.12 เทปพันสายไฟไวนิล


4.เมื่อประกอบเสร็ จสิ้ น

ภาพที่ 3.13 ลักษณะของหางปลาเมื่อเสร็ จสมบูรณ์


5.นาไปติดตั้งในสถานที่ทาการทดลอง
43

ภาพที่ 3.14 ลักษณะการติดตั้ง


3.5.4 กำรเชื่ อมต่ อหำงปลำทองแดงกับหำงปลำอลูมิเนียมแบบมีกำรป้ องกันจำกสภำวะ
แวดล้อมโดยวิธีกำรใช้ ท่อหดควำมร้ อน
1.ทาการประกอบหางปลาพร้อมวัดค่าหน้าสัมผัส

ภาพที่ 3.15 ลักษณะของหางปลาที่เชื่อมต่อ ก่อนนามาป้ องกันจุดต่อด้วยท่อหด


2.ทาการหุม้ จุดเชื่อมต่อด้วยท่อหดความร้อน
44

ภาพที่ 3.16 ปื นความร้อนเป่ าท่อหอ


3.เมื่อทาการประกอบเสร็ จแล้วนาไปติดตั้งที่สถานที่ทดลอง

ภาพที่ 3.17 ลักษณะการติดตั้ง


3.5.5 นำตัวอย่ำงทั้ง 3 ไปติดตั้งบริเวณเดียวกัน
45

ภาพที่ 3.18 ลักษณะการติดตั้งของ 3 การทดลอง

3.6 กำรเก็บข้ อมูล

ทาการเก็บข้อมูลจากการทดลองในหัวข้อที่ 3.5.2 , 3.5.3 และ 3.5.4 โดยการเก็บข้อมูล


แบ่งออกเป็ น 3 ระยะ คือ ระยะที่1 ก่อนการติดตั้ง ระยะที่2 หลังทาการติดตั้ง 30 วัน และ ระยะที่3
หลังการติดตั้ง 120 วัน การเก็บข้อมูลโดยการเก็บค่าความต้านทานหน้าสัมผัส ด้วยการวัดใช้เครื่ อง
Digital Low Resistance Ohmmeter ( MEGGER DLRO 10 ) วัดตัวอย่างทั้ง 3
46

บทที่ 4
ผลกำรทดลองและวิเครำะห์ ผล

4.1 ผลกำรทดลอง

4.1.1 ครั้งที่ 1
ประกอบหางปลาตามที่ออกแบบการทดลองไว้แล้ววัดค่าความต้านทานหน้าสัมผัสก่อน
นาไปติดตั้งบริ เวณสถานีไฟฟ้าเพชรบุรี 2 วันที่ 11 ธันวาคม 2561

ตารางที่ 4.1 วัดค่าความต้านทานหน้าสัมผัส ก่อนทาการติดตั้ง


ลักษณะของจุดเชื่อมต่อ ความต้านทานหน้าสัมผัส (  )
แบบไม่มีการป้องกันจากสภาวะแวดล้อม 16.1 *
แบบมีการป้องกันจากสภาวะแวดล้อมโดย
16.5 *
วิธีการพันเทป
แบบมีการป้องกันจากสภาวะแวดล้อมโดย
15.9 *
วิธีการใช้ท่อหดความร้อน

4.1.2 ครั้งที่ 2
เก็บข้อมูลวันที่ 11 มกราคม 2562 ระยะเวลา 30 วัน

ตารางที่ 4.2 วัดค่ความต้านทานหน้าสัมผัสหลังติดตั้ง 30 วัน


ลักษณะของหางปลา ความต้านทานหน้าสัมผัส (  )
แบบไม่มีการป้องกันจากสภาวะแวดล้อม 46.2 *
แบบมีการป้องกันจากสภาวะแวดล้อมโดย
23.7 *
วิธีการพันเทป
47

แบบมีการป้องกันจากสภาวะแวดล้อมโดย
24.8 *
วิธีการใช้ท่อหดความร้อน

4.1.3 ครั้งที่ 3
เก็บข้อมูลวันที่ 11 เมษายน 2562 ระยะเวลา 120 วัน

ตารางที่ 4.3 วัดค่ความต้านทานหน้าสัมผัสหลังติดตั้ง 120 วัน


ลักษณะของหางปลา ความต้านทานหน้าสัมผัส (  )
แบบไม่มีการป้องกันจากสภาวะแวดล้อม 89.26*
แบบมีการป้องกันจากสภาวะแวดล้อมโดย
52.33*
วิธีการพันเทป

แบบมีการป้องกันจากสภาวะแวดล้อมโดย
30.4*
วิธีการใช้ท่อหดความร้อน

*ค่าเฉลี่ยความต้านทานหน้าสัมผัส ได้จากการวัดค่าความต้านทานหน้าสัมผัส 3 ครั้ง4.2 วิเคราะห์


ผลการทดลอง

จากกรทดลองเป็ นการทดลองป้ องกันการเกิดออกไซด์ที่จะเกิดขึ้นโดยการป้ องกันมิให้


โลหะสัมผัสกับอากาศโดยวิธีการพันเทปพันสายไฟ และการใช้ท่อหดความร้อน แล้วนาไปเปรี ยบ
กับวิธีการติดตั้งที่ใช้อยูใ่ นปัจจุบนั ซึ่งจากการทดลองจะเห็นได้วา่ ในการวัดค่าหน้าสัมผัสในครั้งแรก
ทั้ง 3 ตัวอย่างจะมีค่าที่ใกล้เคียงกัน คือ 16.1, 16.5 และ 15.9 
แล้วเมื่อหลังจากนาไปติดตั้งบริ เวณสถานีไฟฟ้าเพชรบุรี2 เป็ นเวลา 30 วัน นาลงมาวัดค่า
อิ ก ครั้ ง เราจะสั ง เกตได้ว่า ค่ า ความต้า นทานหน้า สัม ผัสทั้ง 3 ตัวอย่า งมี ค่ า ที่ สู ง ขึ้ นแต่ ในระดับที่
แตกต่างกัน ซึ่งในตัวอย่างที่ 2 ( แบบมีการป้องกันจากสภาวะแวดล้อมโดยวิธีการพันเทป ) จะมีค่า
เพิ่มขึ้นมาอยูท่ ี 23.7  ส่วนในตัวอย่างที่ 3 ( แบบมีการป้องกันจากสภาวะแวดล้อมโดยวิธีการใช้
ท่อหดความร้ อน ) จะมีค่าเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 24.8  ซึ่ งทั้ง 2 กรณี น้ ี ยงั มีค่าไม่เกิ นค่าที่กาหนดไว้
48

เปรี ยบเทียบกับวิธีการที่ใช้อยูใ่ นปัจจุบนั คือวิธีที่1 ( แบบไม่มีการป้องกันจากสภาวะแวดล้อม ) จะมี


ค่าเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 46.2  หรื อเพิ่มขึ้น 21.2  จากค่าที่กาหนดไว้ ( ค่าที่กาหนดไว้ไม่เกิน 25
 ) เป็ นซึ่งคิดเป็ น 84.8 เปอร์เซ็นต์

หลัง จากนั้นปล่ อยไว้ใ นสภาพเดิ ม จนครบ 120 วัน แล้วท าการวัดค่ า ความต้า นทาน
หน้าสัมผัสอิ กครั้ ง เราจะได้ค่าความต้า นทานหน้าสัม ผัสดัง นี้ กรณี ที่ 2 ( แบบมีการป้ องกันจาก
สภาวะแวดล้อมโดยวิธีการพันเทป ) จะมีค่าเพิม่ ขึ้นมาอยูท่ ี 52.33  หรื อเพิม่ ขึ้นมา 27.33  ซึ่ง
คิดเป็ น 109.32 เปอร์ เซ็นต์ เมื่อเทียบกับค่าความต้านทานหน้าสัมผัสในครั้งแรกที่ทาการติดตั้ง ใน
กรณี ที่ 3 ( แบบมีการป้ องกันจากสภาวะแวดล้อมโดยวิธีการใช้ท่อหดความร้อน ) จะมีค่าเพิ่มขึ้นมา
อยู่ที่ 30.4  หรื อ เพิ่มขึ้นมา 5.4  ซึ่งคิดเป็ น 21.6 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับค่าความต้านทาน
หน้าสัมผัสในครั้งแรกที่ทาการติดตั้ง โดยเมื่อเปรี ยบเทียบกับวิธีการที่ใช้อยู่ในปั จจุบนั คือวิธีที่ 1 (
แบบไม่มีการป้ องกันจากสภาวะแวดล้อม ) จะมี ค่าเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ 89.26  หรื อเพิ่มขึ้น 64.26
 ซึ่งคิดเป็ น 257.04 เปอร์เซ็นต์

เมื่อผ่านไป 120 วัน เทียบกับค่าความต้านทานหน้าสัมผัส กับค่าที่กาหนดไว้ จากการ


ทดลองเราจะเห็นได้ว่า ในกรณี ที่ 3 ( แบบมีการป้ องกันจากสภาวะแวดล้อมโดยวิธีการใช้ท่อหด
ความร้อน ) จะมีการเพิ่มขึ้นของค่าความต้านทานหน้าสัมผัสเมื่อเทียบกับค่าที่กาหนดมีค่ามากกว่า
5.4  หรื อคิดเป็ น 21.6 เปอร์ เซ็นต์ โดยกรณี ที่ 2 ( แบบมีการป้ องกันจากสภาวะแวดล้อมโดย
วิธีการพันเทป ) นั้น จะมีการเพิ่มขึ้นของค่าความต้านทานหน้าสัมผัสเมื่อเทียบกับค่าที่กาหนดมีค่า
มากกว่า 27.33  หรื อคิดเป็ น 109.32 เปอร์ เซ็นต์ ส่ วนในกรณี ที่ 1 ( แบบไม่มีการป้ องกันจาก
สภาวะแวดล้อม ) นั้นจะมีการเพิ่มขึ้นของค่าความต้านทานหน้าสัมผัสเมื่อเทียบกับค่าที่กาหนดมีค่า
มากกว่า 64.26  หรื อคิดเป็ น 257.04 เปอร์เซ็นต์ จากการทดลองเราจะเห็นได้ว่ากรณี ที่ 3 (แบบมี
การป้ องกันจากสภาวะแวดล้อ มโดยวิธี ก ารใช้ท่ อหดความร้ อ น) จะสามารถป้ องกันโลหะจาก
ออกซิ เจนได้ดีที่ สุ ด แต่ ก็ ย งั มี ค่ า ความต้า นทานหน้า สั ม ผัส ที่ เพิ่ ม ขึ้ นได้ ส่ วนหนึ่ ง อาจเกิ ด จากมี
ความชื้นหรื ออากาศบางส่ วนหลุดเข้าไปได้ หรื อ อาจเกิดจากตัววัสดุเองที่เกิดการกัดกร่ อนแบบกัล
วานิ ค ( เนื่ อ งจากเป็ นการต่ อ กัน ระหว่า งอลู มิ เ นี ย มกับ ทองแดง ) จึ ง ท าให้มี ค่ า ความต้า นทาน
หน้าสัมผัสที่เพิ่มขึ้น
49

บทที่5
สรุปอภิปรำยผลและข้ อเสนอแนะ

5.1 สรุปกำรดำเนินงำน

ในโครงงานนี้ ได้นาเสนอผลกระทบจากการเชื่ อมต่อกันของสายเคเบิลอากาศและสาย


เคเบิลใต้ดินและหาแนวทางในการไขปัญหา โดยใช้วิธีการศึกษาจากงานวิจยั และทาการทดลอง โดย
ในการทดลองได้นาปั จจัยปั ญหาที่ เกิดจากการเกิดออกไซด์ โดยออกไซค์เกิ ดขึ้นจากการที่ โลหะ
สัมผัสกับความชื้นหรื ออากาศ จึงได้ทาการทดลองป้องกันไม่ให้โลหะสัมผัสกับความชื้นและอากาศ
โดยการใช้วสั ดุมาป้ องกันจุ ดต่อจากภายนอก ซึ่ งได้แบ่งการทดลองเป็ น 3 กรณี คือ 1. ไม่มีการ
ป้ องกันซึ่ งเป็ นวิธีที่ใช้ในปั จจุบนั 2. ป้ องกันอากาศและความชื้ นด้วยการพันเทปพันสายไฟซึ่ งพัน
ตามมาตรฐานของ กฟภ. 3.ป้ องกันอากาศและความชื้นด้วยท่อหดความร้อน โดยได้ทาการทดลอง
ในสภาวะจริ งในบริ เวณที่เกิดผลกระทบจากการเชื่อมต่อกันของสายเคเบิลอากาศและสายเคเบิลใต้
ดินอย่างรุ นแรง โดยได้ทาการทดลองทั้งสิ้ น 120 วัน แล้วทาการวัดค่าความต้านทานหน้าสัมผัส ใน
วันที่ 30 และ 120 ของการทดลอง เพื่อนาค่าที่ได้มาวิเคราะห์

5.2 สรุปผลโครงงำน

จากผลการทดลอง เมื่อนาค่าความต้านทานหน้าสัมผัสมาวิเคราะห์ สามารถสรุ ปได้วา่ การ


ป้ องกันอากาศและความชื้นด้วยท่อหดความร้อนได้ผลดีที่สุดคือมีค่าความต้านทานหน้าสัมผัสเกิ น
กว่าค่าที่ กฟภ.กาหนด ( 25 ) คิดเป็ น 21.6 เปอร์ เซ็นต์ เมื่อเปรี ยบเทียบกับวันแรกที่ทาการติดตั้ง
ในลาดับต่อมาคือการป้ องกันอากาศและความชื้ นด้วยพันเทปพันสายไฟซึ่ งพันตามมาตรฐานของ
กฟภ. โดยมี ค่ า ความต้า นทานหน้าสัม ผัส เกิ น กว่า ค่า ที่ กฟภ.ก าหนด ( 25 ) คิ ด เป็ น109.33
เปอร์เซ็นต์ซ่ ึ งเมื่อเปรี ยบเทียบกับการติดตั้งที่ไม่มีการป้ องกันซึ่งเป็ นวิธีที่ใช้ในปั จจุบนั ซึ่งมีค่าความ
ต้านทานหน้าสัมผัสเกินกว่าค่าที่ กฟภ.กาหนด ( 25 ) คิดเป็ น 257.04 เปอร์เซ็นต์
ข้อสัง เกตอย่า งหนึ่ ง ที่ ไ ด้จากการทดลองคือ ถึ งแม้ว่าเราจะทาการป้ องกัน อากาศและ
ความชื้นแล้วแต่เราก็ยงั เห็นว่าก็ยงั คงมีความต้านทานหน้าสัมผัสเพิ่มขึ้น ซึ่งในกรณี น้ ีอาจเกิดขึ้นจาก
มีอากาศหรื อความชื้นบางส่ วนเข้าไปได้ หรื อเกิดจากจากตัววัสดุเองซึ่ งเกิดจากการกัดกร่ อนแบบกัล
วานิค
50

5.3 อภิปรำยผล

ประโยชน์โดยตรงที่ได้รับจากโครงงานนี้ คือ ผูท้ ี่ปฏิบตั ิงาน หรื อ ออกแบบเกี่ยวกับการ


เชื่อมต่อกันของสายเคเบิลอากาศและสายเคเบิลใต้ดิน สามารถนาผลการทดลองและแนวคิดที่ได้ไป
ประยุ ก ต์ใ ช้เ พื่ อ ปรั บ ปรุ ง จุ ด ต่ อ เชื่ อ มต่ อ กัน ของสายเคเบิ ล อากาศและสายเคเบิ ล ใต้ดิ น ให้ มี
ประสิ ทธิภาพมากขึ้น และ ลดปัญหาที่เกิดขึ้นได้

5.4 ข้อเสนอแนะเพื่อดำเนินกำรและศึกษำครั้งต่อไป

ตามที่ ไ ด้ก ล่า วไว้ข ้า งต้นว่า การทดลองที่ ก าหนดได้พิ จารณาจากปั จจัย เดี ย วคื อ การ
ป้ องกันการเกิดออกไซค์โดยการป้ องกันไม่ให้โลหะ(อลูมิเนี ยม , ทองแดง) สัมผัสกับความชื้นและ
อากาศ ซึ่งเป็ นวิธีการที่ใช้ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า หรื อในกรณี ที่ยงั ไม่ได้เกิดปั ญหาที่บริ เวณนั้น
เพื่อเป็ นการชะลอให้จุดต่อบริ เวณนั้นสามารถใช้ได้ยาวนานกว่าที่ติดตั้งในปั จจุบนั ซึ่ งหากต้องการ
แก้ปัญหาระยะยาวหรื อหากจุดเชื่อมต่อบริ เวณนั้นเกิดปั ญหาขึ้นแล้วต้องการแก้ไขให้มีผลที่ดีกว่านี้
จากการศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม มาตรฐาน ANSI C119.4-1991 (STANDARD FOR ELECTRIC
CONDUCTORS – CONNECTORS FOR USE BETWEEN ALUMINUM – TO – ALUMINUM
OF ALUMINUM – TO – COPPER BARE OVERHEAD CONDUCTORS ) ได้มีการนาเสนอแนว
ทางแก้ไขไว้คือ ทาการเคลือบ(ชุบ)อลูมิเนียมด้วยนิคเกิล และ ทาการเคลือบ(ชุบ)ทองแดงด้วยดีบุก
ซึ่งเป็ นการป้องกันการกัดกร่ อนและการกัดกร่ อนแบบกัลวานิค ซึ่งจากการศึกษาการกัดกร่ อนแบบ
กัลวานิค เมื่อเรานาค่าจากข้อมูลที่ได้ หน้าสัมผัสของหางปลาอลูมิเนียมที่เคลือบนิคเกิลกับหางปลา
ทองแดงเคลือบด้วยดีบุก จะทาให้เกิดปฎิกิริยาของค่าความต่างศักย์นอ้ ยลงดัง
สมการดังนี้
Ni(s) + Sn 2+ = Ni 2+ + Sn(s)

E 0 cell = E 0 cathode - E 0 anode


E 0 cell = 0.15 - (-0.26) = 0.41 V

เมื่อนามาคิดเป็ นค่าที่ลดลงจากเดิมที่มีค่าเท่ากับ 2 โวลท์ ( Al+Cu) ลดลงเหลือ 0.41 โวลท์


ลดลงคิดเป็ น 79.5 เปอร์เซ็นต์
51

แต่จากการศึกษาเมื่อเร็ ว ๆ นี้ แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าการเชื่อมต่อที่เคลือบด้วยนิ กเกิล


นั้นเหนือกว่าในด้านประสิ ทธิภาพของวัสดุการชุบอื่น ๆ ซึ่งแสดงออกมาจากพฤติกรรมการต้านทาน
การสัมผัสที่เสถียรภายใต้เงื่อนไขการให้บริ การแบบจาลอง จากข้อมูลที่มีอยู่นิกเกิลดูเหมือนจะเป็ น
วัสดุเคลือบผิวที่ใช้งานได้จริ งมากที่สุดจากมุมมองทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการปรับปรุ งคุณสมบัติ
ทางโลหะและการติดต่อที่สาคัญของการเชื่อมต่ออลูมิเนียมกับทองแดง จึงได้มีผนู ้ าเสนอแนวคิดที่
จะนาทองแดงมาเคลือบ(ชุบ)นิกเกิล เพื่อจะทาการเชื่อมต่อกับอลูมิเนียมที่เคลือบ(ชุบ)นิกเกิลอยู่แล้ว
เพือ่ เป็ นการลดการกัดกร่ อนและการกัดกร่ อนแบบกัลวานิค
ในโครงงานครั้งนี้ ไม่ได้เจาะลึกในทั้งสองประเด็นนี้ เป็ นเพียงข้อมูลที่สืบค้นมาเพื่อเป็ น
แนวทางในการแก้ปัญหาระยะยาว และศึกษาครั้งต่อไป
52

เอกสำรอ้ำงอิง
[1] ลือชัย ทองนิล . การตรวจสอบและบารุ งรักษาระบบไฟฟ้าอย่างมืออาชีพ, เอกสารประกอบการ
บรรยาย, 2557.
[2] ณปภัช พิมพ์ดี . การกัดกร่ อนและการป้องกัน ; สถาบันส่งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี (สสวท.). 05 มิถุนายน 2560
[3] การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคคู่มือปฎิบตั ิงานด้านวิศวกรรม การทดสอบเพื่อการตรวจรับเคเบิลใต้ดิน
ไฟฟ้ากาลัง ระบบ 22 เควี, 33 เควี และ 115 เควี ณ โรงงานผูผ้ ลิต,2560
[4] การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค SPACED AERIAL CABLES RATED VOLTAGES OF 22 KV AND 33
KV, 13 November 2017
[5] ANSI/NEMA CC 1-2009 Electric Power Connection for Substations
1300 North 17th Street Rosslyn, Virginia 22209,2009
[6] M. Braunovic POWER CONNECTIONS MB Interface, Scientific Consultants
59 Ménard, St. Basile-le-Grand, Québec Canada, J3N 1J4,2559
[7] ANSI C119.4-1991 ,STANDARD FOR ELECTRIC CONDUCTORS – CONNECTORS FOR
USE BETWEEN ALUMINUM – TO – ALUMINUM OF ALUMINUM – TO – COPPER BARE
OVERHEAD CONDUCTORS ,1

รหัสโครงงาน 61EE107

วิเครำะห์ ปัญหำที่เกิดจำกกำรเชื่ อมต่ อสำยเคเบิลใต้ดินกับสำยเคเบิลอำกำศ

ANALYZE PROBLEMS CAUSED BY CONNECT UNDERGROUND


CABLE TO AERIAL CABLE

บทคัดย่อ (Abstract)
โครงงานนี้ ได้วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการเชื่ อมต่อสายเคเบิลใต้ดินกับสายเคเบิลอากาศ
เนื่องจากพบว่าจุดนี้ เกิดความเสี ยหายขึ้นบ่อยครั้งทั้งเล็กน้อยและรุ นแรง จากการศึกษาพบว่าสาเหตุ
ของการเกิดปั ญหาเหล่านี้ มีสาเหตุหลักด้วยกัน 2 ประการ คือ (1) เกิดการออกซิ เดชัน (2) เกิดจาก
การกัดกร่ อนแบบกัลวานิ ค จากการศึกษาทาให้ทางผูจ้ ดั ทาโครงงานตัดสิ นใจที่จะออกแบบและทา
การทดลองเพื่อป้ องกันปั ญหาการเกิดออกซิ เดชัน โดยการออกแบบเป็ นการป้ องกันโลหะไม่ให้
สัมผัสกับอากาศและความชื้ น โดยการออกแบบแบ่งออกเป็ น 3 กรณี คือ1.จุดเชื่ อมต่อที่ไม่มีการ
ป้ องกันอากาศ 2. จุ ดเชื่ อมต่อที่ มี ก ารป้ องกันอากาศด้วยการพันเทปพันสายไฟ 3. จุ ดเชื่ อมต่อ ที่
ป้องกันอากาศด้วยท่อหดความร้อน หลังจากนั้นนาตัวอย่างทั้ง 3 ไปติดตั้งไว้ในจุดที่กาหนดซึ่ งเป็ น
บริ เวณที่มีสภาพแวดล้อมที่เป็ นมลภาวะรุ นแรง หลังจากนั้นทาการวัดค่าความต้านทานหน้าสัมผัส
ได้ค่า 16.1,16.5และ15.9  ตามลาดับ และเมื่อผ่าน 120 วันทาการวัดค่าความต้านทานหน้าสัมผัส
อิกครั้งได้ค่า 89.6 ,52.33 และ 30.4  ตามลาดับ จากผลการทดสอบทาให้ทราบว่าการป้ องกัน
อากาศด้วยท่อหดความชื้นมีประสิ ทธิ ภาพดีที่สุด ทางคณะผูจ้ ดั ทาโครงงานจึงได้ตดั สิ นใจที่จะแก้ไข
ปัญหาการเกิดออกซิเดชันด้วยการใช้ท่อหดความร้อนเพื่อป้ องกันอากาศและความชื้น

กิตติกรรมประกำศ
การจัดการทาโครงงานนี้ สาเร็ จผลลุล่วงไปได้ดว้ ยความช่วยเหลืออย่างดียิ่งของ ผศ.ดร.
สาเริ ง ฮินท่าไม้ อาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน ที่ได้ให้หลักการทฤษฎีคาแนะนาตลอดจนข้อคิดเห็น
ต่างๆของโครงงานมาโดยตลอด ขอขอบคุณ นายสมศักดิ์ คะนา ผูอ้ านวยการกองบารุ งรักษาเขต 1
ภาคใต้ การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์สถานที่ทาการทดลอง และอุปกรณ์ในการ
ทดสอบจุดเชื่ อมสายเคเบิลใต้ดินและสายเคเบิลอากาศ และนายณรงค์เดช โพธิ์ มล วิศวกร กอง
ข้อกาหนดทางเทคนิค การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค ที่ได้เอื้อเฟื้ อข้อมูลสาหรับแนวทางการศึกษาโครงงาน
นี้ จึงใคร่ ขอขอบพระคุณทุกๆท่านเป็ นอย่างสู งอย่างสู งมา ณ ที่น้ ีดว้ ย

คณะผูจ้ ดั ทาโครงงาน
12 พฤษภาคม 2562

สำรบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญตาราง ง
สารบัญภาพ จ

บทที่ 1 บทนา 1
1.1 ความสาคัญของปัญหา 1
1.2 ทบทวนบทความวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 1
1.3 วัตถุประสงค์โครงงาน 2
1.4 ขอบเขตโครงงาน .2
1.5 ประโยชน์ของโครงงาน 2
1.6 โครงสร้างโครงงาน 3
บทที่2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง .4
2.1 ศึกษาโครงสร้างเสาที่มีการติดตั้งสายเคเบิลอากาศและสายเคเบิลใต้ดิน .4
2.2 ชนิดของหางปลา 9
2.3 ลักษณะการเชื่อมต่อหางปลาทองแดงกับหางปลาอลูมิเนียม . 13
2.4 ศึกษาปัญหาที่เกิดจากการเชื่อมต่อกันระหว่างสายเคเบิลอากาศกับเคเบิลใต้ดิน 16
2.5 ศึกษาผลที่เกิดจากเชื่อมต่อกันระหว่างสายเคเบิลอากาศกับเคเบิลใต้ดิน 20
2.6 ศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหา 21
บทที่ 3 วิธีการดาเนินโครงงาน 35

สำรบัญ(ต่ อ)
หน้า
3.1 วิธีดาเนินการทดลอง 35
3.2 แผนดาเนินงาน และระยะเวลาในการทดลอง 35
3.3 สถานที่การทดลอง 35
3.4 อุปกรณ์ในการทดลอง 36
3.5 วิธีการเชื่อมต่อหางปลาและวัสดุป้องกัน 36
3.6 การเก็บข้อมูล 45
บทที่ 4 ผลการทดลองและวิเคราะห์ผล 46
4.1 ผลการทดลอง 46
4.2 วิเคราะห์ผลการทดลอง 47
บทที่ 5 สรุ ปอภิปายผลและข้อเสนอแนะ 49
5.1 สรุ ปการดาเนินงาน 49
5.2 สรุ ปผลโครงงาน 49
5.3 อภิปรายผล 50
5.4 ข้อเสนอแนะเพื่อดาเนินการและศึกษาครั้งต่อไป 50
เอกสารอ้างอิง . 52

สำรบัญตำรำง
หน้า
ตารางที่ 2.1 คุณสมบัติทองแดง 9
ตารางที่ 2.2 ปฏิกิริยาของทองแดง 10
ตารางที่ 2.3 คุณสมบัติอลูมิเนียม 11
ตารางที่ 2.4 ปฏิกิริยาของอลูมิเนียม 12
ตารางที่ 2.5 ค่า Tightening Torque สาหรับ Bolted Connectors ชนิดต่างๆ[5] 15
ตารางที่ 2.6 ค่าความต้านทานและค่าสัมประสิ ทธิ์อุณหภูมิของความต้านทาน 20
ตารางที่ 2.7 อุปกรณ์ของการพันเทป 22
ตารางที่ 2.8 คุณสมบัติของเทป 23
ตารางที่ 2.9 คุณสมบัติท่อหดความร้อน 24
ตารางที่ 2.10 เปรี ยบเทียบคอมปาวด์ชนิดต่าง 26
ตารางที่ 2.11 คุณสมบัติของดีบุก 30
ตารางที่ 2.12 คุณสมบัติของนิกเกิล 31
ตารางที่ 2.13 เปรี ยบเทียบการเชื่อมต่อของการเคลือบแบบต่างๆ 33
ตารางที่ 4.1 วัดค่าความต้านทานหน้าสัมผัส ก่อนทาการติดตั้ง 46
ตารางที่ 4.2 วัดค่ความต้านทานหน้าสัมผัสหลังติดตั้ง 30 วัน 46
ตารางที่ 4.3 วัดค่ความต้านทานหน้าสัมผัสหลังติดตั้ง 120 วัน 47

สำรบัญภำพ
หน้า
ภาพที่ 2.1 เสาต้นขึ้นต้นหัวเคเบิลใต้ดิน 4
ภาพที่ 2.2 สายเคเบิลใต้ดิน 7
ภาพที่ 2.3 สายเคเบิลอากาศ 8
ภาพที่ 2.4 หางปลาทองแดง 9
ภาพที่ 2.5 หางปลาอลูมิเนียม 11
ภาพที่ 2.6 การเชื่อมต่อระหว่างหางปลาทองแดงกับหางปลาอลูมิเนียม 13
ภาพที่ 2.7 กราฟแสดงแรงกดที่ผิวสัมผัส 14
ภาพที่ 2.8 มาตรฐานการขันทอร์คของการไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค 16
ภาพที่ 2.9 การกัดกร่ อนที่เกิดขึ้น 16
ภาพที่ 2.10 ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน 18
ภาพที่ 2.11 ลักษณะของออกไซด์ทองแดง 19
ภาพที่ 2.12 ลักษณะของออกไซด์อลูมิเนียม 20
ภาพที่ 2.13 มาตรฐานการพันเทป 21
ภาพที่ 2.14 ท่อหดความร้อน 24
ภาพที่ 2.15 คอมปาวด์ 25
ภาพที่ 2.16 หางปลาทองแดงเคลือบดีบุก 30
ภาพที่ 2.17 หางปลาอลูมิเนียมเคลือบด้วยนิคเกิล 31
ภาพที่ 3.1 อุปกรณ์ที่ใช้ในการทาการทดลอง .36
ภาพที่ 3.2 แปรงลวดเหล็กขัดหน้าสัมผัส .37
ภาพที่ 3.3 แปรงทองเหลืองขัดอีกครั้ง 37
ภาพที่ 3.4 ค่าแรงที่ใช้ในการขันทอร์ค 38

สำรบัญภำพ(ต่ อ)
หน้า
ภาพที่ 3.4 ค่าแรงที่ใช้ในการขันทอร์ค 38
ภาพที่ 3.5 การประกบหางปลาและการขันทอร์ค 38
ภาพที่ 3.6 ลักษณะของหางปลาเมื่อประกอบเสร็จ .39
ภาพที่ 3.7 การวัดด้วยเครื่ องวัดค่าความต้านทานหน้าสัมผัส 39
ภาพที่ 3.8 ลักษณะของหางปลาที่เชื่อมต่อ ที่ใช้ในปัจจุบนั .40
ภาพที่ 3.9 ลักษณะการติดตั้ง 40
ภาพที่ 3.10 ลักษณะของหางปลาที่เชื่อมต่อ ก่อนนามาพันเทป .41
ภาพที่ 3.11 เทปพันสายไฟชนิดยางละลาย เบอร์ 23 .41
ภาพที่ 3.12 เทปพันสายไฟไวนิล 42
ภาพที่ 3.13 ลักษณะของหางปลาเมื่อเสร็ จสมบูรณ์ 42
ภาพที่ 3.14 ลักษณะการติดตั้ง .43
ภาพที่ 3.15 ลักษณะของหางปลาที่เชื่อมต่อ ก่อนนามาป้ องกันจุดต่อด้วยท่อหด 43
ภาพที่ 3.16 ปื นความร้อนเป่ าท่อหอ 44
ภาพที่ 3.17 ลักษณะการติดตั้ง 44
ภาพที่ 3.18 ลักษณะการติดตั้งของ 3 การทดลอง 45

You might also like