Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 6

สไลด์ 3

1. วัสดุผสมเนื้อพื้นพอลิเมอร์ (polymer-matrix composites) วัสดุ


ผสมเนื้อพื้นพอลิเมอร์ (PMCs) ประกอบด้วยเรซิ่นพอลิเมอร์" เป็ นเนื้อพื้น และ
เส้นใยเป็ นตัวเสริมแรง วัสดุเหล่านีถ
้ ูกใช้อย่างกว้างขวางมากที่สุดในงานด้านวัสดุ
ผสมและใช้ในปริมาณมากที่สุดอีกด้วย เพราะมีคุณสมบัติที่อุณหภูมิห้องดี ง่ายต่อ
การผลิตและราคาถูก ในหัวข้อนีจ
้ ะแบ่งวัสดุผสม PMCs เป็ นประเภทต่าง ๆ ตาม
ชนิดของตัวเสริมแรง (เช่น แก้ว คาร์บอน และอะรามิด) ควบคู่ไปกับลักษณะการใช้
งานและเรซิ่นชนิด ต่าง ๆ ที่ใช้

สไลด์ 4

Glass fiber-reinforced polymeric composites (GFRP) คอมโพสิต


พอลิเมอร์เสริมแรงด้วยใยแก้ว ใยแก้วที่นำมาใช้เสริมแรงพลาสติก เพื่อให้มี
โครงสร้างแบบคอมโพสิตและใช้สำหรับทำแม่พิมพ์ เช่น Fiberglass

วัสดุผสมเนื้อฟื้ นพอลิเมอร์ (GFRP) เสริมแรงด้วยเส้นใยแก้ว (glass fiber-

reinforced polymer (GFRP) composites) ใยแก้วหรือไฟเบอร์กลาส จัดเป็ นวัสดุผสม


ที่ประกอบขึน
้ จากเส้นใยแก้วทัง้ แบบต่อเนื่องหรือแบบไม่ต่อเนื่องใส่อยู่ในเนื้อพื้นพอ
ลิเมอร์ วัสดุผสมชนิดนีผ
้ ลิตขึน
้ มาใช้เป็ นจำนวนมาก ส่วนผสมทางเคมีของแก้วที่ปกติ
ขึน
้ รูป เป็ นเส้นใย (บางครัง้ หมายถึงแก้วชนิด E (E-glass)) มีเส้นผ่านศูนย์กลางของ
เส้นใยอยู่ ในช่วงระหว่าง 3 ถึง 20 𝛍m แก้ว

สไลด์ 5

มีลักษณะเฉพาะที่ดีคือ มีความแข็งแรงสูง มีรูปทรงที่เสถียร เป็ นฉนวนความ


ร้อน-เย็นที่ดี ไม่ดูดความชื้น ทนทานต่อการผุกร่อน เป็ นฉนวนไฟฟ้ าที่ดี ขึน
้ รูปง่าย
และมีราคาค่อนข้างถูก มักถูกใช้ในหลายอุตสาหกรรม โดยมันถูกออกแบบมาให้แข็ง
แรงเหมือนเหล็กกล้า แต่มีความหนาแน่นแค่หนึ่งในสี่ มีความแข็งแกร่งมากกว่า
อะลูมิเนียม ต้านทานปฏิกิริยาเคมี โดยวัสดุนเี ้ ป็ นโพลิเมอร์คอมโพสิตเสริมแรงด้วย
เส้นใยแก้วธรรมดา
นิยมใช้เป็ นเส้นใยเสริมแรงโดยมีเหตุผลสนับสนุนดังนี ้
1. ง่ายในการขึน
้ รูปจากสภาวะหลอมเหลวจนกลายเป็ นเส้นใยที่มีความแข็ง
แรงสูง

2. หาวัตถุดิบได้ง่ายและอาจจะถูกผลิตขึน
้ เป็ นพลาสติกเสริมแรงด้วยใยแก้ว
แบบประหยัด โดยใช้เทคนิคการผลิตวัสดุผสมต่าง ๆ ที่มีอยู่มากมาย

3. เมื่ออยู่ในสภาพเส้นใยก็มีความแข็งแรงสูงและเมื่อฝั งใส่ลงในเนื้อพลาสติกก็
ส่งผลให้วัสดุผสมมีความต้านทานแรงดึงจําเพาะที่สูงมาก

4. เมื่อใช้คู่กับพลาสติกหลากหลายชนิด มันเฉื่อยต่อการเกิดปฏิกิริยาทางเคมี
จนทำให้วัสดุผสมมี คุณประโยชน์ที่จะนำาไปใช้ในสภาพแวดล้อมที่กัดกร่อนรุนแรง
ต่าง ๆ ได้

ภาพโครงสร้างของ polyoxymethylene ผสมใยแก้ว 25 เปอร์เซ็นต์ ที่มีขนาด


เส้นผ่านศูนย์กลางต่างกัน
สไลด์ 6

แก้วที่ใช้ทำใยแก้วที่สำคัญมี 2 ประเภท คือ E (electrical) glass และ S


(High-strength) glasses

สไลด์ 7

E (electrical) glass

- เป็ นใยแก้วที่ใช้กันมากที่สุดและใช้กับกระบวนการผลิตแบบต่อเนื่อง

- ได้จากสารประกอบของ Lime-aluminum-borosilicate

- SiO2 (52-56%) Al2 O3 (12-16%) CaO (16-25%) B2 O3 (8-13%)

์ ี tensile strength 3.44 GPa และ Modulus of elasticity


- E glass บริสุทธิม

72.3 GPa

E Fiber
glass from nippon electric glass

สไลด์ 8
S (high-strength) glass

- มีคา่ อัตราส่วนของ strength ต่อน้ำหนักสูงกว่าและราคาแพงกว่า E glass

- ในยุคแรกถูกใช้ทางทหารและอวกาศ

- มีองค์ประกอบคือ SiO2 (65%) Al2 O3 (25%) MgO (10%)

- มี tensile strength 4.48 GPa และ Modulus of elasticity 85.4 GPa

สไลด์ 9

ยกตัวอย่างการนำไปใช้งานเช่น ท่อฉนวนที่ทำจากใยแก้วไฟเบอร์กลาสเกรด
ใช้งานกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เสริมแรงด้วยอีพ็อกซี่เรซิ่น หรือจะเป็ น
อุตสาหกรรมการบิน อุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสาหกรรมเหมือง ท่อส่งก๊าซและน้ำมัน
โรเตอร์ใบพัดเฮลิคอปเตอร์

การใช้งานไฟเบอร์กลาสมีมากมายและเป็ นที่ร้จ
ู ักกันดี เช่น โครงตัวถังยาน
ยนต์และเรือ ท่อพลาสติก ถัง ภาชนะบรรจุ และวัสดุปูพ้น
ื ทางอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมการขนส่งใช้พลาสติกเสริมแรงด้วยเส้นใยแก้วนี ้ ในปริมาณมากขึน
้ โดย
ต้องการลดน้ำหนักยานยนต์และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

สไลด์ 10

ลักษณะผิวของเส้นใยแก้วมีความสําคัญมาก เพราะแม้ว่าจะมีรอยตำหนิที่ผิว
เพียงเล็กน้อย ก็จะส่งผลกระทบ อย่างรุนแรงต่อสมบัติต้านทานแรงดึง ตำหนิที่ผิวนี ้
เกิดขึน
้ ได้ง่ายโดยการไถ (rubbing) หรือสึกเป็ นรอยถลอกขึน
้ ที่ผิวจากการเสียดสีกับ
วัสดุแข็งชนิดอื่น ผิวแก้วที่อยู่ในบรรยากาศปกติ แม้เพียงช่วงเวลาไม่นานนักก็อาจมี
ชัน
้ ผิวที่อ่อนแอได้ซึ่งจะส่งผลรบกวนการยึดเหนี่ยวกับเนื้อพื้น เส้นใยที่ขน
ึ ้ รูปมาโดย
ปกติต้องนำไปเคลือบผิวในระหว่างการขึน
้ รูปด้วยการ “ไซด์ (size)” ซึ่งหมายถึงขัน

บาง ๆ ของ สสารชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่ป้องกันผิวเส้นใยจากการเสียหายและปฏิกิริยา
จากสภาวะแวดล้อม โดยปกติไซต์ เหล่านีจ
้ ะถูกขจัดออกก่อนทำการผลิตวัสดุผสม
และแทนด้วยสารช่วยยึดติด (coupling agent) หรือตกแต่งผิว จนสามารถมีพันธะ
ระหว่างเส้นใยกับเนื้อพื้นอย่างดี อย่างไรก็ตามวัสดุในกลุ่มนีก
้ ็ยังคงมีข้อจำกัดหรือข้อ
เสียอยู่หลายอย่างเช่นกัน แม้ว่าวัสดุจะมีความแข็งแรง สูง แต่มันมีความแกร่ง (ควา
มดื้อ (stiffness) หรือมอดูลัสความยืดหยุ่นไม่สูงมาก) และไม่แสดงความแน่น แกร่ง
(rigidity) ซึ่งจําเป็ นต่อลักษณะงานบางประเภท เช่น ชิน
้ ส่วนโครงสร้างสำหรับ
เครื่องบินและสะพาน เป็ นต้น วัสดุไฟเบอร์กลาสส่วนใหญ่จะมีข้อจำกัดที่ต้องใช้งาน
ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 200°C (400°F) เพราะที่ อุณหภูมิสูงพอลิเมอร์เริ่มไหลเยิม
้ หรือ
เกิดความเสียหาย อย่างไรก็ตามมันอาจจะใช้ได้ที่อุณหภูมิสูงถึง 300°C (575°F) โดย
การใช้ซิลิกาที่ผ่านการหลอมละลายและมีความบริสุทธิส์ ูงทำเป็ นเส้นใยและใช้พอลิ
เมอร์ประเภทเรซิ่นพอลิไอไมด์ (polyimide) เป็ นเนื้อพื้น

อ้างอิง

Physico-Mechanical Properties of the Poly(oxymethylene)


Composites Reinforced with Glass Fibers under Dynamical Loading

https://www.mdpi.com/2073-4360/11/12/2064/htm

Microstructural investigation of glass fiber reinforced


polymer bars

https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/
S1359836816313713

วัสดุเสริมแรงกลาสไฟเบอร์
https://www.novocon.co.th/gfrprebar.php

นายเนรมิตร เป่ าตัว 643040329-0

นายกฤษฎา ชิวแพร 643040369-8

นายกิตตินันท์ ขำห้วยแย้ 643040371-1

นายธรณ์ธันย์ ตัณศิลา 643040380-0

นายคัมภีรภาพ จ่าบาล 643040703-2

นายยินดี สืบสุนทร 643040712-1

You might also like