Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 30

การทดลอง เรือง

การวิเ คราะห์เ ชิงคุณภาพสําหรับ แคทไอออน


(Qualitative Analysis for Cations)

วัต ถุป ระสงค์เ ชิงพฤติก รรม/ผลการเรียนรู้


1. ศึกษาปฏิกิรยิ าการตกตะกอน การเกิดสารเชิงซ้อนของแคทไอออนบางชนิด
2. ศึกษาปฏิกิรยิ าสําหรับการทดสอบเฉพาะของแคทไอออนบางชนิด
3. ฝึ กทักษะเทคนิคการวิเคราะห์เชิงคุณภาพสําหรับแคทไอออน

สารเคมีแ ละอุป กรณ์


- สารละลายไนเทรตของ Ag+, Hg22+, Pb2+, Ni2+, Zn2+, Mn2+, Fe3+, Cr3+ และ Al3+ ความเข้มข้น 0.1 M
- สารละลาย HCl 6.0 M
- สารละลาย HNO3 6.0 M
- สารละลาย CH3COOH 6.0 M
- สารละลาย NaOH 6.0 M
- สารละลาย NH3 6.0 M
- สารละลาย โพแทสเซียมโครเมต (potassium chromate, K2CrO4) 0.1 M
- สารละลาย แบเรียคลอไรด์ (barium chloride, BaCl2) 1.0 M
- สารละลาย โพแทสเซียม เฮกซะไซยาโนเฟอร์เรต(II)
(potassium hexacyanoferrate(II), K4Fe(CN)6) 0.2 M
- สารละลาย ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (hydrogen peroxide, H2O2) 3% v/v
- สารละลาย แอมโมเนียมคลอไรด์ (ammonium chloride, NH4Cl) 4.0 M
- สารละลาย โพแทสเซียมไทโอไซยาเนต (potassium thiocyanate, KSCN) 1.0 M
- สารละลาย ไดเมทิลไกลออกซีม (dimethylglyoxime, DMG)
- สารละลาย คาเทคอลไวโอเลต (catechol violet)
- หลอดทดลองขนาด 10 mL
- โซเดียมบิสมัทเทต (sodium bismuthate, NaBiO3)

ทฤษฎี
การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ (Qualitative analysis) เป็ นวิธีการทีใช้สาํ หรับการตรวจชนิดของสาร
สําหรับการวิเคราะห์ชนิดของแคทไอออนนันเริมต้นด้วยการแยกไอออนออกเป็ นกลุ่มตามสมบัติของ
98

สารประกอบทีคล้ายคลึงกัน เช่น กลุ่ม 1 มี Ag+, Hg22+ และ Pb2+ แคทไอออนทังสามชนิดรวมกับคลอ


ไรด์ไอออนได้ตะกอนของสารประกอบคลอไรด์จึงสามารถแยกแคทไอออนกลุม่ นีออกจากไอออนอืนๆ
ได้โดยการเติมรีเอเจนต์สาํ หรับตก ตะกอน ได้แก่สารละลาย HCl

สารทีละลายได้ ข้อ ยกเว้น


ไม่ละลาย ละลายได้เล็กน้อย
1. เกลือของ Na+, K+ และ NH4+ ไม่มี ไม่มี
2. เกลือไนเตรต (NO3–) ไม่มี ไม่มี
3. เกลือเปอร์คลอเรต (ClO4–) ไม่มี ไม่มี
4. เกลือฟลูออไรด์ (F–) Mg2+, Ca2+, Sr2+, Ba2+, Pb2+ ไม่มี
5. เกลือคลอไรด์ โบรไมด์ และไอโอ AgX, Hg2X2, PbI2, CuI, HgI2 PbCl2, PbBr2
ไดด์ (Cl–, Br–, I– )
6. เกลือซัลเฟต (SO42–) Sr2+, Ba2+, Pb2+ Ca2+, Ag+, Hg22+
7. เกลือแอซีเตต (CH3CO2–) ไม่มี Ag+, Hg22+

สารทีไม่ล ะลาย ข้อ ยกเว้น


ละลายได้ ละลายได้เล็กน้อย
1. คาร์บอเนต (CO32–) Na+, K+ และ NH4+ ไม่มี
2. ฟอสเฟต (PO43–) Na+, K+ และ NH4+ ไม่มี
3. ซัลไฟด์ (S 2–) Na+, K+, Mg2+, Ca2+และ ไม่มี
NH4+
4. ไฮดรอกไซด์ (OH–) Na+, K+, Ba2+ และ NH4+ Ca2+, Sr2+

หมายเหตุ สารทีละลายได้ หมายถึงสารทีมีสภาพการละลายต่อโมลมากกว่า 0.1 M ส่วนสารทีไม่


ละลาย หมายถึงสภาพการละลายต่อโมลน้อยกว่า 0.01 M

ประเภทของปฏิกิรยิ าทีเกียวข้องในการวิเคราะห์เชิงคุณภาพได้แก่ปฏิกิรยิ าการตกตะกอน การ


เกิดสารเชิงซ้อน ปฏิกิรยิ ารีดอกซ์ และปฏิกิรยิ าระหว่างกรดเบส สําหรับวิธีการทีใช้บ่งชีชนิดของไอออน
ในการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ คือการสังเกตการเปลียนสี การเกิดแก๊ส การตกตะกอน หรือการละลาย
ตะกอนของปฏิกิรยิ าทีเกิดขึนดังกล่าวข้างต้น
99

ปฏิก ริ ิยา ตัวอย่าง สิงทีสังเกตได้


+ –
1. การตกตะกอน Ag (aq) + Cl (aq) AgCl(s) เกิดตะกอนขาวของ
AgCl(s)
2.การเกิดสารเชิงซ้อน Cr(OH)3(s) + OH–(aq)  [Cr(OH)4 ]– ( aq) ตะกอนเขียวละลาย

3. ปฏิกิรยิ ารีดอกซ์ 5BiO3– (aq)+14H+(aq) + 2Mn2+(aq)  5Bi3+(aq) + สารละลายเปลียนสี


2MnO4– (aq) + 7H2O(l) จากไม่มีสีเป็ นม่วงแดง
4.ปฏิกิรยิ ากรด-เบส H3O+(aq) + OH– (aq) 2H2O(l) กระดาษลิตมัสไม่
เปลียนสี

หลัก การทดลอง
ในการทดลองนีจะทําการวิเคราะห์สารตัวอย่างซึงประกอบด้วยแคทไอออน 9 ชนิด คือ Ag+ ,
Hg22+ , Pb2+, Ni2+, Zn2+, Mn2+ , Fe3+,Cr3+ และ Al3+ โดยการแยกออกเป็ นกลุม่ ๆ ตามสมบัตขิ อง
สารประกอบทีคล้ายคลึงกันได้ดงั นี
1. เกลือคลอไรด์ ได้แก่ AgCl , Hg2Cl2 , PbCl2
2. สารประกอบไฮดรอกไซด์และออกไซด์ Fe(OH)3 , Ni(OH)2 , MnO2 .xH2O
3. ไอออนเชิงซ้อนไฮดรอกโซ (hydroxo complex ion) [Cr(OH)4]–, [Pb(OH)4]2–,
[Al(OH)4]–, [Zn(OH)4]2–
4. ไอออนเชิงซ้อนแอมมีน (ammine complex ion) ได้แก่ [Zn(NH3)4]2+ , [Ni(NH3)6]2+
แยกแคทไอออนแต่ละชนิดออกเป็ นกลุม่ ๆ ได้ดว้ ยการเติมรีเอเจนต์สาํ หรับการตกตะกอน หรือ รี
เอเจนต์สาํ หรับการเกิดสารเชิงซ้อนดังต่อไปนี
กลุ่ม ที 1 ใช้ HCl 6M เป็ นรีเอเจนต์สาํ หรับตกตะกอนคลอไรด์ จะได้ตะกอนขาวของ Ag+,Pb2+
และ Hg22+ ดังสมการ
Ag+(aq) + Cl– (aq)  AgCl(s)
Pb2+(aq) + 2Cl– (aq)  PbCl2(s)
Hg22+(aq) + 2Cl– (aq)  Hg2Cl2(s)
กลุ่ม ที 2 ใช้ NaOH 6M เป็ นรีเอเจนต์สาํ หรับตกตะกอนไฮดรอกไซด์ของ Ni2+, Mn2+ และ
Fe3+ดังสมการ
Ni2+(aq) + 2OH– (aq)  Ni(OH)2(s)
ตะกอนเขียว
100

Mn2+(aq) + 2OH– (aq)  Mn(OH)2(s) )  MnO2. 2H2O


ตะกอนสีครีม ตะกอนดํา
Fe3+(aq) + 3OH– (aq)  Fe(OH)3(s)
ตะกอนนําตาลแดง
กลุ่ม ที 3 ใช้ NaOH 6M เป็ นรีเอเจนต์สาํ หรับการเกิดสารเชิงซ้อนไฮดรอกโซของ Al3+, Zn2+
สําหรับ Cr + เมือเติม H2O2 ซึงเป็ นตัวออกซิไดส์ทีดี Cr(OH)3 จะถูกออกซิไดส์เป็ น CrO42– (สารละลายสี
เหลือง) ดังสมการ
Al3+(aq) + 4OH–(aq)  [Al(OH)4]–(aq)
Zn2+(aq) + 4OH–(aq)  [Zn(OH)4]2–(aq)
2Cr(OH)3(s) + 3H2O2(aq) + 4OH–(aq)  2CrO42–(aq) + 8H2O(l)

กลุ่ม ที 4 ใช้ NH3 เป็ นรีเอเจนต์สาํ หรับการเกิดสารเชิงซ้อนแอมมีนของ Ni2+


Ni2+(aq) + 6NH3(aq)  [Ni(NH3)6] 2+(aq)

การทดสอบเฉพาะของแคทไอออน Ag+ , Hg22 + , Pb2+


1. PbCl2(s) ละลายได้ในนําร้อน และจะรวมตัวกับ CrO42– ได้ตะกอนเหลืองของ PbCrO4 ซึงจะ
ละลายได้ในสารละลาย NaOH ดังสมการ
PbCl2(s)  Pb2+(aq) + 2Cl–(aq)
ไม่มีสี
2+ –
Pb + CrO
(aq) 4 (aq  PbCrO4(s)
สีเหลือง ตะกอนเหลือง
PbCrO4(s)+ 4OH–(aq)  [Pb(OH)4]2–(aq) + CrO42–(aq)
ไม่มีสี สีเหลือง
2. AgCl(s) ละลายได้ในสารละลาย NH3 ทีมากเกินพอ ได้สารละลายไม่มีสีของ [Ag(NH3)2]+ เมือ
เติม HNO3 จนมีฤทธิเป็ นกรดจะได้ตะกอนขาวของ AgCl(s) กลับคืนมาดังสมการ
+ –
AgCl(s) + 2NH3(aq)  [Ag(NH3)2] (aq) + Cl (aq)

ตะกอนขาว สารละลายใสไม่มีสี
[Ag(NH3)2]+(aq) + Cl–(aq) + 2H+(aq)  AgCl(s) + 2NH4+(aq)
ตะกอนขาว
3. Hg2Cl2 ไม่ละลายในสารละลาย NH3 แต่ Hg22 + เกิดปฏิกิรยิ า disproportionation ให้ Hg0 และ
HgNH2Cl ทําให้สงั เกตเห็นตะกอนสีเทาดํา
101

Hg2Cl2(s) + 2NH3(aq)  HgNH2Cl(s) + Hg0(s) + NH4+(aq) + Cl–(aq)


ตะกอนขาว ตะกอนขาว ตะกอนดํา

การทดสอบเฉพาะของแคทไอออน Al3+,Cr3+ และ Zn2+


1. ทําสารละลายให้มีฤทธิเป็ นกรดด้วย CH3COOH 6M ซึง [Al(OH)4]– และ [Zn(OH)4]2– จะ
เปลียนเป็ น Al3+(aq) และ Zn2+(aq) และเมือเติม NH3 6 M มากเกินพอ เฉพาะ Zn2+(aq) เท่านันทีจะ
รวมตัวกับ NH3 เกิดไอออนเชิงซ้อน [Zn(NH3)4] 2+(aq) ส่วน Al3+ จะรวมตัวกับ OH– ทีมาจากการ
แตกตัวของสารละลายของ NH3 ได้ตะกอนวุน้ ขาวของ Al(OH)3 สําหรับ CrO42– ไม่เปลียนแปลง
[Al(OH)4]– (aq) + 4H+(aq) 3+
 Al (aq) + 4H2O(l)

[Zn(OH)4]2–(aq) + 4H+(aq) 2+
 Zn (aq) + 4H2O(l)

Zn2+(aq) + 4NH3(aq) 2+
 [Zn(NH3)4] (aq)

Al3+(aq) + 3NH3 (aq) + 3H2O(l)  Al(OH)3(s) + 3NH4+(aq)


2. ทดสอบ Zn2+ ด้วย K4[Fe(CN)6] จะได้ตะกอนขาวหรือเขียวอ่อนของ K2Zn3 [Fe(CN)6]2 ซึง
ละลายได้ใน
NaOH 6 M
3Zn2+(aq) + 2K+(aq) + 2[Fe(CN)6]4–  K2Zn3[Fe(CN)6]2(s)
ตะกอนขาวหรือเขียวอ่อน
K2Zn3[Fe(CN)6]2(s) + 12OH– (aq)  2 [Fe(CN)6]4–(aq) + 3[Zn(OH)4]2–(aq) + 2K+(aq)
3. ส่วน Al3+ ทดสอบได้โดยละลายตะกอน Al(OH)3 พอดีใน CH3COOH 6 M ลดความเป็ นกรดของ
สารละลายด้วยนํา และเติม catechol violet จะได้สารละลายสีนาเงิ ํ น
4. การทดสอบ CrO42– ทําได้โดยการเติม BaCl2 จะได้ตะกอนเหลืองของ BaCrO4 หรือหยดกรด
HNO3 ลงในสารละลายเหลืองของ CrO42– จะได้ Cr2O72– (สีสม้ ) ซึงทําปฏิกิรยิ ากับสารละลาย
H2O2 ในกรดจะได้ สารละลายสีนาเงิ ํ นของ CrO(O2)2 (chromium pentoxide) (จางหายไปอย่าง
รวดเร็ว)
CrO42–(aq) + Ba2+(aq)  BaCrO4(s)
สารละลายเหลือง ตะกอนเหลือง
2CrO42–(aq) + 2H+(aq)  Cr2O72–(aq) + H2O(l)
สารละลายเหลือง สารละลายสีสม้
2– +
Cr2O7 (aq) + 2H (aq) + 4H2O2(aq)  2CrO(O2)2(aq) + 5H2O(l)
สารละลายสีนาเงิ
ํ น
102

การทดสอบเฉพาะของแคทไอออน Mn2+ , Ni2+ , Fe3+


1. ตะกอนไฮดรอกไซด์ของไอออนทังสามชนิดละลายใน HNO3 6 M และ HCl 6M ได้สารละลายของ
Mn2+ , Fe3+ และ Ni2+ ดังสมการ
MnO2.2H2O(s) + 2Cl–(aq) + 4H+(aq)  Mn2+(aq) + 4H2O(l) +Cl2(g)
Fe(OH)3(s) + 3H+(aq)  Fe3+(aq) + 3H2O(l)
Ni(OH)2(s) + 2H+(aq)  Ni2+(aq) + 2H2O(l)
2. เติม NH4Cl 4 M และ NH3 15 M Ni2+ จะรวมตัวกับ NH3 เป็ นสารเชิงซ้อน [Ni(NH3)6]2+ ส่วน
Fe3+ และ Mn2+ รวมตัวกับ OH– (สารละลาย NH3 แตกตัว) ได้ตะกอนไฮดรอกไซด์เหมือนเดิม
Ni2+(aq) + 6NH3(aq)  [Ni(NH3)6]2+(aq)
3. ทดสอบ Ni2+ ด้วย DMG (dimethyl glyoxime, C4H8O2N2) จะได้ตะกอนสีแดงของ
Nickel dimethylglyoxime ดังสมการ
เบส
[Ni(NH3)6]2+(aq) + 2C4H8O2N2(aq) + 4H2O( l)  Ni (C4H7O2N2)2(s) + 6NH4+(aq)+ 4OH–(aq)
ตะกอนแดง
4. ทดสอบ Fe3+ และ Mn2+ โดยละลาย ตะกอนของ Fe(OH)3 และ MnO2 .xH2O ใน HCl 6 M และ
HNO3 6 M แบ่งสารละลายเป็ น 3 ส่วน ในส่วนที 1,2 ใช้ทดสอบ Fe3+ โดยส่วนที 1 เติม KSCN 1
M และส่วนที 2 เติม K4[Fe(CN)6] 0.1 M จะได้สารละลายสีแดงเลือดนก ของ [Fe(SCN)]2+
และตะกอนสี น าเงิํ น ของ KFe[Fe(CN)6] ตามลํา ดับ และในส่ว นที ทดสอบ Mn2+ โดยเติ ม
HNO3 6 M อุน่ แล้วเติม NaBiO3 (ของแข็ง) จะได้สารละลายสีมว่ งแดงของ MnO4–
ส่วนที 1
Fe3+(aq) + SCN–(aq)  [Fe(SCN)]2+(aq)
สารละลายเหลือง สารละลายสีแดงเลือดนก
ส่วนที 2
Fe3+(aq) + K+(aq) + [Fe(CN)6]4– (aq)  K Fe[Fe(CN)6](s)
ตะกอนสีนาเงิ
ํ น
ส่วนที 3
2Mn2+(aq) + 5NaBiO3(s) + 14H+(aq)  2MnO4–(aq) + 5Bi3+(aq) + 7H2O(l) + 5Na+(aq)
สารละลายสีมว่ งแดง

การทดลอง
แบ่งออกเป็ น ส่วน ส่วนที เป็ นการทดสอบกับสารจริง (control test) โดยใช้สารละลายไน
เทรตของ Ag+, Hg22+, Pb2+, Ni2+, Zn2+, Mn2+, Fe3+, Cr3+ และ Al3+ ส่วนที 2 เป็ นการวิเคราะห์สาร
ตัวอย่างในสภาพของแข็ง หาการละลายของสารตัวอย่างแล้วจึงนําสารละลายทีได้ไปทดสอบ การ
103

ทดลองนีได้ดดั แปลงการเลือกตัวทําละลายของสารเพือความเหมาะสมดังวิธีเลือกในตอนล่าง
หลังจากนันให้ดาํ เนินการวิเคราะห์สารตัวอย่างเป็ น ตอนดังนี
ตอนที การแยกแคทไอออน Ag+, Hg22+, Pb2+, Ni2+, Zn2+, Mn2+, Fe3+, Cr3+ และ Al3+
ออกเป็ นกลุ่ม ๆ
ตอนที การทดสอบเฉพาะของแคทไอออน Ag+ , Hg22+ และ Pb2+
ตอนที การทดสอบเฉพาะของ Ni2+ , Fe3+ และ Mn2+
ตอนที การทดสอบเฉพาะของ Zn2+ , Cr3+ และ Al3+

วิธ ีเ ลือ กตัวทําละลาย


นําสารตัวอย่างประมาณ mg (เมล็ดถัวเขียว) ใส่ในหลอดทดลอง เติมนําเป็ นตัวทําละลาย
ประมาณ mL เขย่าหรือใช้แท่งแก้วคนสักครู ่ ถ้าไม่ละลายให้นาํ ไปอุน่ ในถ้วยนําเดือด ประมาณ –
นาที พร้อมทังคนเป็ นครังคราว ถ้าสารตัวอย่างไม่ละลายหรือละลายไม่หมดให้นาํ สารตัวอย่างมา
ใหม่ แล้วเปลียนตัวทําละลายตามลําดับต่อไปนี
1. นํา
2. HCl 2.0 M
3. HNO3 2.0 M
104

ตอนที การแยกแคทไอออน Ag+, Hg22+, Pb2+, Ni2+, Zn2+, Mn2+, Fe3+, Cr3+ และ Al3+ ออกเป็ น
กลุ่ม ๆ
หยด 6 M HCl 1-2 หยดลงในสารละลายตัวอย่าง 1 mL ถ้ามีตะกอนขาวเกิดขึน ให้เติม HCl จน
ตกตะกอนสมบูรณ์ หลังจากนันนําไปเซนตริฟิวจ์แล้วแยกตะกอนขาวออกจากสารละลาย
ตะกอนขาว สารละลาย
AgCl(s), PbCl2(s) และ หยด 6 M NaOH ทีละหยดจนสารละลายมีฤทธิเป็ นเบส (ทดสอบด้วย
Hg2Cl2(s) นําไปทดสอบ กระดาษลิตมัสสีแดง) แล้วเติม NaOH ให้มากเกินพออีก 0.5 mL นํา
ในตอนที 2 สารละลายไปอุน่ ประมาณ 2 นาที หลังจากนันเติม 3% H2O2 1 mL
เทสารละลายใส่ในชามกระเบืองแล้วนําไปอุน่ จนปริมาตรลดลงเหลือ
ครึงหนึง หลังจากนันนําไปเซนตริฟิวจ์เพือแยกตะกอนและสารละลาย
ตะกอน สารละลาย
2-
Ni(OH)2(เขียว), Fe(OH)3(นําตาล CrO4 (เหลือง), [Al(OH)4]-(ไม่มี
แดง), MnO2. XH2O(ดํา) สี), [Zn(OH)4]2-(ไม่มีสี)
นําไปทดสอบตอนที 3 นําไปทดสอบตอนที 4

Ag+, Hg22+, Pb2+, Ni2+, Zn2+, Al3+, Cr3+, Fe3+, Mn2+


HCl 6 M
ตกตะกอนสมบูรณ์

AgCl, PbCl2, Hg2Cl2 Ni2+, Zn2+, Al3+, Cr3+, Fe3+, Mn2+


ตะกอนขาว สารละลายเขียวเหลือง
นําไปทดสอบตอนที NaOH 6 M จนเป็ นเบส
H2O2 3% v/v 1 mL

Ni(OH)2, Fe(OH)3, MnO2. xH2O CrO42–, [Al(OH)4]–, [Zn(OH)4]2–


ตะกอน สารละลาย
นําไปทดสอบตอนที นําไปทดสอบตอนที
105

ตอนที การทดสอบเฉพาะของแคทไอออน Ag+, Hg22+, Pb2+


ตะกอนขาว AgCl, Hg2Cl2, PbCl2
นําตะกอนขาวจากการทดลองตอนที 1 มาละลายด้วยนําร้อน โดยเติมนํากลัน 1 mL ลงในตะกอน
แล้วนําไปอุ่นบนอ่างนําร้อนพร้อมคนด้วยแท่งแก้วแรงๆ ถ้ามีตะกอนให้นาํ ไปเซนตริฟิวจ์ขณะร้อน
แล้วทําการแยกตะกอนกับสารละลาย
ตะกอนขาว AgCl, Hg2Cl2 สารละลาย Pb2+
ล้างตะกอนด้วยนําร้อน 2 mL อีก 1 ครัง แล้ว หยด 0.1 M K2CrO4 2-3 หยด ลงในสารละลาย
หยด 6M NH3 1 mL ทีละหยดลงบนตะกอน ใช้ ถ้ามีตะกอนเหลืองเกิดขึนให้นาํ ไปเซนตริฟิวจ์
แท่งแก้วคนสารละลาย ถ้ามีตะกอนให้นาํ ไปเซน ทําการแยกตะกอนออกจากสารละลาย นํา
ตริฟิวจ์ เฉพาะตะกอนมาละลายใน 6 M NaOH มาก
ตะกอนเทา เกินพอ ถ้าตะกอนละลายใน NaOH แสดงว่ามี
HgNH2Cl + Hg 0
สารละลาย Pb2+
ถ้าได้ตะกอนเทา [Ag(NH3)2]+
แสดงว่ามี Hg22+ หยด 6 M HNO3 ทีละ
หยดจนสารละลายมี
ฤทธิเป็ นกรด ถ้าเกิด
ตะกอนขาวแสดงว่ามี
Ag+

AgCl, Hg2Cl2, PbCl2


ตะกอนขาว
นําร้อน

AgCl, Hg2Cl2 Pb2+


ตะกอนขาว สารละลาย
NH3 6 M K2CrO4 0.1 M

HgNH2Cl + Hg0 [Ag(NH3)2]+ PbCrO4


ตะกอนเทา สารละลาย ตะกอนเหลือง
HNO3 6 M NaOH 6 M
จนเป็ นกรดมากเกินพอ
[Pb(OH)4]2–
AgCl สารละลาย
ตะกอนขาว
106

ตอนที การทดสอบเฉพาะของ Ni2+, Fe3+, Mn2+


นําตะกอนทีได้จากตอนที 1 มาล้างตะกอนด้วยนํากลัน 2 mL นําไปเซนตริฟิวจ์ แยกเฉพาะตะกอน
มาเติม 6 M HNO3 10 หยด และ 6 M HCl 5-6 หยด นําไปอุน่ และคนจนตะกอนละลายหมด จากนัน
เติม 4 M NH4Cl 4 หยด แล้วทําให้สารละลายเป็ นเบสด้วย 15 M NH3 และเติม 3% H2O2 1 mL ลง
ในสารละลาย คนให้ทวแล้ั วนําไปเซนตริฟิวจ์ ทําการแยกตะกอนกับสารละลาย
ตะกอน Fe(OH)3, MnO2. xH2O สารละลาย [Ni(NH3)6]2+
ล้างตะกอนด้วยนํากลัน 1 mL แล้วนําไปเซนตริฟิวจ์เพือแยกเอาเฉพาะ เติม dimethyl glyoxime
ตะกอนมาละลายใน 6M HCl 1 mL กับ 6M HNO3 2 หยด เขย่าให้ 2-3 หยด เขย่าแรงๆ ถ้า
เข้ากัน นําไปอุน่ และคนจนตะกอนละลายหมด (ถ้าไม่หมดให้เซนตริ เกิดตะกอนสีแดง แสดงว่า
ฟิ วจ์ แล้วทิงตะกอนไป) แบ่งสารละลายออกเป็ น 3 หลอดทดลอง มี Ni2+
หลอดทดลองที 1
เติม 1 M KSCN 4-5 หยด ถ้าได้สารละลายสีแดงเลือดนก แสดงว่ามี
Fe3+
หลอดทดลองที 2
เติม 0.1 M K4Fe(CN)6 2-3 หยด ถ้าได้ตะกอนนําเงินแสดงว่ามี Fe3+
หลอดทดลองที 3
เติม 6M HNO3 2 หยด แล้วนําไปอุน่ หลังจากนันเติม NaBiO31 ช้อน
เขย่า ถ้าได้สารละลายสีมว่ งแดง (สีของสารละลายจะจางหายอย่าง
รวดเร็ว) แสดงว่ามี Mn2+

Ni(OH)2, Fe(OH)3, MnO2xH2O


NH 6M
HNO3 6 M, HCl 6 M, NH4Cl 4 M,3 NH3 15 M H2O2 3%

Fe(OH)3, MnO2xH2O [Ni(NH3)6]2+


ตะกอน สารละลาย
หลอดที HCl 2M NH3 6M
DMG
ทดสอบ Mn2+ ทดสอบ Fe3+
Ni(C4H7N2O2)2
NaBiO3 หลอดที 2 ตะกอนแดง
หลอดที 1
HNO3 6M
KSCN K4Fe(CN)6
สารละลายสีม่วงแดง
สารละลายแดงเลือดนก ตะกอนนําเงิน
MnO4-
[FeSCN]2+ KFe[Fe(CN)6]
107

ตอนที การทดสอบเฉพาะของ Cr3+, Al3+ และ Zn2+


นําสารละลายทีได้จากตอนที มาหยด 6 M CH3COOH ทีละหยดจนสารละลายมีฤทธิเป็ นกรด และ
ค่อยๆ หยด 6 M NH3 ทีละหยดเช่นกัน จนสารละลายมีฤทธิเป็ นเบส แล้วเติม 6 M NH3 ให้มากเกินพอ
อีก 0.5 mL คนสารละลายประมาณ 1 นาที จะได้ตะกอนวุน้ ขาวของ Al(OH)3 นําไปเซนตริฟิวจ์
ตะกอนวุ้น Al(OH)3 สารละลาย CrO42–, [Zn(NH3)4]2+
ล้างตะกอนวุน้ ด้วยนํากลัน ให้สงั เกตสีของสารละลาย หากสารละลายมีสีเหลืองให้ปฏิบตั ิตามข้อ ก.
1 mL แล้วนําไปเซนตริฟิวจ์ และหากสารละลายไม่มีสี ให้ปฏิบตั ติ ามข้อ ข.
แยกเอาเฉพาะตะกอนวุน้
มาทดสอบ โดยหยด 6 M
CH3COOH ทีละหยดเพือ ข้อ ก. ถ้าสารละลายมีสีเหลือง ให้หยด 1 M BaCl2 0.5 mL ถ้าได้
ละลายตะกอนพอดี ตะกอนเหลืองเกิดขึนให้ตกตะกอนให้สมบูรณ์ แล้วทําการเซนตริฟิวจ์
หลังจากนัน เติมนํากลัน แยกตะกอนจากสารละลาย นําสารละลายนําไปทดสอบตามข้อ ข. และ
mL เพือลดความเป็ นกรด นําตะกอนไปทดสอบหา Cr3+
และเติม catechol violet 2 ข้อ ข. ถ้าสารละลายไม่มีสี ให้หยด
หยด ถ้าสารละลายเปลียน 6 M HCl จนสารละลายมีฤทธิเป็ น
ํ นแสดงว่ามี Al3+
เป็ นสีนาเงิ กรด แล้วเติม 0.2 M K4[Fe(CN)6]
3 หยด เขย่า ถ้าได้ตะกอนขาวหรือ
เขียวอ่อน ทีละ ลายใน 6 M NaOH
CrO42–, [Al(OH)2+4]–, [Zn(OH)4]2– ตะกอนเหลือ ง BaCrO
แสดงว่ามี Zn
สารละลาย
ละลายตะกอนด้วย 6 M HN
CH3COOH 6 M จนเป็ นกรด
NH3 6 M จนเป็ นเบส + . mL NH3 6M 0.5 mL เขย่า แล้วเติม H2O
Al(OH)3 CrO42–, [Zn(NH3)4]2+
mL และ 3% H2O2 2-3 หยด
ตะกอนวุน้ ขาว สารละลายสีนาเงิ
ํ นทีจางหา
BaCl2 1M ตกตะกอนสมบูรณ์
CH3COOH 6M อย่างรวดเร็ว แสดงว่ามี Cr3
Catechol violet 2 หยด BaCrO4 [Zn(NH3)4]2+
Al3+ complex HNO3 HCl 6.0 M จนเป็ นกรด
สารละลายสีนาเงิ
ํ น K4[Fe(CN)6]
Cr2O72–
K2Zn3[Fe(CN)6]2
3% H2O2
ตะกอนขาวหรือเขียว
CrO5 NaOH 6.0 M
สารละลายสีนาเงิ
ํ น
ตะกอนละลาย
108

การทดลองที 10
การวิเ คราะห์เ ชิงคุณภาพสําหรับ แคทไอออน
วิช า .......................ปฏิบ ัต ิก ารเคมีท วไป

ทําการทดลอง วัน ………….ที………เดือ น……..………พ.ศ……….… เวลา เช้า / บ่าย
ชือ……………….………..…....เลขประจําตัว…………...….กลุ่ม ที……….ลําดับ ที............

ส่วนที ผลการทดลองของ Control Test


บันทึกการเปลียนแปลงทีเกิดขึนและเขียนสมการของปฏิกริ ยิ าในช่องทีกาํ หนด
การทดสอบ สิงทีสังเกตได้ ปฏิก ริ ิยาทีเกิด ขึน
. ไอออน Ag+
(i) หยด HCl 2 M 1-2 หยด
(ii)ละลายตะกอนขาวใน NH3
(iii) หยด HNO3 6 M จนเป็ นกรด
. ไอออน Hg22+
(i) หยด HCl 6 M 1-2 หยด
(ii)หยด NH3 ในตะกอนขาว
. ไอออน Pb2+
(i) หยด HCl 6.0 M 1-2 หยด
(ii) ละลายตะกอนขาวในนําร้อน
(iii) หยด K2CrO4 0.1 M - หยด
(iv) ละลายตะกอนเหลืองใน NaOH
.ไอออน Cr3+
(i) หยด NaOH 6.0 M จนเป็ นเบส
(ii) หยด NaOH 6.0M 0.5 mL +
H2O2 3 % v/v ต้มไล่ H2O2
(iii) หยด BaCl2 1 M 0.5 mL
(iv) ละลายตะกอนเหลืองด้วย
HNO3 6.0 M+ H2O23% 2-3 หยด
.ไอออน Al3+
(i) หยดNH3 6.0Mจนเป็ นเบส+0.5 mL
NH3 6.0 M
(ii) ล้างตะกอนด้วยนํากลัน mL และ
ละลายตะกอนในCH3COOH 6.0M
(iii) หยด catechol violet หยด
การทดสอบ สิงทีสังเกตได้ ปฏิก ริ ิยาทีเกิด ขึน
109

. ไอออน Zn2+
(i) NH3 6.0 M จนเป็ นเบส + . mL
NH3 6.0 M
(ii) HCl 6.0 M จนเป็ นกรด +
K4Fe(CN)6 0.2 M 3 หยด
(iii) ละลายตะกอนใน NaOH 6.0 M
. ไอออน Ni2+
(i) NaOH 6.0 M จนเป็ นเบส
(ii) ละลายตะกอนใน HNO3 6.0 M
10 หยด + HCl 6.0 M - หยด
(iii) NH4Cl 4.0 M หยด + NH3
15.0 M จนเป็ นเบส
(iv) หยด dimethyl glyoxime 2-3หยด
. ไอออน Mn2+
(i) NaOH 6.0 M จนเป็ นเบส + H2O2
3% v/v 1 mL
(ii) ละลายตะกอนใน HNO3 6.0 M
2 หยด + HCl 6.0 M 1 mL
(iii) HNO3 6.0 M 2 หยด + NaBiO3 1
ช้อนเล็ก
.ไอออน Fe3+
(i) หยด NaOH 6.0 M จนเป็ นเบส
(ii) ละลายตะกอนใน HNO3
6.0M 2 หยด + HCl 6.0 M 1 mL
แบ่งสารละลาย เป็ น หลอด
หลอดที KSCN 1.0 M 4-5 หยด
หลอดที K4Fe(CN)6 0.1 M 2-3 หยด
110

ส่วนที การวิเ คราะห์ส ารตัวอย่าง


บันทึกการเปลียนแปลงในช่องสีเหลียมทีเว้นไว้ให้
สารตัวอย่างเลขที………………………

ตอนที การแยกแคทไอออนออกเป็ นกลุ่ม ๆ


สารตัวอย่าง
HCl 6.0 M

…………………………………………………
เซนตริฟิวจ์

……………. สารละลาย
NaOH 6 M จนเป็ นเบส + . mL
NaOH 6.0 M และ H2O2 3 % 1 mL

………………………………………………

เซนตริฟิวจ์

ตอนที การทดสอบเฉพาะของแคทไอออน Ag+, Hg22+, Pb2+

ตะกอนขาว นําร้อน 1 mL เซนตริฟิวจ์

…………………… …………………………

K2CrO4 0.1 M
เซนตริฟิวจ์ NH3 6 M 1 mL

……………………………………
…………………………… ……………………
NaOH 6 M
HNO3 6 M …………………
...................
111

ตอนที การทดสอบเฉพาะของ Ni2+, Fe3+, Mn2+

ตะกอน

HNO3 6 M, HCl 6 M, NHNH


4Cl3 4 M, NH3 15 M + H2O2 3%
6M

…………………… .....................................

NH3 6 M, DMG

หลอดที 3 ………………….
หลอดที 1 หลอดที

KSCN K4Fe(CN)6 HNO3 6 M 2-3 หยด


NaBiO3

......................
........................... ................................

ตอนที การทดสอบเฉพาะของ Cr3+, Al3+ และ Zn2+


สารละลาย
CH3COOH 6 M จนเป็ นกรด
NH3 6 M จนเป็ นเบส + . mL NH3 6 M เซนตริฟิวจ์
……………… ……………………

CH3COOH 6 M จนเป็ นกรด BaCl2 1M ตกตะกอนสมบูรณ์


Catechol violet 2 หยด
………………… ……………… ………………
HNO3 K4[Fe(CN)6]
……………… ………………………

3% H2O2 NaOH 6.0 M


……………………… ………………

สรุ ป แคทไอออนในสารตัวอย่าง คือ ………………………….


การทดลอง
การวิเคราะห์เชิงคุณภาพสําหรับแคทไอออน
Qualitative analysis for Cations
Department of Chemistry. Faculty of Science.
Page: 2
Qualitative analysis for Cations
การวิเคราะห์เชิงคุณภาพสําหรับแคทไอออน

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม

• ศึกษาปฏิกิริยาการตกตะกอน การเกิดสารเชิงซ้อนของแคทไอออนบางชนิด
• ศึกษาปฏิกิริยาสําหรับการทดสอบเฉพาะของแคทไอออนบางชนิด
• ฝึกทักษะการวิเคราะห์เชิงคุณภาพสําหรับแคทไอออน

ทดสอบสาร known ทดสอบสาร unknown (สอบ)


4 คน แบ่งกันและดูผลด้วยกัน ทําเดี่ยว
Page: 3
Qualitative analysis for Cations
การวิเคราะห์เชิงคุณภาพสําหรับแคทไอออน

ชนิดของแคทไอออนที่ใช้ในการทดลอง
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3

Ag+ Pb2+ Hg22+ Ni2+ Mn2+ Fe3+ Al3+ Zn2+ Cr3+


Silver (I) Lead (II) Mercury (II) Nickel (II) Manganese (II) Iron (III) Aluminum (III) Zinc (II) Chromium (III)
ion ion ion ion ion ion ion ion ion

ตกตะกอนคลอไรด์ ตกตะกอนไฮดรอกไซด์ สารเชิงซ้อนไฮดรอกโซ


Silver (I) ion (Ag+) Page: 4

6M HCl, 6M NH3 6M HNO3


1-2 หยด 1 mL ทีละหยด

Sample~ 1 mL AgCl ตะกอนละลาย AgCl


ตะกอนสีขาว* ตะกอนสีขาว
*เก็บตะกอน = 1. ทําการ centrifuge
2. ล้างตะกอน

ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น

[Ag(NH3)2]+ + Cl– + 2H+  AgCl(s) + 2NH4+


ตะกอนสีขาว
ทดสอบสาร known: 4 คน แบ่งงานกันและดูผลด้วยกัน
Lead (II) ion (Pb2+) Page: 5

6M HCl, H2O, 1 mL 0.1M K2CrO4 6M NaOH


1-2 หยด Heat 2-3 หยด

Sample~ 1 mL PbCl2 ตะกอนละลาย PbCrO4 [Pb(OH)4]2+


ตะกอนสีขาว* ตะกอนสีเหลือง* ตะกอนละลาย
*เก็บตะกอน = 1. ทําการ centrifuge *เก็บตะกอน = 1. ทําการ centrifuge (สารละลายสีเหลือง)
2. ล้างตะกอน 2. ล้างตะกอน
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
Pb2+ + CrO4 2-  PbCrO4
ตะกอนสีขาว

PbCrO4(s)+ 4OH–(aq) [Pb(OH)4]2–(aq)+ CrO42–(aq)


ทดสอบสาร known: 4 คน แบ่งงานกันและดูผลด้วยกัน
สารละลายสีเหลือง
Mercury (II) ion (Hg22+) Page: 6

6M HCl, 6M NH3
1-2 หยด 1 mL

Sample~ 1 mL Hg2Cl2 HgNH2Cl + Hg0


ตะกอนสีขาว* ตะกอนสีเทา
*เก็บตะกอน = 1. ทําการ centrifuge
2. ล้างตะกอน
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
Hg22+ + 2Cl–  Hg2Cl2
ตะกอนสีขาว

Hg2Cl2 + 2NH3  HgNH2Cl(s) + Hg0(s)


ทดสอบสาร known: 4 คน แบ่งงานกันและดูผลด้วยกัน
ตะกอนสีเทา
Nickel (II) ion (Ni2+) Page: 7

DMG
6M NaOH, 6M HNO3, 10 หยด 4M NH4Cl, 4 หยด (Dimethyl glyoxime)

จนเป็นเบส 6M HCl, 5-6 หยด 15M NH3 จนเป็นเบส 2-3 หยด

Sample~ 1 mL Ni(OH)2 ตะกอนละลาย [Ni(NH3)6]2+


ตะกอนสีเขียว* สารละลายสีน้ําเงิน
*เก็บตะกอน = 1. ทําการ centrifuge
2. ล้างตะกอน
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
Ni2+ + 2OH-  Ni(OH)2(s) ตะกอนสีเขียว
Ni(C4H7N2O2)2
Ni(OH)2(s) + 6NH3  Ni2+ + 2H2O ตะกอนละลาย ตะกอนสีแดง
Ni2+ + 6NH3  [Ni(NH3)6]2+ สารละลายเชิงซ้อนสีน้ําเงิน
[Ni(NH3)6]2+ + 2C4H8O2N2 + 4H2O( l)  Ni (C4H7O2N2)2(s) + 6NH4++ 4OH– ตะกอนสีแดง ทดสอบสาร known: 4 คน แบ่งงานกันและดูผลด้วยกัน
Manganese (II) ion (Mn2+) Page: 8

6M NaOH, จนเป็นเบส 6M HNO3, 2 หยด 6M HNO3, 2 หยด


3%v/v H2O2, 1 mL 6M HCl, 1 mL NaBiO3, 1 ช้อนเล็ก

Sample~ 1 mL MnO2 • xH2O ตะกอนละลาย MnO4 - + Bi3+


ตะกอนสีดํา* สารละลายสีม่วงแดง
*เก็บตะกอน = 1. ทําการ centrifuge
2. ล้างตะกอน
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
Mn2+ + 2OH-  Mn(OH)2(s)  MnO2 • xH2O(s) ตะกอนสีดํา
MnO2 • xH2O(s) + 2Cl- + 4H+  Mn2+ + 4H2O + Cl2 ตะกอนละลาย
Mn2+ + NaBiO3(s) + H+  MnO4–(aq) + Bi3+ สารละลายสีม่วงแดง
ทดสอบสาร known: 4 คน แบ่งงานกันและดูผลด้วยกัน
Iron (III) ion (Fe3+) Page: 9

1M KSCN
4-5 หยด
6M NaOH, จนเป็นเบส 6M HNO3, 2 หยด
[FeSCN]2+
3%v/v H2O2, 1 mL 6M HCl, 1 mL
สารละลายสีแดงเลือดนก

Sample~ 1 mL Fe(OH)3 ตะกอนละลาย 0.1M K4Fe(CN)6


ตะกอนสีน้ําตาลแดง* 2-3 หยด
*เก็บตะกอน = 1. ทําการ centrifuge
2. ล้างตะกอน
KFe[Fe(CN)6]
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ตะกอนสีน้ําเงิน
Fe3+ + 2OH-  Fe(OH)3(s) ตะกอนสีน้ําตาลแดง
Fe(OH)3(s) + 3H+  Fe3+ + 3H2O ตะกอนละลาย
หลอดที่ 1: Fe3+ + SCN–  [Fe(SCN)]2+(aq) สารละลายสีแดงเลือดนก
หลอดที่ 1: Fe3++ K4[Fe(CN)6]4–  KFe[Fe(CN)6](s) ตะกอนสีน้ําเงิน ทดสอบสาร known: 4 คน แบ่งงานกันและดูผลด้วยกัน
Aluminum (III) ion (Al3+) Page: 10

6M NH3, จนเริ่มเป็นเบส 6M CH3COOH Catechol violet


+ เพิ่ม 6M NH3 อีก 0.5 mL 2-3 หยด

Sample~ 1 mL Al(OH)3 ตะกอนละลาย Al3+ complex


ตะกอนวุ้นสีขาว* สารละลายสีน้ําเงิน
*เก็บตะกอน = 1. ทําการ centrifuge
2. ล้างตะกอน
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
Al3+ + 3NH3 + 3H2O  Al(OH)3 ตะกอนวุ้นสีขาว
Al(OH)3 + 3CH3COOH  Al3+ + 3CH3COO- + 3H2O
ตะกอนวุ้นละลาย
Al3+ + 3OH-  Al(OH)3
Al(OH)3  Al3+ complex กับ Catechol violet สารละลายสีน้ําเงิน ทดสอบสาร known: 4 คน แบ่งงานกันและดูผลด้วยกัน
Zinc (II) ion (Zn2+) Page: 11

6M NH3, จนเริ่มเป็นเบส 6M HCl, จนเป็นกรด 6M NaOH


+ เพิ่ม 6M NH3 อีก 0.5 mL 0.2M K4Fe(CN)6, 3 หยด

Sample~ 1 mL [Zn(NH3)4]2- K2Zn3[Fe(CN)6] ตะกอนละลาย


สารละลายใสไม่มีสี ตะกอนสีเขียว* ใน NaOH
*เก็บตะกอน = 1. ทําการ centrifuge
2. ล้างตะกอน
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
Zn2+ + 4NH3  [Zn(NH3)4]2- สารละลายใสไม่มีสี
Zn2+ + K4[Fe(CN)6]  K2Zn3[Fe(CN)6](s) ตะกอนสีเขียว
K2Zn3[Fe(CN)6](s) + 12OH-  2[Zn(CN)6]4- + 3[Zn(OH)4]2- + 2K+ ตะกอนละลาย
ทดสอบสาร known: 4 คน แบ่งงานกันและดูผลด้วยกัน
Chromium (III) ion (Cr3+) Page: 12

6M NH3, จนเริ่มเป็นเบส
+ เพิ่ม 6M NH3 อีก 0.5 mL 1M BaCl2 6M HNO3 3%v/v H2O2
3%v/v H2O2, 1 mL 0.5 mL 0.5 mL 2-3 หยด
ต้มจนสารละลายเหลือครึ่งเดียว

Sample~ 1 mL CrO42- BaCrO4 Cr2O72-


สารละลายสีเหลือง ตะกอนสีเหลือง* ตะกอนละลาย
*เก็บตะกอน = 1. ทําการ centrifuge
2. ล้างตะกอน
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
Cr3++ 3OH-  Cr(OH)3
สารละลายสีเหลือง CrO(O2)2
Cr(OH)3 + 3H2O2 + 4OH-  CrO42–+ 8H2O จางหายไป
CrO42–+ Ba2+  BaCrO4(s) ตะกอนสีเหลือง อย่างรวดเร็ว สารละลายสีน้ําเงิน
Cr2O72– + 2H+  Cr2O72- + H2O ตะกอนละลาย (จางหายไปอย่างรวดเร็ว)
Cr2O72– + 2H+ + H2O2  CrO(O2)2(aq) + H2O สารละลายสีน้ําเงิน
ทดสอบสาร known: 4 คน แบ่งงานกันและดูผลด้วยกัน
Page: 13
วิธีการทดสอบสาร Unknown รับสาร Unknown เวลา 10.30 น.
หรือ 14.30 น.
เวลาสอบ 1 ชั่วโมง 30 นาที
วิเคราะห์สารตัวอย่างแคทไอออนของแข็ง จํานวน 1 ชนิด
1. หาตัวทําละลายของสารตัวอย่าง
แบ่งสารตัวอย่างของแข็ง ประมาณ 10 mg (~ปริมาณเม็ดถั่วเขียว) ละลายใน
ตัวทําละลายตามลําดับต่อไปนี้
• น้ํา
• 2.0 M HCl
• 2.0 M HNO3
**หากไม่ละลายให้นําไปอุ่นให้ความร้อน และหากยังไม่ละลาย ให้เปลี่ยนตัวทําละลายตามลําดับ**
**หากละลายน้ําหรือน้ําอุ่นไม่ต้องทดสอบการละลายใน 2.0 M HCl หรือ 2.0 M HNO3
**หากละลายน้ําหรือ 2.0 M HCl ไม่ต้องทดสอบการละลายใน 2.0 M HNO3
2. นําสารตัวอย่างที่ทราบตัวทําละลายแล้ว มาวิเคราะห์หาชนิดสารตัวอย่าง
ทดสอบสาร unknown (สอบ) ทําเดี่ยว
Unknown solution Page: 14
6M HCl
6M NaOH ละลายตะกอนในกรด ละลายตะกอน
“ตะกอน” “สารละลาย” “ตะกอน” “ตะกอน”
3%v/v H O NH +NH Cl ในกรด
Ag+,Pb2+, Hg22+ Ni2+, Fe2+, Mn2+ 2 2
Ni2+, Fe3+, Mn2+ 3 4 Fe3+, Mn2+
อุ่น Zn2+, Al3+, Cr3+ “สารละลาย” “สารละลาย”
DMG Ni2+
“ตะกอน” “สารละลาย” KSCN Fe(CN)6 BiO3
Ag+, Hg22+ Pb2+ CrO 2- “ตะกอนสีแดง”
4
“สารละลาย” “สารละลาย “ตะกอน “สารละลาย
สีแดงเลือดนก” สีน้ําเงิน” สีแดงเลือดนก”
NH3 “ตะกอนสีเหลือง” Zn2+, Al3+, Cr3+
6M CH3COOH
“ตะกอนสีเทา” “สารละลาย” 6M NH3
Hg22+ Ag+ “ตะกอน” “สารละลาย” Fe3+ Fe3+ Mn2+
6M HNO3 Al3+ Zn2+, Cr3+
“ตะกอนสีขาว” 6M CH3COOH **ถ้าเป็นสีเหลือง
ให้ทดสอบ Cr3+ ก่อน**
“สารละลาย” 1M BaCl2 6M HNO3
Catechol 6M HCl “ตะกอนสีเหลือง” “สารละลายสีน้ําเงิน”
3% H2O2 ที่จางหายไปอย่างรวดเร็ว
violet K4[Fe(CN)6] Cr3+
“สารละลายสีน้ําเงิน” “ตะกอนสีเขียว”
Zn2+

ทดสอบสาร unknown (สอบ) ทําเดี่ยว


คําแนะนํา
 ก่อนหยดสาร ให้ดูชื่อและความเข้มข้น
 สารจากส่วนกลาง ให้ใช้หลอดหยดส่วนกลาง
 ชามกระเบือ้ งต้องแห้งก่อน วางบน Hot plate

วันที่ 27 มีนาคม-31 มีนาคม เวลาของคาบเรียน


ให้ตัวแทนนิสิตมาเช็คของคืน หากไม่ดําเนินการจะได้สัญลักษณ์ I
และหากไม่ดําเนินการแก้ไข I ตามที่สํานักงานการทะเบียนกําหนด จะเป็น F
(ยกเว้นวันที่ 27 มีนาคม คาบบ่าย มีเรียนชดเชยสมดุลเคมี)

ขอความร่วมมือนิสิตเข้าประเมินการเรียนการสอนรายวิชาในระบบ CU-CAS ด้วย


โดยประเมินอาจารย์ผู้สอน
กรณีผู้ประสานการเรียนการสอน รศ.ดร.ธรรมนูญ หนูจักร ให้ประเมินในมุมของการจัดการรายวิชา
นิสิตที่ขาดสอบไทเทรตและวิเคราะห์ไอออน
ให้แจ้งความประสงค์สอบชดเชยตามประกาศที่ระบุไว้ในระบบ CourseVille

You might also like