ดนตรีไทย

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 6

เครื่องดนตรีไทย

จะเข้
ส่วนประกอบ
1. ลูกบิด 7. ตัวจะเข้

2. หย่อง 8. แหน

3. นม 9. หลักผูกสาย

4. สายจะเข้ 10. รางไหม

5. เท้าจะเข้ 11. ไม้ปิดท้อง


จะเข้

6. โต๊ะรองสาย 12. ไม้ดีดจะเข้

ประวัติ
จะเข้ เป็ นเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องดีด มี 3 สาย ซึ่งได้รบ

อิทธิพลมาจากมอญทำเป็ นรูปร่างเหมือนจระเข้ทงั ้ ตัว และได้
ปรับปรุงแก้ไขมาจากกระจับปี่ ซึ่งมี 4 สาย นำมาวางดีดกับพื้น
เพื่อความสะดวก มีประวัติและมีหลักฐานครัง้ แรกในสมัยกรุง
ศรีอยุธยา จะเข้ได้นำเข้าร่วมบรรเลงเป็ นเครื่องนำอยู่ในวงมโหรีคู่
กับกระจับปี่ ในสมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีผน
ู้ ิยมเล่น
จะเข้กันมาก ทำให้กระจับปี่ ค่อย ๆ หายไปในปั จจุบัน เนื่องจาก
หาผูเ้ ล่นเป็ นน้อย 

เครื่องดนตรีไทย

ระนาดเอก
ส่วนประกอบ
1. ผืนระนาด 4. เท้า
ระนาด

2. รางระนาด 5. โขน
ระนาด
3. ไม้ตีระนาด

ประวัติ
ระนาดเอก เป็ นเครื่องตีชนิดหนึ่ง ที่ววิ ัฒนาการมาจากกรับ แต่
เดิมคงใช้กรับสองอันตีเป็ นจังหวะ ต่อมาก็เกิดความคิดว่า ถ้าเอา
กรับหลาย ๆ อันวางเรียงราดลงไป แล้วแก้ไขประดิษฐ์ให้มีขนาด
ลดหลั่นกัน แล้วทำรางรองอุ้มเสียง และใช้เชือกร้อยไม้กรับขนาด
ต่าง ๆ กันนัน
้ ให้ติดกัน และขึงไว้บนรางใช้ไม้ตใี ห้เกิดเสียง นำ
ตะกั่วผสมกับขีผ
้ งึ ้ มาถ่วงเสียงโดยนำมาติดหัวท้ายของไม้กรับนัน

ให้เกิดเสียงไพเราะยิ่งขึน
้ เรียกไม้กรับที่ประดิษฐ์เป็ นขนาดต่างๆ
กันนัน
้ ว่า ลูกระนาด เรียกลูกระนาดที่ผูกติดกันเป็ นแผ่นเดียวกัน
ว่า ผืน ระนาดเอกใช้ในงานมงคล เป็ นเครื่องดนตรีที่เป็ นมงคลใน
บ้าน บรรเลงในวงปี่ พาทย์และวงมโหรี โดยระนาดเอกนีท
้ ำหน้าที่
เป็ นผูน
้ ำวงดนตรี
เครื่องดนตรีไทย

ซอด้วง
ส่วนประกอบ
1. โขน 5. รัดอก

2. ทวนบน 6. กระบอก

3. คันซอ 7. หางม้า

4. ลูกบิด 8. สายซอ

ประวัติ
ซอด้วง เป็ นซอสองสาย มีเสียงแหลม ก้องกังวาน คันทวนยาว
ประมาณ 72 ซม. คันชักยาวประมาณ 68 ซม. ใช้ขนหางม้า
ประมาณ 120–150 เส้น กะโหลกของ ซอด้วงนัน
้ แต่เดิมใช้
กระบอกไม้ไผ่มาทำ ปากกระบอกของซอด้วงกว้างประมาณ 7
ซม. ตัวกระบอกยาวประมาณ 13 ซม. กะโหลกของซอด้วงนี ้ ใน
ปั จจุบันใช้ไม้จริง หรือ งาช้างทำก็ได้ แต่ที่นย
ิ มว่าเสียงดีนน
ั้
กะโหลกซอด้วงต้องทำด้วยไม้ไม้เนื้อแข็ง ส่วนหน้าซอนิยมใช้หนัง
งูเหลือมขึง เพราะทำให้เกิดเสียงแก้วเกิดความไพเราะอย่างยิ่ง
ลักษณะของซอด้วง มีรูปร่างเหมือนกับซอของจีนที่เรียกว่า "หู
ฉิน" ทุกอย่าง เหตุที่เรียกว่า ซอด้วง ก็เพราะมีรูปร่างคล้ายเครื่อง
ดักสัตว์ เพราะตัวด้วงดักสัตว์ ทำด้วยกระบอกไม้ไผ่เหมือนกัน จึง
ได้เรียกชื่อไปตามลักษณะนัน
้ นั่นเอง

เครื่องดนตรีไทย

ขลุ่ยเพียงออ
ส่วนประกอบ
1. รูเป่ า 6. รูบังคับเสียง

2. เลาขลุ่ย 7. รูร้อยเชือก
3. รูเยื่อ

4. รูปากนกแก้ว

5. รูนวิ ้ ค้ำ

ประวัติ
ขลุ่ย เป็ นเครื่องดนตรีโบราณของไทยชนิดหนึง่ สันนิษฐานว่า
อาจจะเกิดขึน
้ ก่อนหรือในสมัยกรุงสุโขทัยเป็ นราชธานี ร่วมสมัย
กับเครื่องดนตรีประเภท กลอง ฆ้อง กรับ พิณเพียะ แคน ขลุ่ย ปี่
ซอ และกระจับปี่ แต่มห
ี ลักฐานชัดเจนปรากฏ ขลุ่ยได้ผ่านการ
วิวัฒนาการมาเป็ นระยะเวลายาวนาน มาจากปี่ อ้อซึ่งตัวปี่ หรือเลา
ทำจากไม้รวกท่อนเดียวไม่มีข้อ และมีลน
ิ ้ ซึ่งทำด้วยไม้อ้อลำเล็ก
สำหรับเป่ าให้เกิดเสียง หลังจากนัน
้ จึงปรับเปลี่ยนรูปร่าง และวิธี
เป่ าจนกลายมาเป็ นขลุ่ยอย่างที่เรียกกันในปั จจุบันนีว้ ่าเป็ นขลุ่ย
เพียงออ

You might also like